กลุ่มภาษากะตู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ภาษากลุ่มกะตู)
กลุ่มภาษากะตู
กลุ่มเชื้อชาติ:กลุ่มชนกะตู
ภูมิภาค:อินโดจีน
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
ออสโตรเอเชียติก
  • กลุ่มภาษากะตู
ภาษาดั้งเดิม:ภาษากลุ่มกะตูดั้งเดิม
กลุ่มย่อย:
  • กะตู
  • กูย–บรู (ตะวันตก)
  • ปะโกะห์
  • ตะโอย–เกรียง
กลอตโตลอก:katu1271[1]
{{{mapalt}}}
  กลุ่มภาษากะตู

กลุ่มภาษากะตู (Katuic languages) อยู่ในกลุ่มภาษามอญ-เขมร ตระกูลออสโตรเอเชียติก

การจัดอันดับ[แก้]

Sidwell (2005)[แก้]

การจัดอันดับย่อยของกลุ่มภาษากะตูเสนอโดย Sidwell (2005) นอกจากนี้ Sidwell (2009) ยังวิเคราะห์สายกะตูเป็นกลุ่มภาษาย่อยกะตูที่คงเดิมมากที่สุด

Gehrmann (2019)[แก้]

Gehrmann (2019)[2] เสนอการจัดกลุ่มภาษานี้ไว้ดังนี้:

กะตูดั้งเดิม

เอทโนล็อกก็จัดภาษา Kassang (ภาษา Tariang) เข้าในนี้ด้วย แต่อยู่ในภาษาบะห์นาริก (Sidwell 2003). Lê, et al. (2014:294)[3] รายงานถึงกลุ่มย่อยกะตูที่มีชื่อว่า Ba-hi อยู่ในพื้นที่ภูเขาของอำเภอ Phong Điền จังหวัดเถื่อเทียนเว้ ประเทศเวียดนาม แต่ Watson (1996:197)[4] จัดให้ผู้พูด "Pacoh Pahi" ในวิธภาษาปาโกะห์

อ้างอิง[แก้]

  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Katuic". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.
  2. Gehrmann, Ryan. 2019. On the Origin of Rime Laryngealization in Ta’oiq: A Case Study in Vowel Height Conditioned Phonation Contrasts. Paper presented at the 8th International Conference on Austroasiatic Linguistics (ICAAL 8), Chiang Mai, Thailand, August 29–31, 2019.
  3. Lê Bá Thảo, Hoàng Ma, et al.; Viện hàn lâm khoa học xã hội Việt Nam - Viện dân tộc học. 2014. Các dân tộc ít người ở Việt Nam: các tỉnh phía nam. Ha Noi: Nhà xuất bản khoa học xã hội. ISBN 978-604-90-2436-8
  4. Watson, Richard L. 1996. Why three phonologies for Pacoh? Mon-Khmer Studies 26: 197-205
  • ธีระพันธ์ ล.ทองคำ. ภาษาของนานาชนเผ่าในแขวงเซกอง ลาวใต้: ความรู้พื้นฐานเพื่อการวิจัยและและพัฒนา. กทม. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2544.