วิกิพีเดีย:สภากาแฟ/อภิปราย/กรุ 19

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายการ/หมวดหมู่ของแม่แบบ (List/Category of Templates)

It seems to be a bit difficult to keep track of all templates created by several users. It would be easier if we can have them all listed as in category page. However, if putting category in the template page, it will also display in the หมวดหมู่ at the bottom of all pages that used it which might not be appropriate. Any idea? ผู้ใช้:ไร้สติ

AFAIK there is no automatic list, so it'd be best to create the Thai equivalent of en:Wikipedia:All pages in the MediaWiki and Template namespace manually. It might also be helpful to add a link to the english version of the template (if there is one) in the list - same as categories an interwiki link in the template itself isn't possible. Ahoerstemeier 18:59, 30 ม.ค. 2005 (UTC)

I have just found a way to automatically list all templates (both user-defined and system). You can access the list just by visiting พิเศษ:Allpages and choosing "Template" from the drop-down list. Anyway, I think categorized list similar to en:Wikipedia:Template_messages is easier for using. I suggest that user-defined templates should be manually listed at วิกิพีเดีย:แม่แบบเชื่อมโยงหัวข้อ after being created. Any comments? --Phisite 08:37, 31 ม.ค. 2005 (UTC)
) I already checked the page. It's great. The reason I asked because sometimes users who created the templates might not have them listed in วิกิพีเดีย:แม่แบบเชื่อมโยงหัวข้อ (yet). It would be nice to have this complete list so that we can check what's not yet listed. Thanks. :P ไร้สติ 02:29, 1 ก.พ. 2005 (UTC)

Audio template

Hi, I am making audio recordings of the pronunciation of words. Example; สื่อ:Nl-be guy verhofstadt.ogg To include this in a good way in your wiki I need to know what your audio template is and how it works. When I know it i, and many others, can put it directly inside articles on your wikipedia.

Can some one please put your audio template on this page;

Greetings, nl:gebruiker:Walter

Hi, nl:gebruiker:Walter, Added. Thank you very much. -- Jittat 05:12, 14 เม.ย. 2005 (UTC)

แม่แบบ:สืบตำแหน่ง

Halló! I spend a lot of time that most of the disambiguation templates listed at de:Bild Diskussion:Logo Begriffsklärung.png#Vorlagen - Templates should use commons:ไฟล์:Disambig.png. The image should give an indication about the nature of the page and avoid linking between "normal" articles and disambiguation pages. I would be very happy if th: would use one of the images listed in that page. Between 75% of the 60 listed templates using such an image you can find also ka:თარგი:არაორაზროვნება, vi:แม่แบบ:Trang định hướng, ja:แม่แบบ:Aimai beside many others using latin or cyrillic type alphabets. Best regards Gangleri 06:57, 23 เม.ย. 2005 (UTC)

Translation done. Thanks for your suggestion. --Phisite 08:37, 23 เม.ย. 2005 (UTC)

Talking about usage convention. Where in the page we will put the แม่แบบ:แก้กำกวม thing ? Top of page? Bottom of page? Bottom of first paragraph? .. I prefer top of the page. จะวางกล่อง "แก้กำกวม" ไว้ตรงไหนดีครับ? บนสุดของหน้า ท้ายสุดของหน้า ท้ายย่อหน้าแรก? .. ส่วนตัวผมคิดว่าบนสุดของหน้าน่าจะชัดเจนดีครับ -- bact' 21:58, 23 เม.ย. 2005 (UTC)

ข้อตกลงในการวาง 'กล่องข้อมูล' (Information Box Placement Convention)

จะวางกล่องข้อมูล/แจ้งเตือนต่าง ๆ ไว้ตรงไหนของหน้าดี? Where in page to put these info box?

-- bact' 22:01, 23 เม.ย. 2005 (UTC)

โดยส่วนตัว ผมว่ายังงี้คับ

  • เสียรส ไว้ก่อนข้อความที่จะเสียรสแน่นอนอยู่แล้วนิคับ
  • แก้กำกวม ต้องไว้ข้างบนครับ ถ้าไว้ข้างล่าง คนที่ไม่รู้มาอ่านบทความ ก็จะงงว่า อ้าว บทความนี้บอกว่าคำนี้ใช้ในโอกาสอย่างโน้นอย่างนี้หรือ?
  • โครง บางคนไว้ล่าง บางคนไว้บน แต่ควรจะไว้บนนะครับ จะได้สะดุดตา ว่ามันยังไม่เสร็จ

อื่น ๆ ตามเหมาะสมครับ โพสไว้แล้วจะช่วยออกความเห็น -- Wap 06:48, 25 เม.ย. 2005 (UTC)

I prefer to place them like in the english WP, that is at the end of the article. Only if it only applies to one section (see en:แม่แบบ:sectstub) it should be at the top of the section. IMHO quite a lot of articles here are mis-tagged as stub, normally a stub is an article which just contains a short paragraph with the basic infos, while here many articles which might be incomplete (but not stubs) are tagged as stubs. Another thing: the shortcut template should IMHO only be used for articles in the wikipedia namespace (like it is used in en:), not for actual articles. Of course the shortcut redirect should be there, but IMHO it's redundant (and looks ugly) to tell about the shortcut in the article. แอนดี้ 11:06, 4 พ.ค. 2005 (UTC)

Apart of at the end of the article, some would prefer to place an infobox at the right hand side (similar to those for countries, plants). IMHO, these two infoboxes should be placed at the top of article.

  1. แม่แบบ:ละเมิดลิขสิทธิ์ (copyright infringement)
  2. แม่แบบ:ตรวจความเป็นกลาง (bias)
  3. แม่แบบ:แก้กำกวม (umambiguous)
  4. แม่แบบ:กำลังแก้ไข (in editing process)
  5. แม่แบบ:โครง (stub)
  6. ...

lower number = higher priority (place top over lower priority box).

Will read en:แม่แบบ:sectstub and discuss more. --bact' 12:08, 4 พ.ค. 2005 (UTC)

แม่แบบกษัตริย์ในราชวงค์จักรี

หรือ แม่แบบกษัตริย์ไทย ถ้าจะเอาทั่ว ๆ ไปมากขึ้น จะทำแบบไหนดี ควรมีอะไรมั่งครับ (ขออนุญาตให้ศัพท์ธรรมดา ๆ เพื่อความกระชับ (และกันความผิดพลาด) )

  • ชื่อ
  • รัชกาลที่ X ของราชวงศ์ Y
  • ครองราชย์จากปี A ถึง B
  • เกิด ตาย
  • รูป
  • ตราประจำรัชกาล
  • วัดประจำรัชกาล
  • โอรส ธิดา (ระบุว่าใครเป็น มกุฎราชกุมาร/มารี ด้วย)

... อะไรอีกดี -- bact' 5 กรกฎาคม 2005 16:28 (UTC)


การใช้งาน โครง

There should be a guideline for the usage of โครง. Please take these questions into consideration.

  • short = โครง ?
  • not as elaborate as in Eng wiki = โครง ?

Complete is relative. Somtimes a short article is just short, but it contains adequate information to cover the topic -probably roughly. ไร้สติ 02:02, 22 กรกฎาคม 2005 (UTC)

stub = โครง --อ็อกตร้า บอนด์ 14:08, 14 ธันวาคม 2006 (UTC)

รายการแม่แบบ

วิกิพีเดีย:รายการแม่แบบแสดงข้อความ และ วิกิพีเดีย:แม่แบบเชื่อมโยงหัวข้อ ไม่ได้อัปเดตมานานมากแล้ว ซึ่งมีแม่แบบใหม่เกิดขึ้นมากในช่วงหลัง ถ้ามีการสมทบงานประจำสัปดาห์ แนะนำว่าน่าจะจัดหมวดหมู่แม่แบบจาก หน้าแม่แบบทั้งหมด มายังสองหน้าข้างต้น เพื่อสะดวกกับการอ้างอิงครับ Markpeak 15:46, 19 กันยายน 2005 (UTC)

รายชื่อผู้ใช้ที่ถูกบล็อก

จากหน้า พิเศษ:ipblocklist ได้รับแจ้งว่ามีผู้ใช้บางคน (ที่ล็อกอิน) และอาจจะมีมากกว่าหนึ่งคน แล้วไม่สามารถเขียนได้เนื่องจาก IP โดนบล็อกนะครับ มีวิธีแก้อย่างไรบ้างครับ เพราะคิดว่า IP คงจะ random เอา --Manop 21:37, 1 ตุลาคม 2005 (UTC)

unblocked. Internet Service Provider Asia Pacific Network Information Center 203.144.128.0 - 203.144.255.255 (persistent vandals 203.144.160.242-246) -ไร้สติ 22:02, 1 ตุลาคม 2005 (UTC)
อ่าว, login แล้ว ยัง โดน block ip ได้ ด้วย เหรอ? น่า จะ เป็น bug นะ, ไม่ งั้น การ block ip ก็ ไม่มี ประโยชน์ ดิ, เพราะ block ip น่า จะ มี ไว้ เพื่อ block พวก ที่ ไม่ได้ login มากกว่า นะ. --Ans 06:54, 4 ตุลาคม 2005 (UTC)
แต่ผมว่าไม่นะฮะ หลักของ CMS ทั่วไปก็ทำกันแบบนี้ เพราะ อย่างหนึ่ง เลข IP มักจะวนอยู่ในเครื่อข่ายและชุมสายใกล้กัน แสดงว่า ผู้ก่อกวน มักจะอยู่ในเลข IP ที่ใกล้เคียงกัน ซึ่งหการแบนส่วนใหญ่ จะเป็นระบบ แบนสุ่ม เช่นแบบด้านบน คือ หมายเลขที่ 203.144.160.242-246 ซึ่งเวลาที่ ผู้ก่อกวนจะเข้ามาแก้ไข เขาจะหาวิธีง่าย ๆ นั้นคือ การ Redail เข้าสู่ network พูดง่าย ๆ ก็คือต่อเน็ตใหม่ ทำให้ IP เปลี่ยนไป แต่ก็ยังน่าจะคงอยู่ในหมายเลขระหว่าง 203.144.160.0-255 แต่ถ้าทำตามแบบที่คุณ Ans บอก ถ้าอย่างนั้น ถ้าเกิด ผู้ก่อกวนเกิดสมัครขึ้นมาล่ะ? ผู้ก่อกวนก็จะสามารถเข้ามาแก้ไข และอาจทำอันตรายรุนแรงกว่าเดิมได้นะฮับ--Aki Akira 07:04, 4 ตุลาคม 2005 (UTC)
ถ้า block ip เป็น range หยั่งงั้น ก็ จะ ไม่ เป็น ผล ดี กับ user ที่ ดี ๆ ที่ login เข้ามา นะ ครับ. เป็น การ ตัด เนื้อร้าย ที่ เฉือน โดน เนื้อดี ไป ด้วย. เป็น การ block แบบ ปู พรม. ซึ่ง ใน ที่สุด แล้ว ก็ ต้อง เอา block ออก ดัง ที่ เห็น กัน อยู่. ถ้า ผู้ ก่อกวน เกิด สมัคร สมาชิก มา, ก็ คง ต้อง block สมาชิก เป็น ราย ๆ ไป. --Ans 07:48, 4 ตุลาคม 2005 (UTC)
ที่ถูก block มีเพียง 2 ip ถ้าผู้ใช้ถูกบล็อก ip ที่ใช้อยู่จะถูกบล็อกโดยอัตโนมัติ เนื่องจากเป็นการป้องกันหลายล็อกอิน ที่บล็อก 2 ip ไม่ได้บล็อกพร้อมกัน แต่คนละเหตุการณ์ แต่เป็นเรื่องเดียวกัน เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม ก็เป็นไปได้ที่จะมีคนอื่นชนเป็น ip เดียวกันบ้าง แต่ที่สังเกตดูที่ก่อกวน ip วนเวียนอยู่แค่ 3-4 หมายเลขเท่านั้น ส่วนเรื่อง redial ก็คงจะไปห้ามไม่ได้ ถ้าจะลงทุนขนาดนั้น :P ไร้สติ 09:27, 4 ตุลาคม 2005 (UTC)
สรุปว่าไม่ใช่ บัคช่ายม้า?--Aki Akira 10:04, 4 ตุลาคม 2005 (UTC)
คิดว่าไม่น่ามีวิธีแก้นะครับ เพราะดู ๆ แล้วระบบของมีเดียวิกิออกแบบมาแบบนั้น ผมเคยล็อกอินแต่ก็โดนบล็อกอยู่บ่อย ๆ ตอนไปเพิ่ม interwiki ที่วิกิพีเดียภาษาญี่ปุ่น ไม่รู้ว่ามีใครไปทำอะไรไว้ :-/ -- PaePae 16:57, 4 ตุลาคม 2005 (UTC)

hack Wikimedia

มีใครเขียน hack หรือเขียน bot เป็นบ้างครับ ให้จัดเรียง category อัตโนมัตสำหรับคำที่มีสระนำหน้า จะได้ (1) ไม่ต้องเสียเวลาแก้ (2) คำที่ออกมาในหน้าเขียนจะได้เป็นคำเดิม เช่น วไรัส --> ไวรัส เพราะตัวอักษรที่นำหน้ามีไม่กี่ตัว เ แ ไ ใ โ --Manop 17:48, 2 ตุลาคม 2005 (UTC)

รู้สึกว่า Bot จะต้องเขียนด้วยภาษา Pyton หรือ Perl นิฮะ พอลองดูแล้ว ไม่เข้าใจเท่าไหร่ ว่า set ยังไง ป๋มลองใช้ Perl Wikipedia Toolkit ดูแล้วมันงง ๆ แฮะ ลองดูที่en:Wikipedia:Bots นะฮะ--Aki Akira 11:00, 4 ตุลาคม 2005 (UTC)

Firefox Extension

มีใครสนใจอยากลองทำ Firefox Extension เป็นภาษาไทยไหมฮะ จะได้ใช้เป็นภาษาไทยน่ะฮะ --Aki Akira 13:50, 14 ตุลาคม 2005 (UTC)

Extension ตัวไหนครับ ? ตัวที่เป็นเครื่องมือในวิกิ หรือว่าตัวที่เป็น search engine (ไม่รู้ว่าเรียก extension หรือเปล่า) หรือว่าตัวแบบใหม่ครับ --Manop | พูดคุย 17:36, 14 ตุลาคม 2005 (UTC)

เครื่องมือเพิ่มเติม

เครื่องมือเพิ่มเติมเหล่านี้ คิดว่าจะทำให้การใช้งานวิกิง่ายขึ้น อยากเพิ่มเครื่องมืออื่น ๆ บอกได้นะครับ …[[ผู้ใช้:Watcharakorn|ผู้ใช้:Watcharakorn/Sign]] 07:59, 16 ตุลาคม 2005 (UTC)

ดีดีครับ กำลังคิดอยู่ว่าใครทำ ดีมากเลยครับ --Manop | พูดคุย 08:20, 16 ตุลาคม 2005 (UTC)

หมวดหมู่โครงใหม่ ทั้ง 7

ผมสร้างโครงบทความใหม่ ตาม หมวดหมู่หลัก หมวดหมู่:มูลฐาน นะครับ กะว่าจะใช้แทนโครงที่มี ลองดูที่ วิกิพีเดีย:โครงการจัดหมวดหมู่โครงที่ยังไม่สมบูรณ์#โครงย่อยหัวข้อที่ได้จัดทำแล้ว --Manop | พูดคุย 08:46, 18 ตุลาคม 2005 (UTC)

ท่าทางพักนี้วิกิพีเดียไทยเติบโตเร็วขึ้น

ท่าทางพักนี้ รู้สึกว่า วิกิพีเดียไทย เติบโตเร็วขึ้นมาก ขนาดมันขึ้น MySQL Error แล้ว พักนี้เริ่มเจอบ่อยขึ้นฮับ--Aki Akira 10:41, 19 ตุลาคม 2005 (UTC)

การอัปโหลดมีปัญหาชั่วคราว

อ่านได้ที่ Commons:Village_pump#Switching_servers ดังนั้น การอัปโหลดภาพบางภาพจะไม่สามารถอัปโหลดได้สำเร็จครับ (ไม่แสดงภาพนั่นเอง) …[[ผู้ใช้:Watcharakorn|ผู้ใช้:Watcharakorn/Sign]] 11:00, 31 ตุลาคม 2005 (UTC)

Shortpage

เกิดอะไรขึ้น การแสดงผลของหน้า shortpages กลายเป็นข้อมูลของเมื่อ ห้าเดือนก่อน เช่นหน้า พิเศษ:Undelete/ถ่ายภาพผ่านหมอก] แสดงในหน้า shortpages --Manop | พูดคุย 01:34, 14 พฤศจิกายน 2005 (UTC)

แม่แบบ ประเทศ

ตอนนี้กำลังนั่งทำ แม่แบบแต่ละประเทศอ้างอิงตามมาตรฐาน ISO 3166-1 (อังกฤษ 3 ตัวอักษร) ใครอยากช่วยเข้าได้ที่ รีพอร์ตเตอรส์วิทเอาต์บอร์เดอรส์ --Manop | พูดคุย - 20:24, 30 พฤศจิกายน 2005 (UTC)

monobook.js

ลองดูครับ เผื่อสนใจใช้กัน ถ้าคนไหนใช้ javascript ก็สามารถปรับแก้ได้

เจอเครื่องมือน่าสนใจดี เผื่อสนใจ เป็นจาวาสคริปต์ จะเพิ่มเมนูด้านบน มาจะทำให้สะดวกเวลาแก้ไขงาน

เช่น ใส่ {{ช่วยดูหน่อย}} โดยกดปุ่มเดียว หรือว่าแจ้งลบ แจ้งช่วยดู แล้วก็ดูว่าล่าสุดใครแก้อะไรบ้าง ลองดูได้ที่ User:Manop/monobook.js แล้วถ้าต้องการใช้นำมาใช้ใน User:__username__/monobook.js พอเสร็จแล้วก็เซฟ แล้วไปเข้าหน้าไหนก็ได้ แล้วด้านบนจะมีเมนู ใหม่เพิ่มมา ถ้ามันยังไม่ขึ้นลองกด Reload Ctrl+Shift+R ดูนะครับ --Manop | พูดคุย - 04:35, 8 ธันวาคม 2005 (UTC)

เพิ่งรู้ว่าทำอะไรพวกนี้ได้ด้วย ดี ดี ขอบคุณครับ --- Jittat 05:18, 8 ธันวาคม 2005 (UTC)

หน้าพิเศษ

หน้าพิเศษต่าง ๆ เช่น บทความที่มีลิงก์โยงเข้าหามาก (ยังไม่ได้สร้าง) มีการอัปเดตบ่อยแค่ไหน (กี่วันครั้ง) --อ็อกตร้า บอนด์ 05:28, 6 ธันวาคม 2006 (UTC)

วิกิพีเดียบางทีเกิดปัญหา

คือบางทีเวลาแก้แล้วบางทีจะมีขึ้นอย่างนี้ครับ The page cannot be displayed The page you are looking for might have been removed or had its name changed.


Please try the following: Open the home page, and then look for links to the information you want. If you typed the page address in the Address bar, make sure that it is spelled correctly. If you still cannot open the page, click the Internet Explorer Search button to look for similar sites. Internet Explorer คือผมต้องแก้หลายรอบมากเลยครับ กว่าจะได้ก็เกือบแย่ ขอให้ทางวิกิพีเดียช่วยแก้ปัญหาด้วยครับ

นั่นไม่ได้เป็นปัญหาของวิกิพีเดียนะครับ น่าจะมีสาเหตุมาจากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตที่คุณใช้มากกว่า--อ็อกตร้า บอนด์ 14:27, 2 ธันวาคม 2006 (UTC)

อ้างอิง

จะใส่หนังสืออ้างอิงแบบบรรณานุกรมจะทำอย่างไรครับ... มีเทมเพลทหรือเปล่า เหมือนจะเคยเห็นผ่านตา แต่ตอนนี้ผมหาไม่้เจอ ...หรือว่าผมเห็นในพากย์ภาษาอังกฤษ ? : > Golffee 16:04, 6 มกราคม 2006 (UTC)

จัดหมวดหมู่

ขอปรึกษาคุณManopหน่อยนะครับ คือผมมองว่าการจัดหมวดหมู่โดยใช้ template ที่แสดงลิงก์บทความที่เกี่ยวข้องอยู่ข้างล่างสะดวกรวดเร็วในการกระโดดไปยังบทความที่ต้องการ ผมก็ไม่รู้เกี่ยวกับกฏเกณฑ์และนโยบายของวิกิฯ มากมายอะไรหลอกครับ แต่รู้สึกว่าคุณ Manop จะนิยมการจัดหมวดหมู่แบบ Catagory มากกว่าเพราะว่าไปเอา แม่แบบ: บริษัทยา ของผมออกหมดเลย เพื่อการปรับแนวทางให้ตรงกันผมจึงอยากให้คุณManop ช่วยสรุปแนวทางหรือนโยบายของวิกิฯลฯ เพื่อทำให้ผมเข้าใจแนวทางที่จะต้องใช้ไปด้วยกันครับ จะได้ทำอะไรให้ไปในทางเดียวกันครับ--Chuansin 09:08, 12 มกราคม 2006 (UTC)

ตอบเรื่องจัดหมวดหมู่นะครับ จริง ๆ แต่ก่อนผมจัดหมวดหมู่ด้วยเทมเพลตเหมือนกันครับ แต่ัมันจะมีปัญหาอยู่อย่างนึงกับการจัดหมวดหมู่วิธีนี้ เลยเปลี่ยนมาใช้แบบปกติแทนนะครับ ปัญหาที่ผมพบในหมวดหมู่ที่จัดด้วยเทมเพลต ถ้าหมวดหมู่ในเทมเพลต ([[หมวดหมู่:...]]) มีการเปลี่ยนแปลง หมวดหมู่ภายในบทความจะเปลี่ยนตาม แต่พอกดเข้าไปดูหมวดหมู่นั้น บทความนั้นไม่อยู่ในหมวดหมู่นะครับ นอกจากว่าบทความนั้นได้มีการแก้ไขและทำการเซฟอีกครั้งหนึ่ง (งงมั้ยครับ)
ครับตอนนี้ผมอยากจะทำความเข้าใจเพื่อสรุปเป็นหลักการที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นระบบมีระเบียบครับ คือถ้าอันไหนไม่ดีไม่ถูกเราควรยกเลิกไม่ใช้เลยไช่ไหมครับ ถ้ามีการใช้ทั้งสองแบบเราจะใช้อะไรป็นตัวบอกหละครับว่าบทความนี้ใช้ template ได้ บทความนั้นใช้ หมวดหมู่:.ได้ ครับ--Chuansin 21:44, 12 มกราคม 2006 (UTC)
ความเห็นส่วนตัวผมจะจัดหมวดหมู่โดยใช้คำสั่งปกติที่ท้ายบทความครับ ([[หมวดหมู่:...]]) เพราะจะเข้าใจง่ายกว่าสำหรับผู้ใช้ใหม่ครับ ยกเว้นหน้าที่มีการ turnover สูง (ไม่รู้ว่าคำไทยใช้ว่าอะไร) มีการแก้ไขและนำเทมเพลตออกในภายหลัง จะใช้การจัดหมวดหมู่โดยใช้เทมเพลตครับ เพราะง่ายและเร็ว เช่น หมวดหมู่:ตรวจแก้รูปแบบ หรือ หมวดหมู่:บทความที่ไม่เป็นสารานุกรม ส่วนใหญ่จะใช้สำหรับเก็บกวาดซะมากกว่า ความคิดเห็นส่วนตัวผมชอบที่จะใช้แบบธรรมดา สำหรับความเห็นอื่น ลองถามชาววิกิพีเดียคนอื่นครับผม --Manop | พูดคุย - 00:13, 13 มกราคม 2006 (UTC)

โครงการทำ REDIRECT ในประเทศไทย

กะว่าจะทำ redirect ชื่อ อำเภอ ตำบล และ อื่น ๆ นะครับ เผื่อมีใครสนใจร่วมทำด้วย เช่น

--Manop | พูดคุย - 20:19, 14 เมษายน 2006 (UTC)

--ดีครับผมช่วยครับ pastman | พูดคุย

บางจังหวัดก็มีชื่ออำเภอซ้ำกัน หรือไม่ก็ซ้ำกับชื่อจังหวัดหรือชื่อตำบลนะครับ กรณีนี้คงต้องโยงไปที่หน้าเปลี่ยนทางแทน--อ็อกตร้า บอนด์ 14:34, 2 ธันวาคม 2006 (UTC)

เทมเพลตโครง

ถ้าได้ข้อสรุปของนโยบายนี้ ให้สรุปรวมไว้ที่ วิกิพีเดีย:แนวทางในการเขียนบทความให้ดียิ่งขึ้น

ตอนนี้หลายบทความผมใช้คำสั่งเทมเพลตโครง ( {{โครง}} {{โครงสถานที่}} {{โครงดารา}} ... และโครงอื่น ๆ ) ไว้ส่วนใต้ของคำสั่ง [[หมวดหมู่:...]] เพื่อให้หมวดหมู่ของกลุ่มบทความที่ไม่เสร็จ ปรากฏหลังหมวดหมู่ปกติที่ปรากฏใน Category นะครับ ลองดูตัวอย่างใน แอดเวนต์ชิลเดรน จะสังเกตเห็น หมวดหมู่โครงอยู่ท้ายสุด --Manop | พูดคุย - 22:59, 11 พฤษภาคม 2006 (UTC)

อันนั้นใช้ในกรณีที่ข้อความของโครงขึ้นตอนท้ายหรือเปล่าครับ? (ถ้าเจอผมจะแก้ให้ด้วยครับ) เออ... ตอนนี้โดยปกติใส่ {{โครง}} กันบริเวณไหนครับ (เห็นเมื่อก่อนเคย ๆ คุยกันอยู่ว่าควรจะใส่ตรงไหน) บางทีผมใส่ที่หัวบทความหลังคำนิยามเลย มีคุยกันอีกบ้างหรือยังครับ? --- Jittat 03:21, 12 พฤษภาคม 2006 (UTC)
ถ้าคำนึงถึงลำดับการแสดงหมวดหมู่ ตรงท้ายบทความ ก็เห็นด้วยที่จะใส่ {{โครง}} (และเพื่อน ๆ) ไว้หลัง [[หมวดหมู่:...]] ครับ
ลำดับที่คิดไว้ น่าจะเป็นประมาณ
  1. แม่แบบสถานีย่อย (เช่น {{วิกิประเทศไทย}})
  2. แม่แบบกล่องข้อความแจ้งเตือนต่าง ๆ (สำคัญสุดอยู่บนสุด)
  3. แม่แบบกล่องข้อความข้อมูล (เช่นเรื่อง ชื่อหัวข้อเป็นภาษาอังกฤษ หรือ แก้กำกวม)
  4. บทความ
    1. นิยามสรุป
    2. ...
    3. ...
    4. อ้างอิง (<references />)
    5. ดูเพิ่ม (วิกิลิงก์-ภายใน)
    6. แหล่งข้อมูลอื่น
  5. แม่แบบกล่องข้อมูล (เช่น {{สถาบันอุดมศึกษา}} กล่องสหภาพยุโรป)
  6. หมวดหมู่ ([[หมวดหมู่:..]])
  7. แม่แบบโครง ({{โครง}} {{โครงชีวประวัติ}})
  8. ภาษาอื่น ([[en:..]] [[ja:..]])
ถ้าเป็นไปได้ (เช่น ไม่กระทบต่อการจัดหน้า) ก็อยากให้เว้นบรรทัด 1 บรรทัดระหว่างแต่ละประเภทด้วยครับ
-- 172.208.145.39 22:28, 23 พฤษภาคม 2006 (UTC)

นับจำนวนบทความที่เขียน บน toolserver

ตอนนี้ toolserver ปรับปรุงใหม่แล้ว รวมข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์เอเชียเข้าไปแล้วนะครับ คำสั่งหลายอย่างที่รันบนนั้น สามารถใช้งานกับวิกิพีเดียไทยได้แล้ว (ซึ่งใช้ไม่ได้มานานมาก) เครื่องมือที่มีประโยชน์เช่น editcount และ CategoryTree --Manop | พูดคุย - 21:30, 12 พฤษภาคม 2006 (UTC)

เนมสเปซ

ตอนนี้ หมวดหมู่ และ เทมเพลต ได้มีชื่อไทยแล้วนะครับ อัปเดตข่าว

เช่น ตอนนี้จะใช้

[[หมวดหมู่:___]] หรือ [[หมวดหมู่:___]]

ก็ได้ครับ เหมือนกับ

[[ภาพ:___]] กับ [[ภาพ:___]]

มีไอเดียเสนอว่าถ้าใช้วิกิพีเดียบอต เปลี่ยนข้อความ คำอังกฤษ ให้เป็นคำไทย หมด มีความเห็นอย่างไรบ้างครับ --Manop | พูดคุย - 18:51, 23 พฤษภาคม 2006 (UTC)

ดีครับ เห็นด้วย ไม่น่าจะมีผลกระทบข้างเคียง (คำที่จะแทนที่ไม่กำกวม -- แต่เพื่อความปลอดภัย อาจจะกำหนดให้แทนที่เฉพาะใน เนมสเปซหลัก กับ เนมสเปซ Template ... โดยละเนมสเปซอย่างหน้าพูดคุยไว้ (เพราะเป็นไปได้ที่จะมีการจงใจใช้ [[หมวดหมู่:...]]) ) -- 172.208.145.39 22:07, 23 พฤษภาคม 2006 (UTC)
ตอนนี้กำลังรันบอตอยู่นะครับ ถ้ามีปัญหาอะไร ติดต่อได้ครับ จะสั่งทำเฉพาะส่วนที่เป็น "บทความ" เท่านั้น (ไม่รวม แม่แบบ, ฯลฯ) --Manop | พูดคุย - 02:41, 27 กรกฎาคม 2006 (UTC)

สวัสดีครับ ผม่ได้เข้ามาทำ สถานีย่อย:วิทยุสมัครเล่น ใน วิกิพีเดียไทย แล้วพบว่า สถานีย่อย และ Portal ในวิกิพีเดียวภาษาอังกฤษคืออันเดียวกันถ้าผมเข้าใจไม่ผิด แต่สิ่งที่ต่างกันคือ Portal จะเป็น เนมสเปซ ซึ่งจะมีคุณสมบัติการสร้างสับเพจได้ แต่สำหรับ สถานีย่อยใน วิกิเพียเดียไทย มีสถานะเป็นเพียงบทความใน เนมสเปซหลัก เท่านั้น เนื่องจากผมมาทีหลังเลยไม่ทราบว่าตอนทำสถานีย่อยครั้งแรกนั้นได้มีการตกลงไว้อย่างไรบ้าง จึงอยากที่จะสอบถามว่าจะสามารถทำให้เป็นเช่นเดียวกับ Portal ในวิกิภาษาอังกฤษได้หรือไม่ โดยการทำ สถานีย่อย ให้เป็นเนมสเปซ HS2JFW 09:40, 20 มกราคม 2007 (UTC)

ลิงก์ไป หน้าพูดคุย ในหน้าใน namespace ที่ไม่ใช่ namespace หลัก เสีย

ดูตัวอย่างที่ แม่แบบ:ลบ จะเห็นว่า คำว่า "หน้าพูดคุยของหน้านี้" เป็นสีแดง ทั้ง ๆ ที่มีหน้าพูดคุยอยู่แล้ว

เนื่องจากในโค้ด [[{{NAMESPACE}} talk:{{PAGENAME}}|หน้าพูดคุยของหน้านี้]]

ตรง {{NAMESPACE}} ในกรณีนี้ จะถูกแทนด้วย "แม่แบบ" ทำให้ลิงก์กลายเป็น [[แม่แบบ talk:ลบ|หน้าพูดคุยของหน้านี้]]

ซึ่ง namespace "แม่แบบ talk" ในลิงก์นั้น ไม่มีอยู่จริง ลิงก์เลยเสีย จะแก้ไขยังไงดีครับ ?-- 172.182.61.8 07:45, 3 มิถุนายน 2006 (UTC)

แก้เรียบร้อยแล้วครับ ;) --Manop | พูดคุย - 20:05, 29 มิถุนายน 2006 (UTC)
cool! -- 172.158.225.86 00:12, 30 มิถุนายน 2006 (UTC)

ตำแหน่งแสดงแม่แบบ ไม่เหมือนกันสำหรับผู้ใช้ล็อกอิน/ไม่ล็อกอิน

เนื่องจากตำแหน่งที่ระบุใน แม่แบบ:วิกิสถานีย่อย เป็นแบบสัมบูรณ์ เมื่อรวมกับการใช้ข้อความ มีเดียวิกิ:Anonnotice ซึ่งจะเลื่อนตำแหน่งของหัวเรื่องบทความลงมา ทำให้การแสดงผล สำหรับผู้ใช้ที่ล็อกอิน และไม่ล็อกอิน จะไม่เหมือนกัน

คุยต่อที่ คุยเรื่องแม่แบบ:วิกิสถานีย่อย#ตำแหน่งแสดง ไม่เหมือนกันสำหรับผู้ใช้ล็อกอิน/ไม่ล็อกอิน

สงสัยเรื่องการทำบทความที่ search ได้หลายชื่อ แต่เป็นเรื่องเดียวกันครับ

สวัสดีครับทุกท่าน ผมเป็นน้องใหม่เพิ่งเข้ามาเขียนนะครับ ขอฝากเนื้อฝากตัวด้วยนะครับ

พอดีผมมีข้อสงสัยเรื่องการ redirect ชื่อหัวข้อเรื่องครับ ผมกำลังเขียนเรื่องของ คุณนิรันดร์ บุญยรัตพันธุ์ หรือที่เรารู้จักกันดีในนามของ น้าต๋อย เซมเบ้ ผมใช้ชื่อ-สกุล เป็นหัวข้อเรื่อง คือ นิรันดร์ บุญยรัตพันธุ์ เลย แต่ผมอยากให้เวลาคนกด search คำว่า "น้าต๋อย เซมเบ้" ก็จะ redirect ไปที่หน้า "นิรันดร์ บุญยรัตพันธุ์" เลย

ไม่ทราบว่าพอจะช่วยแนะนำวิธีทำให้ผมหน่อยได้ไหมครับ ขอบคุณทุกท่านที่อ่านครับ e.k.7 06:44, 31 กรกฎาคม 2006 (UTC)

สร้างบทความใหม่ ชื่อ น้าต๋อย เซมเบ้ ข้อความในบทความคือ #REDIRECT[[นิรันดร์ บุญยรัตพันธุ์]] - 2T - ('-') ('-') ('-') - 11:12, 31 กรกฎาคม 2006 (UTC)
เพิ่มเติมครับ ถ้าทำ redirect แล้ว แล้วตอนนี้ถ้าใครหา นิรันดร์ บุญยรัตพันธุ์ หรือ น้าต๋อยเซมเบ้ หรือ น้าต๋อย เซมเบ้ ก็จะเจอครับ ลองดูเพิ่มได้ที่ วิกิพีเดีย:หน้าเปลี่ยนทาง ครับ--Manop | พูดคุย - 23:12, 31 กรกฎาคม 2006 (UTC)
ย้ายข้อความไปที่ วิกิพีเดีย:บอต

วิกิพีเดียไทย หยุดนิ่งบ่อย

สงสัยครับ ว่าทำไมช่วงนี้วิกิพีเดียไทย หยุดนิ่งบ่อย บางหน้าก็ไม่โหลดเลย ไม่รู้ว่ามีใครมีปัญหาเหมือนผมเปล่า --Manop | พูดคุย - 20:17, 6 สิงหาคม 2006 (UTC)

ปัญหานี้แก้แล้วนะครับ ผมส่งอีเมลไปที่ wikipedia-l@wikimedia.org เมื่อหนึ่งชั่วโมงก่อน ตอนนี้ทางนู้นเค้าบอกแก้เรียบร้อยเนื่องจากมีหนึ่งในเซิร์ฟเวอร์ที่เก็บมีไฟล์ภาษาไทยไฟล์เก่าอยู่ แต่ตอนนี้จัดการหมดแล้ว ไม่มีปัญหาแล้วครับ ถ้าใครมีปัญหาอีกช่วยแจ้งด้วยครับ --Manop | พูดคุย - 02:09, 18 สิงหาคม 2006 (UTC)

คำสั่ง ต้องการอ้างอิง

มีคำสั่งคล้าย {{unreferenced}} ใน en.wikipedia มั้ย? สำหรับชี้ให้ผู้ใช้/ผู้edit เห็นว่า บทความไม่มีแหล่งอ้างอิงเลย คำสั่ง {{ต้องการอ้างอิง}} มันแคบไป (มันระบุถึงแค่ "บทความส่วนนี้ ต้องการการอ้างอิง"). Patiwat 23:27, 11 สิงหาคม 2006 (UTC)

ทำเพิ่มได้เลยครับ แม่แบบ:unref แม่แบบ:ไม่อ้าง แม่แบบ:... ลองเลือกชื่อดู -- 172.181.228.70 21:15, 18 สิงหาคม 2006 (UTC)

เกี่ยวข้อง: วิกิพีเดีย:สภากาแฟ (โครงการวิกิพีเดีย) #เกี่ยวกับป้ายอ้างอิง

ป้ายเพิ่ม

เสนอเพิ่มป้าย "รอภาพประกอบ" กับ "รอจัดหมวดหมู่"; ไม่ทราบว่ามีหรือยัง หรือว่ามีความเห็นยังไงครับ -- ธวัชชัย 16:51, 18 สิงหาคม 2006 (UTC)

ตอนนี้ยังไม่มีครับ สร้างได้เลยครับ
ผมได้ทำการเพิ่ม แม่แบบ:ต้องการภาพ แล้วนะครับ. ลองใช้ดูครับ. --Jutiphan | พูดคุย - 04:20, 10 พฤศจิกายน 2006 (UTC)

ต้องการปุ่ม อ้างอิง

ขอเสนอเพิ่มปุ่ม "อ้างอิง" แทรกข้อความว่า

== อ้างอิง == <div class="references-small"> <references/> </div>

คำสั่งอะไร ยาวจัง ขี้เกียจพิมพ์ ขี้เกียจท่อง ขี้เกียจตัดแปะ ถ้ามีปุ่มนี้นะ ผมจะใส่ ref ให้ทุกหน้า อย่างที่คุณปฏิวัติต้องการ ให้มันส์ไปเลย - 2T - ('-') ('-') ('-') - 04:55, 28 สิงหาคม 2006 (UTC)

น่าสนใจครับ ลองทำเป็น javascript ใน วิกิพีเดีย:สคริปต์ผู้ใช้ หรือว่า ทำเป็นป่มต่อจาก REDIRECT ที่มีอยู่ดีครับเนี่ย --Manop | พูดคุย - 03:16, 6 กันยายน 2006 (UTC)
ผมเองว่า ทำเป็นปุ่ม ก็ดีเหมือนกันครับ แบบปุ่ม อ้างอิง กับ ปุ่ม รายชื่ออ้างอิง อะไรแบบนี้ครับ --Jutiphan | พูดคุย - 02:38, 10 พฤศจิกายน 2006 (UTC)

สคริปต์ผู้ใช้

สวัสดีครับ ขอถามเรื่องนอกวิกิพีเดีย สักเล็กน้อยนะครับ

ทำไมผมย้าย monobook.js ไปทีวิกิซอร์ซ แล้วมันไม่workครับ (ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงในหน้าedit)

(http://th.wikisource.org/wiki/ผู้ใช้:Bpitk/monobook.js + refresh (ctrl+F5) แล้ว)

จะใช้ JavaScript:สคริปต์ผู้ใช้ ในวิกิซอร์ซ ต้องทำอะไรเพิ่มหรือเปล่าครับ

เวลานี้เวลาจะ edit, replace, re ทีละมาก ๆ ต้องcopyออกมาที่โปรแกรมนอกFirefox แล้วpaste กลับเข้าไปใหม่

คิดว่าถ้าทำเป็นสคริปต์ผู้ใช้ แบบในวิกิพีเดีย น่าจะสะดวกขึ้นมากเลย

--Bpitk 17:35, 30 กันยายน 2006 (UTC)

เขียนตอบใน หน้าของ คุณ Bpitk แล้วนะครับ--Manop | พูดคุย - 20:51, 1 ตุลาคม 2006 (UTC)

เว็บย่อ - เว็บย่อ

พอดีมีผู้ใช้ไม่ประสงค์ออกนาม มาแก้ไข แม่แบบ:เว็บย่อ และ แม่แบบ:เว็บย่อ เลยอยากฝากดูว่า ควรจะรวมกันตามที่ผู้ใช้ไม่ประสงค์ออกนามทำ หรือว่าแยกกันเหมือนเดิมดีครับ --Manop | พูดคุย - 14:53, 6 ตุลาคม 2006 (UTC)

ผมคิดว่า น่าจะมี ตัวเดียว ที่ใช้เหมือนกันหมดนะครับ ผู้ใช้จะได้ไม่สับสน เดี๋ยว เว็บย่อหน้านี้ ชื่อย่อหน้านั้น. --Jutiphan | พูดคุย - 04:37, 10 พฤศจิกายน 2006 (UTC)
เอามารวมกัน แล้วทำเป็น ให้แสดงแค่ชื่อก่อน (สั้น) แล้วพอเอาเมาส์ไปวาง ก็แสดงเป็นลิงก์ (url) (ยาว) ... เป็นไปได้มั๊ยเนี่ย ? JavaScript + DOM -- bact' คุย 03:28, 28 กุมภาพันธ์ 2007 (UTC)

สคริปต์ สำหรับนับจำนวนผู้อ่านบทความ

พอดีไปเจอมาครับ ถ้าติดตั้งในวิกิพีเดีย (แยกติดตั้งแต่ละภาษา) จะสามารถนับได้ว่าบทความไหนที่มีคนดูเยอะที่สุด แต่การติดตั้งจะติดตั้งในไฟล์หลัก MediaWiki:Monobook.js ซึ่งจะมีผลกับทุกคนในวิกิพีเดียไทย เลยอยากจะถามความเห็นของท่านอื่นครับ

ข้อมูลทั้งหมดดูได้ที่ meta:WikiCharts --Manop | พูดคุย - 05:03, 14 ตุลาคม 2006 (UTC)

ถ้าไม่มีผลเสียอะไร ผมว่าก็ดีครับ --Pi@k 02:09, 15 ตุลาคม 2006 (UTC)
ผมลองติดต่อคนที่เขียนโปรแกรมไปสองวันก่อนแล้วนะครับ แต่ทางนั้นเงียบไม่ติดต่อกลับครับ เดี๋ยวถ้าคืบหน้ายังไงจะมาเล่าเป็นระยะครับ --Manop | พูดคุย - 03:55, 20 ตุลาคม 2006 (UTC)
ตอนนี้ก็ยังไม่มีความคืบหน้าครับ ผมลองติดต่อในหน้าพูดคุยแล้ว และลองติดต่อทาง IRC ก็ไม่มีตอบกลับครับ เลยคิดว่า คุณ Leon (ชาวเยอรมัน) อาจจะไม่ค่อยมีเวลาว่างช่วงนี้ (และตอนนี้ตัวที่ภาษาอังกฤษใช้อยู่ก็มีปัญหาเหมือนกัน) เลยมีไอเดียใหม่ว่าถ้าเราใช้ เคาน์เตอร์ของที่อื่นติดตั้งแทน นับจำนวนคนเข้าต่อวัน และจำนวนหน้าที่มีคนดู (page views) ต่อวัน แต่ไม่แน่ใจว่าทางวิกิมีเดียจะมีนโยบายห้ามตรงส่วนนี้หรือเปล่าครับ --Manop | พูดคุย - 02:05, 25 ตุลาคม 2006 (UTC)
ตอนนี้ลองติดตั้งและลองใช้งานได้ 1 วันนิดหน่อยนะครับ ลองดูเพิ่มได้ที่ วิกิพีเดีย:สถิติ/จำนวนผู้ใช้งาน ส่วนถ้าใครสามารถติดต่อคุณ Leon ในวิกิพีเดียเยอรมันได้ ช่วยฝากติดต่อหน่อยนะครับ เผื่อติดตั้งตัวโปรแกรมที่เป็นของวิกิมีเดียเองด้วยครับ --Manop | พูดคุย - 00:47, 1 พฤศจิกายน 2006 (UTC)
Thanks, this is very useful. Keep it up. I'd suggest you show 1) daily rankings, 2) monthly rankings, and 3) cummulative rankings. Patiwat 22:55, 1 พฤศจิกายน 2006 (UTC)

ภาพไม่แสดง ในหน้าภาพ

ภาพ:Visual Studio 2005 Start Page.png กับ ภาพ:Windows XP Logo.svg ที่โหลดโดย ผู้ใช้:Jutiphan ไม่แสดงผลในหน้าภาพครับ พอมีใครทราบไหมครับว่าเป็นเพราะอะไรครับ ขอบคุณครับ --Manop | พูดคุย - 04:55, 4 พฤศจิกายน 2006 (UTC)

  • It works for me... 24.193.105.76 17:55, 7 พฤศจิกายน 2006 (UTC)
  • ในหน้าภาพเห็นภาพเป็นปรกติ แต่รูปที่อัปโหลดแล้วเอาไปใช้ มันจะถูกระบบ resample ก่อน ซึ่งในเมื่อเป็นรูปขนาดใหญ่ (หมายถึง file size) มันก็จะใช้เวลาแปลงนาน หรืออาจแปลงไม่ได้เลยถ้าข้อมูลรูปภาพผิดรูปแบบอยู่ภายใน--อ็อกตร้า บอนด์ 14:40, 2 ธันวาคม 2006 (UTC)

WikEd

ใครเคยใช้ Tools ตัวนี้บ้างอะครับ http://en.wikipedia.org/wiki/User:Cacycle/wikEd ผมเอาไปใส่ใน monobook.js แล้วมันทำให้ script เก่า ๆ ไม่ทำงานอะครับ ? แล้วใช้มีปัญหาไหมครับ ผมลองมีมันปัญหา อยู่ ๆ ก็ไปใส่ tage < gallery > เพิ่ม เข้าไปเพิ่มเลยครับ เลยไม่แน่ใจ แปะผิด หรือทำอะไรผิดไป ? เลยอยากถามคนที่ใช้อยู่ หรือเคยใช้อะครับ--PoSTeRWEB 14:58, 11 พฤศจิกายน 2006 (UTC)

กรอบสร้างบทความในสถานีย่อย

อันนี้สงสัยครับว่า จะเป็นไปได้ไหมครับว่ามี กล่องสร้างบทความในสถานีย่อย เช่นประเทศไทย การ์ตูน แล้วพอสร้างบทความจากกล่องในหน้านั้นแล้ว จะใส่โค้ด ว่าเป็นหน้านี้เป็นสารานุกรมไทย, การ์ตูนให้เลย พอว่าถ้าเป็นไปได้ น่าจะเป็นการดีที่จะมีกล่องในแต่ละสถานีนะครับ เพราะหลายคนสร้างบทความ ก็ลืมบ้าง ไม่รู้บ้าง ไม่ได้ใส่โค้ด สารานุกรมของสถานีย่อยต่าง ๆ ครับ --PoSTeRWEB 18:45, 11 พฤศจิกายน 2006 (UTC)

แหล่งข้อมูลอื่น

ตรงส่วนสุดท้ายของบทความที่เป็นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลอื่น ควรใช้หัวข้อว่า แหล่งข้อมูลอื่น หรือ แหล่งข้อมูลอื่น ดีครับ เพราะเห็นตอนนี้มีใช้ทั้งสองแบบมั่วไปหมด แม้แต่ในบทความคัดสรรก็ยังใช้ไม่เหมือนกัน (แถมเห็นบางบทความยังใช้ แหล่งข้อมูลอื่น หรือ แหล่งข้อมูลอื่น ด้วยซ้ำ) น่าจะใช้แบบเดียวกันนะครับ จะได้มีหลักการที่แน่นอน --Adgjl 06:38, 18 พฤศจิกายน 2006 (UTC)

จากในวิกิพีเดีย:แนวทางในการเขียนบทความให้ดียิ่งขึ้น นั้นได้เปลี่ยนมาแนะนำให้ใช้ แหล่งข้อมูลอื่น ครับเนื่องจากว่า อ่านแล้วเข้าใจและสื่อความหมายได้ง่ายกว่า. อย่าสับสนกับการเขียนข้อมูลที่ใช้จากแหล่งข้อมูลอื่นนะครับ ในกรณีที่คุณอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลอื่นนั้น ให้ระบุแหล่งอ้างอิงด้วย ส่วน แหล่งข้อมูลอื่นนั้น เป็นลิงก์ไปที่อื่น สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมจากบทความ --Jutiphan | พูดคุย - 06:46, 18 พฤศจิกายน 2006 (UTC)

การติดป้ายแจ้งเตือนการก่อกวน

ผมเสนอว่าการติดป้ายแจ้งเตือนการก่อกวนสำหรับผู้ใช้ที่ไม่ได้เป็นสมาชิกนั้น ควรจะระบุด้วยว่าหมายเลขไอพีนั้น ๆ ได้ก่อกวนในบทความไหน เนื่องจากบางคนไม่ได้เข้ามาก่อกวนในบทความนั้น ๆ แต่มีเลขไอพีซ้ำกับคนที่ก่อกวน ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความสับสนได้นะครับ --ScorpianPK 09:02, 2 ธันวาคม 2006 (UTC)

แจ้งได้ที่ วิกิพีเดีย:ก่อกวน ครับ --Jutiphan | พูดคุย - 13:54, 2 ธันวาคม 2006 (UTC)

แก้ชื่อผิดอัตโนมัติ

ได้ทดลองแก้ไข มีเดียวิกิ:Common.js และ แม่แบบ:ชื่อผิด เพื่อให้เว็บเบราว์เซอร์ที่เปิดใช้งาน JavaScript แก้ไขชื่อบทความให้อัตโนมัติ

(ดูตัวอย่างที่ IReport, อื่น ๆ)

โดยทดลองทำตาม en:แม่แบบ:Wrongtitle และตัวอย่างใน de:Vorlage_Diskussion:Korrekter_Titel#javascript-loesung และโค้ดใน [1]
ถ้าทดสอบแล้วยังไม่เห็นผล อาจเป็นเพราะ JavaScript เก่ายังคงค้างอยู่ในเครื่อง ให้โหลด common.js ใหม่อีกรอบ (กด shift + ปุ่ม refresh/reload)
หากพบปัญหาการใช้งาน สามารถแจ้งได้ที่นี่ครับ (ฝากผู้รู้ JavaScript อื่น ๆ ช่วยดูด้วยครับ)
-- bact' 07:48, 11 เมษายน 2007 (UTC)

หมวดสำหรับบทความชื่อภาษาไทย

ชาววิกิคงทราบกันดีว่า เวลาเราจัดบทความหนึ่ง ๆ ไปอยู่หมวดใด ๆ มักจะมีปัญหาเมื่อชื่อบทความนั้นขึ้นต้นด้วยสระหน้า ทั้ง 5 ตัวนี้ "เ แ โ ใ ไ" บทความนั้นจะถูกเรียงลำดับไปที่สระหน้าดังกล่าว เช่น แกลบ จะถูกจัดไปที่กลุ่ม แ แทนที่จะอยู่ในกลุ่ม ก และก็ต้องมาแก้กันด้วยการสลับตัวอักษรตัวที่สองมาไว้ข้างหน้าแทน เป็น [[หมวดหมู่:xxx|กแลบ]]

แต่บางเบราว์เซอร์จะมีปัญหาในการทำเช่นนี้ (ไออี) หากอักษรตัวที่สองมีสระบน สระล่าง หรือวรรณยุกต์ เช่น ไพ่ กลายเป็นว่า ต้องเอาไม้เอกไปใส่บนไม้มลาย ทำให้พิมพ์ไม่ได้ ส่วนเบราว์เซอร์อื่นที่พิมพ์ได้ จะมองไม่ออก หรือจะปรากฏพื้นที่ดำ ๆ ตรงจุดนั้น (มองเห็นเมื่อเซ็ตฟอนต์เป็น ms sans serif วิธีนี้ใช้ตรวจสระหรือวรรณยุกต์ซ้อนเกินได้) และจะมีปัญหาตอนแก้ไขภายหลัง

ผมจึงคิดว่า แทนที่จะสลับอักษรกัน ทำไมไม่เติมอักษรเพิ่มลงไปข้างหน้าเพิ่มอีกหนึ่งตัวเสียเลย กลายเป็น [[หมวดหมู่:xxx|กแกลบ]] และ [[หมวดหมู่:xxx|พไพ่]] ซึ่งวิธีนี้ถ้าใครจะเอาไปทำบอตง่ายนิดเดียว แค่ตรวจสอบดูว่าอักษรตัวแรกของชื่อบทความเป็นสระหน้า 5 ตัวดังกล่าวหรือไม่ ถ้าใช่ ให้แทรกอักษรตัวที่สองไว้ข้างหน้า ภายในแท็กหมวดหมู่ ถ้าไม่ใช่ ก็ไม่ต้องทำอะไร ง่ายกว่ามาตรวจจับให้มันสลับกัน แล้วติดเรื่องสระวรรณยุกต์อีก

อ้อลืมข้อยกเว้น บทความเรื่อง ที่เป็นรูปสระตัวเดียวโดด ๆ และ (ชื่อหนังสือมีแต่สระอำ) ไม่ต้องไปแก้มันนะครับ --Octahedron80 09:07, 8 มิถุนายน 2007 (UTC)

สมัยก่อนโน้นผมเคยทำแบบนี้เหมือนกันครับ (ไม่ได้เสนออย่างเป็นทางการ) รู้สึกว่าไม่ค่อยได้รับความนิยมมั้งเลยเปลี่ยนไปทำตามคนอื่น --Pi@k 09:18, 8 มิถุนายน 2007 (UTC)

ถ้าไม่กังวลเรื่องการเรียงภายในก็โอเคครับ (คิด ๆ แล้ว รู้สึกว่า เรียงยังไงมันก็ไม่สมบูรณ์อยู่ดี) แต่เห็นเคยคุยกันไว้ว่า ไม่ต้องใส่วรรณยุกต์เวลาจัดหมวดหมู่ เพราะว่ามันจะไปเรียงไว้หลังสุด (เช่น กา กี แล้วถึงเป็น ก่) --kinkkuananas 09:41, 8 มิถุนายน 2007 (UTC)

ขอยกตัวอย่างอีกคำครับ เพื่อน คงเอาสระออกไม่ได้หละ ใช้เป็น [[หมวดหมู่:xxx|พเพื่อน]] สะดวกกว่า --Octahedron80 09:48, 8 มิถุนายน 2007 (UTC)

สนับสนุนการเพิ่มตัวอักษรข้างหน้าตามที่คุณ Octahedron80 เสนอ--ScorpianPK คุยแค่ "คลิก" 10:28, 8 มิถุนายน 2007 (UTC)
แต่ก่อนเคยทำเหมือนกันครับ แต่คุณ Bact เสนอความเห็นไว้ในหน้า คุยเรื่องวิกิพีเดีย:โครงการจัดหมวดหมู่ และเห็นคนอื่นใช้แบบนั้นเลยใช้ตามนะครับ ตอนนี้ก็หวังว่าซักวันหนึ่ง MySQL คงจัดการเรียงภาษาไทยได้
MySQL ตั้งแต่ 4.1 เรียงภาษาไทยตามพจนานุกรมได้อยู่แล้วครับ ถ้าตั้ง collation เป็น tis620_thai_ci แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นรู้สึกว่าวิกิจะใช้ระบบ utf8 มานานแล้ว ซึ่งไม่สามารถเรียงตามพจนานุกรมไทยได้--Octahedron80 06:27, 11 มิถุนายน 2007 (UTC)
แล้วก็ก่อนหน้านี้เห็น คุณ Jutiphan ได้แจ้งไปทางวิกิมีเดียไว้แล้วเรื่องปัญหานี้นะครับ แต่คงยังไม่มีการแก้ไขเท่าไร เห็นว่าภาษาอื่นบางภาษาก็มีปัญหาเหมือนกัน ดูเพิ่มได้ที่ http://bugzilla.wikimedia.org/show_bug.cgi?id=164 --Manop | พูดคุย - 16:10, 8 มิถุนายน 2007 (UTC)

การเก็บสถิติการใช้งาน

สวัสดีครับ ผมขออัปเดตการเก็บสถิติ โดยได้แก้ไขโค้ดให้ยกเลิกการผ่านเว็บไซต์ตัวกลาง ซึ่งก่อนหน้านี้ได้รับแจ้งว่าทำให้การเข้าถึงและเข้าใช้เว็บไซต์ช้าลง โดยโค้ดล่าสุดน่าจะช่วยให้การโหลดรวดเร็วขึ้นครับผม ซึ่งคุณอาจไม่เห็นผลจนกว่าจะมีการอัปเดตแคช หรือบังคับการอัปเดตด้วยตัวเองโดยการกด Ctrl+F5 ขณะนี้ไม่แน่ใจว่าวิธีใหม่จะได้ผลหรือเปล่า คงต้องลองไปซักพักดูก่อนครับ การแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุดอาจจะต้องให้ทางด้านนั้นติดตั้ง ตัวเสริมสำหรับการเก็บสถิติครับผม --Jutiphan | พูดคุย - 04:27, 11 กรกฎาคม 2007 (UTC)

<source>

ผมเจอแท็กใหม่ในวิกิอังกฤษคือ <source> ใช้สำหรับคลุมเนื้อหาตรงส่วนที่เป็นซอร์สโค้ดโดยเฉพาะและมี syntax hilighting ให้ด้วยโดยไม่ต้องทำเอง เพียงแค่เลือกภาษาให้ถูกลงใน lang เช่น <source lang="java">...</source> ดังตัวอย่างใน เทมเพลทเมธอดแพตเทิร์น สำหรับรายชื่อภาษาที่ใช้ได้มีดังต่อไปนี้

  • actionscript, ada, apache, applescript, asm, asp, autoit, bash, blitzbasic, bnf, c, c_mac, caddcl, cadlisp, cfdg, cfm, cpp, cpp-qt, csharp, css, d, delphi, diff, div, dos, eiffel, fortran, freebasic, gml, groovy, html4strict, idl, ini, inno, io, java, java5, javascript, latex, lisp, lua, matlab, mirc, mpasm, mysql, nsis, objc, ocaml, ocaml-brief, oobas, oracle8, pascal, perl, php, php-brief, plsql, python, qbasic, rails, reg, robots, ruby, sas, scheme, sdlbasic, smalltalk, smarty, sql, tcl, text, thinbasic, tsql, vb, vbnet, vhdl, visualfoxpro, winbatch, xml, xpp, z80

สำหรับซอร์สโค้ดภาษาอื่นที่ไม่มีในรายชื่อ ให้ใช้ lang="text" ครับ --Octahedron80 02:49, 16 กรกฎาคม 2007 (UTC)

upload file disable

ติดตั้ง wiki แล้วไม่สามารถ upload รูปภาพได้ มีข้อความว่า Sorry, uploading is disabled. แก้ไขอย่างไร ช่วยทีครับ -- Freefom busy (12 ก.ค. 2550)

ปกติ ซอฟต์แวร์มีเดียวิกิจะกำหนดให้อัปโหลดไม่ได้เป็นค่าตั้งต้นครับ ถ้าต้องการให้อัปโหลดภาพได้ให้เข้าไปแก้ที่ไฟล์ Localsettings.php แล้วเปลี่ยนตรง enable upload เป็น TRUE ครับ --Manop | พูดคุย - 21:03, 19 กรกฎาคม 2007 (UTC)

ลิงก์หน้าพูดคุย หน้าโครงการเสีย

ตอนนี้จาก พูดคุยวิกิพีเดีย กลายเป็น พูดคุย วิกิพีเดีย ครับ ทำไงดี :) --Manop | พูดคุย - 21:03, 19 กรกฎาคม 2007 (UTC)

ดูแล้ว เกิดจาก Bug #10636 แพตช์อัปเดตไฟล์ MessagesTh.php [2] นะครับ ตรง NS_PROJECT_TALK จากเดิม 'คุยเรื่อง$1' มีเพิ่มเว้นวรรค 'คุยเรื่อง $1' ลิงก์ด้านบนของหน้าโครงการก็เลยกลายเป็นมีเว้นวรรคด้วย
วิธีก็คงต้องแก้ค่าคืน ก็น่าจะกลับมาเป็นเหมือนเดิมนะครับ :-) --PaePae 08:43, 20 กรกฎาคม 2007 (UTC)
ครับ ผมเพิ่งอัปเดตไป แก้ปัญหาชื่อโครงการเป็นภาษาอังกฤษ ที่ตัวอักษรไทยและตัวอักษรอังกฤษจะติดกัน แต่เหมือนจะต้องแก้กลับ แต่มาถามดูก่อนนะครับ เผื่อมีวิธีอื่น --Manop | พูดคุย - 08:45, 20 กรกฎาคม 2007 (UTC)
เท่าที่เคยทดลองมา ไม่มีวิธีแก้ถาวรครับ แต่ก่อนผมก็เว้นวรรคไว้เหมือนกัน ซึ่งถ้าเป็นชื่อโครงการที่เป็นภาษาไทยก็จะไม่เหมาะอีก ผมคิดว่าทำเป็นแบบไม่เว้นวรรคไว้ แล้วถ้าโครงการไหนใช้ชื่อเป็นภาษาอังกฤษแล้วอยากให้มีเว้นวรรค ก็ให้แก้ไขใช้เฉพาะเว็บไซต์ของตัวเองน่าจะดีกว่าครับ (อาจจะมีคอมเมนต์บอกไว้) --PaePae 08:51, 20 กรกฎาคม 2007 (UTC)
ก็อยากให้เป็นอย่างนั้นเหมือนกันครับ แต่ตอนนี้ขนาดแค่ในวิกิมีเดียเองโครงการอื่นก่อนหน้านี้เป็น
คุยเรื่องวิกิพีเดีย
คุยเรื่องวิกิซอร์ซ
คุยเรื่องWikibooks
คุยเรื่องWiktionary
คุยเรื่องWikiquote
ซึ่งก็ไม่มีการแก้นะครับ --Manop | พูดคุย - 19:01, 20 กรกฎาคม 2007 (UTC)
ตอนนี้คิดว่าจะกลับไปเป็นเหมือนเดิมดีหรือเปล่าครับ ส่วนชื่อโครงการเป็นภาษาอังกฤษ (ในวิกิตัวอื่น) ก็ช่างค่อยคิดเปลี่ยนอีกที --Manop | พูดคุย 06:04, 22 กรกฎาคม 2007 (UTC)
อ้อ เข้าใจแล้วว่าเกิดอะไรขึ้น คิดว่าเอากลับไปดีกว่ามั้งครับ --Pi@k 06:14, 22 กรกฎาคม 2007 (UTC)
เรียบร้อยแล้วครับ ตอนนี้ทางมีเดียวิกิ patch เข้าไปให้แล้วกลับเป็นเหมือนเดิม ต่อไปก็รอแค่ทางวิกิมีเดียนำไฟล์มาใช้ คาดว่าวันสองวัน หรือไม่ก็ลองเช็คที่รุ่นใน พิเศษ:Version ถ้ารุ่นมากกว่า 24360 น่าจะได้ ตอนนี้เป็นรุ่น MediaWiki: 1.11alpha (r24275) --Manop | พูดคุย 08:55, 24 กรกฎาคม 2007 (UTC)
เรียบร้อยอีกขั้นแล้วครับ ทางมีเดียวิกิได้อัปเกรดเป็นรุ่น r25148 ไม่เมื่อวานก็วันนี้ครับ ไม่มีปัญหาแล้วครับ ส่งแพตช์ไปเกือบเดือนเพิ่งอัปเกรด --Manop | พูดคุย 18:17, 26 สิงหาคม 2007 (UTC)

Is there a list of Western names

That will be handy for fellow Wikipedians. Otherwise every one will come up with their own translation for Charlotte Bronte, Harry Potter or Condoleezza Rice ! TA !!

Mori Riyo 00:54, 26 กรกฎาคม 2007 (UTC)

Usually we transliterate by using the Royal Thai General System for Transcription/Transliteration (see การถอดเสียงภาษาอังกฤษ and so forth). So far we just have common names in วิกิพีเดีย:โครงการคำทับศัพท์/คำทับศัพท์ชื่อบุคคล. --Manop | พูดคุย 05:22, 26 กรกฎาคม 2007 (UTC)

คำค้นในภาษาไทย ไปไม่ถึงหน้าที่ต้องการ

อยากทราบว่าการจะทำให้คำค้นที่กดเลือกบนหน้าจอวิกิพีเดีย ภาษาไทยแล้วให้มีเป้าหมายที่หน้าเดียวกันนี่ทำยังไงครับ บางทีพอถอดจากภาษาอังกฤษแล้ว มันไม่มีคำเขียนไทยที่แน่นอน แล้วบางทีก็ไม่ตรงกับหัวเรื่องด้วย อย่างเช่น ถ้าอยากทำให้ วิกิพีตัง วิกิพี-เทน มาสค็อต wikipe-tan ทุกคำในนี้ที่กดค้นหาบนหน้าภาษาไทยไปที่หน้าเดียวกัน จะทำยังไงครับ... อยากทราบเทคนิคนี้หน่อย T^T --Mafuyu 08:40, 20 สิงหาคม 2007 (UTC)

ไม่แน่ใจว่าที่หมายถึงหรือเปล่านะครับ ลองดู WP:R --KINKKUANANAS 08:45, 20 สิงหาคม 2007 (UTC)
นอกจากทำหน้าเปลี่ยนทางตามที่ คุณ KINKKU ANANAS บอกแล้ว สำหรับคำทั่วไป ที่มีโอกาสสะกดได้หลายแบบ ในวิกิไทย มีลิสต์รายการไว้ส่วนหนึ่งครับที่ คำทับศัพท์หมวด A และหน้าอื่น ๆ --Manop | พูดคุย 19:33, 21 สิงหาคม 2007 (UTC)

ทำหน้าเปลี่ยนทางครับ --Topictopicle 11:21, 10 พฤศจิกายน 2007 (ICT)

Buddhist era

  • Hi, I have a question about when did Thailand actually start to

mark years of Buddhist Era (B.E. or พ.ศ.) ?

Some one told me it was 1950 A.D. or พ.ศ. 2493 ???

Mori Riyo 03:27, 28 สิงหาคม 2007 (UTC)

LOCALTIME

ตอนนี้มีการใช้คำสั่งใหม่ {{LOCALTIME}} {{LOCALDATE}} และอื่น ๆ ซึ่งจะแสดงผลเช่นเดียวกับ {{CURRENTTIME}} {{CURRENTDATE}} โดยเวลาของ LOCALTIME จะเป็นเวลาของประเทศไทยขณะที่ CURRENTTIME จะเป็นเวลาตาม UTC

ดังตัวอย่าง

  • LOCALTIME - 08:59
  • CURRENTTIME - 01:59

โดยเพิ่งปรับแก้ไปวันนี้ครับ จาก บักซิลลา ตัว 11074 จึงรายงานมาให้ทราบโดยทั่วกัน เผื่อนำไปใช้กันครับ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใส่ในหน้าสถานีย่อย เพื่อป้องกันผู้ดูหน้าที่ไม่ได้ล้างแคช (อ่านเพิ่มหัวข้อต่อไปครับ) --Manop | พูดคุย 12:57, 29 สิงหาคม 2007 (ICT)

ล้างเซิร์ฟเวอร์แคช‎

ดูได้ที่ วิกิพีเดีย:ล้างเซิร์ฟเวอร์แคช‎ สำหรับการ purge หน้าต่าง ๆ โดยเฉพาะหน้าสถานีย่อยและหน้าหลัก ที่บางคนสงสัยว่าทำไมคนอ่านที่ไม่ล็อกอิน มักจะเห็นแต่ข้อความเก่า ข้อความที่เพิ่งอัปเดตใหม่ไม่แสดงผล --Manop | พูดคุย 12:57, 29 สิงหาคม 2007 (ICT)

AutoWikiBrowser

เผื่อใครสนใจอยากใช้ "AutoWikiBrowser" en:WP:AWB

เป็นโปรแกรมบน Windows ไว้ช่วยแก้วิกิพีเดียได้ ผมไม่เคยลองนะ -- bact' 21:05, 5 กันยายน 2007 (ICT)

น่าสนใจดีครับ คุณ bact' ลองใช้ลองทดสอบ และมาบอกข้อดีข้อเสียดีไหมครับ --Manop | พูดคุย 23:28, 6 กันยายน 2007 (ICT)
อยากลองเหมือนกันอ่ะครับ แต่ผมไม่มีเครื่องวินโดวส์น่ะสิ : (-- bact' 00:39, 7 กันยายน 2007 (ICT)

มีเดียวิกิ 1.11.0

ตอนนี้ มีเดียวิกิ เพิ่งประกาศรุ่นล่าสุด 1.11.0 เมื่อวานครับ ซึ่งทางวิกิพีเดียใช้ 1.12alpha แล้ว --Manop | พูดคุย 10:21, 12 กันยายน 2007 (ICT)

หน้าอัปโหลดแบบใหม่

ดูเพิ่มที่หน้า วิกิพีเดีย:อัปโหลด

คิดว่าวิธีนี้น่าจะแก้ปัญหาหลายอย่างได้ โดยมีช่องให้เติมเอาเองว่าภาพที่โหลดลิขสิทธิ์แบบใด แหล่งที่มาแบบใด

ลองดูที่ ตัวอย่างการอัปโหลดแบบใหม่

สังเกตตรงส่วนกล่องคำอธิบาย ซึ่งจะมีคำขึ้นมาอัตโนมัติ ให้ผู้ใช้พิมพ์ จะได้ไม่มีปัญหาภายหลังครับ ว่าไม่ได้ใส่เพราะไม่รู้ --Manop | พูดคุย 04:23, 19 กันยายน 2007 (ICT)

จากไอเดียด้านบนเลยนำมาสร้างเป็นหน้า วิกิพีเดีย:อัปโหลด ครับ ฝากรบกวนตรวจสอบกันด้วยครับ ถ้าไม่มีปัญหาอะไร กะว่าจะนำมาใช้แทนหน้าอัปโหลดปัจจุบันไปเลย --Manop | พูดคุย 10:45, 21 กันยายน 2007 (ICT)
ผมว่าก็ดีครับ ให้เลือกก่อนที่จะอับโหลด เห็นภาพชัดเจนขึ้น แต่ขอฝาก {{ภาพจากมิวสิกวิดีโอ}} เพิ่มในช่องที่เลือกด้วยครับ --Sry85 11:13, 21 กันยายน 2007 (ICT)
ใส่เรียบร้อยแล้วครับ --Manop | พูดคุย 11:26, 21 กันยายน 2007 (ICT)
ดีครับ --ScorpianPK คุยแค่ "คลิก" 11:29, 21 กันยายน 2007 (ICT)
ดีแล้วครับ ใช้รูปแบบเหมือนที่คอมมอนส์ จะได้คุ้นชิน ไปอัปโหลดที่คอมมอนส์กันเยอะ ๆ - ('-') ('-') ('-') - 12:48, 21 กันยายน 2007 (ICT)
ได้ลองดูเรื่องหน้าอัปโหลดแบบใหม่แล้วครับ มีความเห็นว่าการเพิ่มคำอธิบายให้ละเอียดขึ้น จะเป็นประโยชน์กับผู้ใช้ครับ ไม่ว่าจะเป็นผู้ใช้ใหม่หรือผู้ใช้เก่า ทั้งยังทำให้การจัดเก็บรูปเพื่อใช้ภายหลังทำได้ง่ายขึ้นด้วย ในส่วนของหน้าอัปโหลดผลงานสร้างสรรค์เอง ตรงช่องว่าวันที่ ดูจะเป็นคำที่คลุมเครือไปหน่อย น่าจะใช้คำที่ชัดเจนกว่านี้ว่า วันที่สร้างสรรค์ผลงาน หรือวันที่อะไร ผู้ใช้อาจจะเข้าใจว่าเป็นวันที่อัปโหลดก็ได้
ในเรื่องการระบุเจ้าของลิขสิทธิ์นั้น สำหรับผู้ใช้ผมคิดว่า การจะทราบถึงเจ้าของลิขสิทธิ์ที่แท้จริงนั้นค่อนข้างยากนะครับ เพราะรูปส่วนใหญ่ที่หามา จะหามาจากเสิร์ทเอนจินทั้งนั้น ตัวอย่างเช่น
  1. ภาพตัวละครเนกิมะ ถ้าเป็นภาพที่สแกนมาจากหนังสือการ์ตูน จะเป็นลิขสิทธิ์สำนักพิมพ์ของวิบูญย์กิจ ซึ่งได้ลิขสิทธิ์การเผยแพร่ในประเทศไทย
  2. ถ้าเป็นภาพที่เอามาจากเว็ปไซด์อย่างเป็นทางการของเนกิมะ ลิขสิทธิ์จะตกเป็นของเคน อาคามัตซึ
  3. ในกรณีตัวละครนั้นเป็นตัวละครในเรื่องเนกิมะ ที่วาดโดยนักวาดนิรนามแล้วละก็ ยิ่งยากจะระบุเจ้าของลิขสิทธิ์ที่แท้จริง เพราะตัวละครที่ออกแบบมาย่อมเป็นลิขสิทธิ์ของ ผู้ออกแบบที่แท้จริงคนแรก แต่ในทางปฎิบัติกลับมีการยอมรับ ผลงานที่วาดโดยนักวาดนิรนามในตัวละครเรื่องต่าง ๆ ว่าให้เป็นลิขสิทธิ์ของคนนั้น ๆ ไป
รูปที่ใช้ ในความเห็นของผมจำเป็นต้องระบุสัญญาอนุญาติให้ถูกต้อง เพราะถ้าระบุได้ถูกต้องก็จะทราบเจตนาที่แท้จริงของผู้อัปโหลดทันที และต้องระบุที่มาของรูปให้ถูกต้อง แม้ว่าภายหลังจะมีการทักท้วงจากเจ้าของลิขสิทธิ์ที่แท้จริง ก็สามารถตรวจสอบย้อนหลังและแก้ไขได้ไม่ยาก
ส่วนเรื่องการระบุลิขสิทธิ์ที่แท้จริง ผู้ใช้อาจสับสนและเข้าใจผิดได้ จึงเห็นว่าการที่ผู้ใช้สามารถระบุสัญญาอนุญาติได้ถูกต้อง ก็น่าจะเพียงพอแก่การตรวจสอบแล้ว ซึ่งถ้าระบุเจ้าของลิขสิทธิ์ได้ยิ่งเป็นการดี
การตรวจสอบรูป ว่ามีปัญหาหรือไม่จะทำได้โดย
  1. ดูว่าสัญญาอนุญาติถูกต้องหรือไม่ ถ้าผิดแสดงว่าผู้อัปโหลดสับสน หรือไม่ได้ใส่ใจในเรื่องเคารพลิขสิทธิ์ที่แท้จริง จะทำให้เป็นภาพที่มีปัญหา
  2. ดูว่าระบุแหล่งที่มาถูกต้องหรือไม่ ถ้าระบุไม่ถูกต้อง ก็ไม่สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้ ย่อมเป็นภาพที่มีปัญหา
เรื่องคำอธิบายภาพและเหตุผลการใช้ภาพ ในความเห็นของผมคิดว่า น่าจะยุบรวมกันเป็นหัวข้อเดียวว่าเป็นคำอธิบายภาพ ก็น่าจะเพียงพอแล้ว เพราะว่าการระบุคำอธิบายภาพ
  1. จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดหมวดหมู่ของรูป
  2. เป็นการขยายความชื่อภาพให้ชัดเจน เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น ว่าภาพนั้นสื่อถึงอะไร
  3. จะทำให้ผู้อื่นสามารถใช้ในภายหลังได้ง่ายขึ้น ส่วนจุดประสงค์การใช้ภาพจะแตกต่างกันไปแล้วแต่ผู้นำไปใช้ ซึ่งคิดว่าผู้ทำการอัปโหลดอาจละตรงนี้ไปได้ เพราะในการนำรูปไปใช้ จะมีการให้เขียนอธิบายใต้รูปอีกครั้งในบทความ เราสามารถตรวจสอบเหตุผลผู้ที่นำรูปไปใช้ผ่านทางบทความได้
--Mafuyu 16:49, 21 กันยายน 2007 (ICT)
ดีเลยค่ะแบบนี้ คงช่วยลดปัญหาการอัปโหลดภาพโดยไม่ใส่สัญญาอนุญาตไปได้มาก แต่อ่านของที่คุณ Mafuyu เขียนแล้ว (ผลงานที่วาดโดยนักวาดนิรนาม) ทำให้นึกขึ้นมาได้ เกี่ยวกับเรื่องลิขสิทธิ์ภาพแฟนอาร์ต ไม่ทราบว่าในวิกิภาษาอื่นเขามีระบุไว้รึเปล่า แต่เราคิดว่าภาพแฟนอาร์ตไม่สามารถนำมาใช้ในวิกิพีเดียได้ แม้จะใส่สัญญาอนุญาตว่าลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของภาพก็ตาม ..ยังไงดีล่ะ อธิบายไม่ค่อยเป็น มันคงจะเหมือน ๆ กับภาพที่มีโลโก้ ลายน้ำ หรืออะไรก็ตามที่แสดงความเป็นเจ้าของบนภาพ คือ ถึงแม้ว่าภาพนั้น ๆ จะปรากฏอยู่บนอินเทอร์เน็ตที่สุดแสนจะเสรี แต่ผู้เป็นเจ้าของภาพไม่ได้อนุญาตให้นำภาพเหล่านั้นไปเผยแพร่ที่อื่นนอกจากในเว็บของตน ถ้ายังไงลองดูเพิ่มเติมที่ Online Fanart Protection ฉบับภาษาไทย (ที่จริง OFP ถูกจัดตั้งขึ้นมาเพื่อต่อต้านพวกชอบขโมยหรือแอบอ้างแฟนอาร์ต ไม่เกี่ยวกับการใช้ภาพในวิกิฯ หรอก แค่ให้ลองอ่านดูเป็นแนวทางเฉย ๆ น่ะค่ะ)
ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องนี้ คนไทยหลายคนยังขาดความเข้าใจอยู่มาก เราเคยเห็นรูปการ์ตูนที่เหมือนจะเป็นภาพแฟนอาร์ต ปรากฏอยู่ในวิกิไทยเหมือนกัน (แต่ยังไม่แน่ใจว่าใช่หรือไม่ ก็เลยยังไม่ได้ทักท้วง) ดังนั้นไม่ทราบว่าจะเพิ่มกฎและคำอธิบายเกี่ยวกับการห้ามใช้ภาพแฟนอาร์ตลงไปด้วยได้มั้ยคะ? --Piggy 20:17, 21 กันยายน 2007 (ICT)
ขอบคุณ คุณ Manop มากครับที่ช่วยอัปเดตเป็นรูปแบบใหม่ ผมเองจะเข้ามาทำ แต่ไม่ได้สละเวลามาอัปเดตซะที เยี่ยมมากครับ ผมจะทำการอัปเดตบอตให้รองรับรูปแบบใหม่เร็ว ๆ นี้ --Jutiphan | พูดคุย - 21:20, 21 กันยายน 2007 (ICT)
สวยงามเข้าใจง่าย... เห็นด้วยขอรับ-- ผู้ใช้ Tmd | พูดคุย 00:45, 22 กันยายน 2007 (ICT)
ขอบคุณสำหรับทุกท่านที่ชอบตรวจสอบและแสดงความเห็นครับ โดยส่วนที่หน้าปรับปรุงเพิ่ม ตามที่คุณ Mafuyu เสนอมาในส่วน "วันที่" ที่ควรจะมีคำอธิบายเพิ่มเติมว่าเป็น วันที่สร้างสรรค์ผลงาน ตอนนี้ผมได้ปรับแก้เรียบร้อยแล้วครับ (ลองดูได้)
  1. ส่วนเรื่องลิขสิทธิ์ของการ์ตูนอันนี้ผมไม่แน่ใจเท่าไรว่า อย่างถ้าภาพสแกนจากหนังสือไทย เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์ไทยหรือเปล่า หรือว่ายังคงเป็นลิขสิทธิ์ของต้นฉบับสำนักพิมพ์ญี่ปุ่นอยู่ หรืออาจจะเป็นลิขสิทธิ์ของผู้วาดเลยมากกว่า ซึ่งสำนักพิมพ์ไม่ใช่เจ้าของลิขสิทธิ์แต่เป็นเพลงผู้รับลิขสิทธิ์มาจำหน่ายผลงาน อาจต้องรอความเห็นคนอื่น
  2. ส่วนเรื่องแฟนอาร์ตจากที่คุณ Mafuyu และ คุณ Piggy เสนอมาทั้งคู่ ไม่มีความรู้เช่นกันครับ
  3. เรื่อง คำอธิบายภาพ และ เหตุผลในการใช้ภาพ อันนี้อยากให้แยกจากกัน เพราะว่าคำอธิบายภาพ เป็นการอธิบายว่าภาพที่อัปโหลดเป็นภาพอะไร ส่วนเหตุผลในการใช้ภาพ นั้นจะใช้อธิบายถึงว่าทำไมเราต้องอัปโหลดภาพที่มีลิขสิทธิ์เข้ามา ทำไมต้องละเมิดลิขสิทธิ์มาใช้ในการใช้งานแบบชอบธรรมครับ แต่ท่าทางส่วนนี้ยังสับสนอยู่อาจต้องมีการอธิบายเพิ่มเติม --Manop | พูดคุย 01:56, 22 กันยายน 2007 (ICT)

ควรต้องมีทางเลือกสำหรับภาพเสรีที่นำมาจากแหล่งอื่นไหมครับ หรือกลัวว่าจะทำให้มือใหม่เกิดการมั่วขึ้นมา โดยถือว่าคนที่รู้เรื่องสัญญาอนุญาตเสรีน่าจะมีความสามารถพอที่จะใช้หน้า พิเศษ:Upload เองได้ --KINKKUANANAS 20:44, 22 กันยายน 2007 (ICT)

เรื่องลิขสิทธิ์การ์ตูน เราเห็นว่าน่าจะต้องเป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์ต่างประเทศที่เป็นผู้ตีพิมพ์ต้นฉบับ แล้วค่อยระบุเพิ่มลงไปว่าลิขสิทธิ์ในไทยโดย...อะไรแบบนี้ ส่วนเรื่องแฟนอาร์ต เดี๋ยวจะลองปรึกษาเพื่อน ๆ ที่เป็นนักวาดดูอีกทีค่ะ แล้วต่อจากนี้ไป ภาพเก่า ๆ ที่อัปโหลดไปก่อนหน้านี้ ซึ่งมีการระบุแหล่งที่มา แต่ยังไม่มีคำอธิบายและเหตุผลในการใช้ภาพ (รวมทั้งการระบุแหล่งที่มาที่ไม่ถูกต้อง คือ ให้แต่ลิงก์เว็บ ไม่ได้ให้ลิงก์ของภาพไว้) จะโดนลบด้วยไหมคะ? ถ้ายังไงจะได้รีบแก้ไข --Piggy 00:20, 23 กันยายน 2007 (ICT)
ไม่ถูกลบครับ คาดว่าคงยังไม่มีโครงการที่จะทำการตรวจสอบดังกล่าว ซึ่งขณะนี้ สัญญาอนุญาต และแหล่งที่มา ถือว่าเป็น 2 อย่างในการระบุ ตรวจสอบ ลิขสิทธิ์ของภาพครับผม เพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ ส่วนคำอธิบายอื่น ๆ นั้น เป็นองค์ประกอบ และคงไม่เป็นไรครับผม ณ. ขณะนี้ --Jutiphan | พูดคุย - 00:42, 24 กันยายน 2007 (ICT)

เนมสเปซ

เรื่อง Tab ชื่อ "บทความ" กับ "โครงการ"

ผมคิดว่า Tab บาง Tab ควรจะมีชื่อพิเศษนะครับ เช่น หน้าหลัก ตรง Tab ก็ควรบอกไปเลยว่า หน้าหลัก ไม่ใช่เนื้อหาใน Tab บอกว่าเป็น บทความ

  • วิกิพีเดียบางบทความเป็น นโยบาย ไม่ใช่ โครงการ คิดว่าน่าเปลี่ยนโครงการทุกอันต้องกลายเป็น วิกิพีเดีย:โครงการ:___ แล้ว Tab จะเป็นโครงการ ไม่เช่นนั้นนโยบาย คู่มือ ก็ต้องรวมอยู่ด้วย
  • แต่ถ้าเกิดเป็นคู่มือผมคิดว่าน่าจะให้ใส่ วิกิพีเดีย:คู่มือ:____ เป็นต้น เพื่อที่ชื่อใน Tab จะได้เป็นคู่มือ

มันจะได้ทำให้ไม่เกิดความสับสนในการเปิดดูหลาย ๆ หน้านะครับ เช่น วิกิพีเดีย:เริ่มต้น ก็เป็นโครงการ วิกิพีเดีย:สามสามัญ ก็กลายเป็นโครงการแทนที่จะเป็น นโยบาย เป็นต้น เรียนผู้ดูแลระบบทุกคนพิจารณา --Passawuth พูดคุย 21:10, 22 กันยายน 2007 (ICT)

"วิกิพีเดีย:" เป็นเนมสเปซอันเดียวครับไม่มีการแบ่งย่อย ซึ่งอยู่ในตัวแปร {{ns:4}} ในวิกิอังกฤษหรือแม้แต่ที่อื่นก็เป็นแบบนี้ทั้งหมด เป็นเนมสเปซที่ใช้แสดงข้อมูลเกี่ยวกับวิกิพีเดียและโครงการพี่น้องโดยเฉพาะ รวมถึงการใช้งาน แท็บที่ปรากฏก็จะเหมือนกันทั้งหมดที่ใช้เนมสเปซเดียวกัน โปรดทราบว่าสิ่งที่อยู่หน้าโคลอนมันคือเนมสเปซ ไม่ใช่ชื่อบทความ ดูความหมายของเนมสเปซได้ที่นี่ครับ http://en.wikipedia.org/wiki/Wikipedia:Namespace --Octahedron80 21:17, 22 กันยายน 2007 (ICT)

คืออยากให้เป็นแบบนี้ครับ http://en.wikipedia.org/wiki/Help:Table ไม่ทราบว่าจะทำในลักษณะใกล้เคียงกันได้รึเปล่า แต่หน้าหลัก ทำได้แน่นอนครับ --Passawuth พูดคุย 21:29, 22 กันยายน 2007 (ICT)

อันนั้นก็เป็นเรื่องของเนมสเปซ "วิธีใช้:" นะครับ ตอนนี้มีเนมสเปซนี้แล้วแต่ยังไม่มีการใช้งานเลย น่าจะย้ายพวกวิธีใช้ไปอยู่ในนั้นนะ (วิธีใช้ ไม่เหมือน วิธีเขียน) แต่คงต้องดูที่ภาษาอื่นด้วยเพราะเดี๋ยวเนมสเปซไม่ตรงกัน --Octahedron80 21:33, 22 กันยายน 2007 (ICT) The Help namespace contains Help pages previously in the Wikipedia namespace, and at Meta. Several of these pages, in particular the ones copied from Meta, document the basic, technical features of Wikipedia.

หน้าหลักสามารถมีเนมสเปซเป็น หน้าหลัก ได้เลยนะครับ ไม่ต้องมีบทความ ในวิกิอังกฤษ ไม่ทราบว่าทำไมของเราทำไม่ได้ --Passawuth พูดคุย 21:59, 22 กันยายน 2007 (ICT)

หน้าหลักมีเนมสเปซเป็น "Main:" เหมือนบทความทั่วไป (ไม่ได้มีของมันเองแยกออกมา) บทความทั่วไปจะไม่โชว์เนมสเปซ แต่ขอให้รู้ว่ามันเป็นมีเนมสเปซเป็น "Main:" เหมือนกันนะครับ ส่วนเรื่องชื่อแท็บคงมีการตั้งค่าเฉพาะสำหรับหน้าหลัก ส่วนนี้ผมไม่ทราบว่าใครจะสามารถหาเจอและแก้ได้ --Octahedron80 22:06, 22 กันยายน 2007 (ICT) The main namespace or article namespace is the encyclopedia proper (see Special:Allpages). It is the default namespace and does not use a prefix.

สรุปเนมสเปซที่วิกิพีเดียไทยไม่มี

กรุณาดูที่ en:Wikipedia:Namespace ประกอบคำอธิบายจากด้านบน

  1. ในหน้าหลัก วิกิอังกฤษจะมีคำว่า Main Page แทนคำว่า Article แต่ของไทยจะเป็นบทความ ไม่ใช่ คำว่าหน้าหลัก
  2. ในสถานีย่อย วิกิอังกฤษจะมีในเนมสเปซว่า Portal ไ่ม่ใช่ Article ของวิกิพีเีดียไทยจะเป็น บทความ แทน สถานีย่อย
  3. ในหน้า Help ของวิกิอังกฤษ เนมสเปซจะมี Help ของไทย ไม่ทราบว่ามีหน้าคู่มือแบบนี้รึเปล่าครับ

เชิญผู้ดูแลระบบแก้ไขเนมสเปซดังกล่าว แล้วแต่จะพิจารณา --Passawuth พูดคุย 23:42, 22 กันยายน 2007 (ICT)

  • หน้าหลัก จริง ๆ แล้วควรอยู่ในเนมสเปซ "โครงการ" นะครับ เพราะหน้าหลักถ้ามองในภาพรวมจะเป็นโครงการหนึ่ง
  • สถานีย่อย ถ้าจำไม่ผิดยังไม่มี เพราะยังตกลงกันไม่ได้ว่าใช้ชื่ออะไร ลองหาข้อมูลในหน้าเก่าที่ผ่านมาครับเคยมีพูดกันครั้งหรือสองครั้ง
  • หน้า help เนมสเปซไทยใช้ชื่อ "วิธีใช้" (แท็บแสดงผล "ช่วยเหลือ") ในปัจจุบัน ลองดูที่ help:ตัวอย่าง ซึ่งตอนนี้วิกิพีเดียไทยยังไม่มีการใช้เนมสเปซนี้ครับ ส่วนเรื่องการสร้างตารางของวิกิพีเดียไทยอยู่ที่ วิกิพีเดีย:การสร้างตาราง --Manop | พูดคุย 00:27, 23 กันยายน 2007 (ICT)
  • งั้นควรจะเปลี่ยนหน้าช่วยเหลือทุกอัน เป็น Help:XXX ตามวิกิอังกฤษไหมครับ --Passawuth พูดคุย 20:57, 23 กันยายน 2007 (ICT)
ในหน้าสภากาแฟ (โครงการ) คุณ Octahedron ก็เสนอเหมือนกันครับ ให้ย้ายเป็น วิธีใช้: ให้หมด จะได้แยกจากกันต่างหาก --Manop | พูดคุย 07:07, 5 ตุลาคม 2007 (ICT)

แท็บเนมสเปซของ 'หน้าหลัก'

ลองพยายามเปลี่ยนชื่อแท็บเนมสเปซจาก 'บทความ' เป็น 'หน้าหลัก' แต่ผมลองแล้วไม่เวิร์ก ใครว่างก็ทดลองดูนะครับ ผมขอไปนั่งคิดใหม่ก่อนว่าพลาดตรงไหน มีต้นฉบับให้ศึกษาสองที่ คือ ของวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ กับภาษาจีน ค้นหาคำว่า ca-nstab-main --PaePae 21:39, 5 ตุลาคม 2007 (ICT)

แก้ไขเรียบร้อยแล้ว ตอนนี้จะแสดงเนมสเปซเป็น 'หน้าหลัก' แล้วนะครับ :-) --PaePae 14:32, 6 ตุลาคม 2007 (ICT)
ยังไม่เรียบร้อยแฮะ ดูเหมือนว่า ถ้าไม่ล็อกอินก็จะยังเป็น 'บทความ' อยู่ -_-?? โอเค แค่แคชค้างอยู่ในเครื่องเฉย ๆ --PaePae 14:34, 6 ตุลาคม 2007 (ICT)

เนมสเปซสำหรับ portal

เนมสเปซของ portal สามารถร้องขอให้ทีมงานวิกิมีเดียสร้างให้ได้ที่ http://bugzilla.wikimedia.org/ นะครับ อันนี้ต้องสรุปชื่อที่แน่นอนไปก่อนนะ เปลี่ยนทีหลังจะลำบาก --PaePae | พูดคุย 18:05, 6 ตุลาคม 2007 (ICT)

ตอนนี้เปลี่ยนหมดแล้วเป็น "สถานีย่อย:" --ออกตาปอญปาด แตะจาม ซุญญา 15:33, 5 พฤศจิกายน 2007 (ICT)

พูดคุย

ทำไงให้มีพูดคุยอยู่หลังลายเซ็นอ่ะครับ--Iamion 20:03, 5 ตุลาคม 2007 (ICT)

ขอบคุณคุณSerinน่ะครับ คราวนี้ผมจะเอามาเผยแพร่ วิธีก็คือแก้ตรงการตั้งค่าของฉัน ตรงช่อง ลายเซ็นเป็น
[[User ''''|'''']] | [[คุยกับผู้ใช้:''''|พูดคุย]]

หรือโค้ดใด ๆ ก็ได้ ตามวิกิพีเดียแล้วติ๊กที่ เฉพาะลายเซ็นเท่านั้น คราวนี้ลายเซ็นก็จะเป็นเช่นนี้แล้วครับ----Iamion | พูดคุย - 22:28, 5 ตุลาคม 2007 (ICT)

ลิงก์ อัปโหลด มีสองอัน

ตอนนี้มีลิงก์ไปอัปโหลดสองอันครับ ไปหน้า วิกิพีเดีย:อัปโหลด และอัปโหลดโดยตรง กะว่าอยากจะให้เหลืออันเดียวคือผ่านหน้า วิกิพีเดีย:อัปโหลด ก่อน แต่เขียนสคริปต์แก้ไม่เป็น พอมีใครทำได้บ้างไหมครับ ตรงจุดนี้ --Manop | พูดคุย 22:05, 10 ตุลาคม 2007 (ICT)

คิดว่าตรงกล่องเครื่องมือ เปลี่ยนลิงก์เป็น วิกิพีเดีย:อัปโหลด อย่างเดียวดีกว่าครับ แล้วตรงหน้า Spacial:Upload ก็ตัดออกไป เหมือนวิกิอังกฤษนะครับ ตรงลิงก์ใน ป้ายบอกทาง ก็เอาออกไปเลย --You Know Whoพูดคุย 19:59, 13 ตุลาคม 2007 (ICT)

ผมใช้ตรงส่วนเครื่องมือ อยู่ครับ สะดวกกว่าในความเห็นของผม ส่วนที่แนะนำให้มือใหม่ที่ไม่คุ้นเคยไป เก็บไว้เป็นทางเลือกน่าจะดีนะครับ --Mafuyu 20:04, 13 ตุลาคม 2007 (ICT)
ความจริงเขียนสคริปต์ก็ทำได้ครับ แต่คิดว่าแจ้งเป็นบั๊กให้ทางเขาแก้น่าจะดีที่สุดครับผม --Jutiphan | พูดคุย - 23:02, 5 พฤศจิกายน 2007 (ICT)

กล่องแท็บ

ทำไมที่วิกิคาตาลัน ถึงเป็นแบบแท็บ ๆ แล้วเวลากดไปอีกแท็บนึงไม่เปลี่ยนหน้าครับ ต้องใช้โค้ดยังไงครับ พอจะทราบบ้างไหมครับ (ดูใน IE) --You Know Whoพูดคุย 18:32, 13 ตุลาคม 2007 (ICT)

เค้าใช้ javascript เพื่อจัดการกับรูปแบบ style และการซ่อน/แสดงเนื้อหา บางทีอาจจะมี ajax ร่วมด้วย ไม่มี ajax ตรงส่วนนี้ ดูโค้ดแล้ว --Octahedron80 18:56, 13 ตุลาคม 2007 (ICT)

ajax คืออะไรหรือครับ และทำไมผมเอาโค้ดเหมือนกันมาลองลงก่อนหน้านี้แล้ว แต่ไม่สามารถแสดงผลได้ (ในวิกิไทย) --You Know Whoพูดคุย 19:06, 13 ตุลาคม 2007 (ICT)

มันต้องมีส่วนของ javascript เอาไว้ควบคุมการเปิดปิดด้วยครับ ในแม่แบบของเขามีการใส่ id ประจำแท็บเพื่อใช้กับ javascript แต่เราไม่มี javascript ส่วนนี้อย่างเขา ไปก๊อปปี้มา มันก็มาแค่ html ไม่ได้เอาโค้ดในส่วนของการทำงานมาด้วย (สรุปคือจะก๊อปปี้มาแต่แม่แบบนั้นไม่ได้) ลองดูที่แม่แบบกล่องแท็บ ca:Plantilla:Metacaixa เรื่อง ajax ยังไม่ต้องไปสนใจดีกว่า --Octahedron80 19:09, 13 ตุลาคม 2007 (ICT)

งั้นเราไปลอกจาวาสคริปต์มาด้วยได้ไหมครับ (อ่านไม่ออก) --You Know Whoพูดคุย 19:19, 13 ตุลาคม 2007 (ICT)

ผมคิดว่าจาวาสคริปต์ตัวนี้มันอยู่ในตัวโครงการนะครับคือ ca:MediaWiki:Common.js และ ca:MediaWiki:Common.css มีการคอมเมนต์ไว้ตรง begin metabox ถึง finish metabox ซึ่งแก้ไม่ได้โดยผู้ใช้สมัครเล่น แก้ได้เฉพาะผู้ดูแล แก้ผิดเดี๋ยวเว็บเจ๊งอีก ก๊อปปี้มาแล้วไม่รู้จะใช้ได้รึเปล่า? --Octahedron80 19:37, 13 ตุลาคม 2007 (ICT)