ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประธานรัฐสภาไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Famefill (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Famefill (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง
{{กล่องข้อมูล ตำแหน่งทางการเมือง
| post = ประธานรัฐสภา <br> ราชอาณาจักรไทย
| post = ประธานรัฐสภา <br> ราชอาณาจักรไทย
บรรทัด 11: บรรทัด 10:
| image = ไฟล์:Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg|50px
| image = ไฟล์:Chuan Leekpai 2010-04-01.jpg|50px
| incumbent = [[ชวน หลีกภัย]]
| incumbent = [[ชวน หลีกภัย]]
| incumbentsince = 28 พฤษภาคม 2562 <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/140/T_0001.PDF พระบรมราชโองการ แต่งตั้ง ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร] </ref>
| incumbentsince = 28 พฤษภาคม 2562<ref name=ประธาน>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/140/T_0001.PDF ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร], ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2562</ref>
| style = ท่านประธานที่เคารพ
| style = ท่านประธานที่เคารพ
| residence =
| residence =
บรรทัด 23: บรรทัด 22:
}}
}}


'''ประธานรัฐสภาไทย''' เป็นตำแหน่งผู้นำสูงสุดของฝ่าย[[นิติบัญญัติ]]ของไทย มีอำนาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอื่นที่ได้กำหนดไว้ เป็นผู้ดำเนินกิจการของรัฐสภาในกรณีประชุมร่วมกันให้เป็นไปตามข้อบังคับการประชุมรัฐสภา และยังเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายรัฐสภา<ref>[http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2 ประธานรัฐสภา], สถาบันพระปกเกล้า, สีบค้นวันที่ 22 มิถุนายน 2562</ref>
'''ประธาน[[รัฐสภาไทย]]''' เป็นตำแหน่งประมุขของอำนาจฝ่าย[[นิติบัญญัติ]] ของไทย ซึ่งในแต่ละช่วงเวลา จะประกอบด้วยสภาเดียวหรือสองสภา แล้วแต่บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญในขณะนั้น ซึ่งในสมัยก่อน ประธานรัฐสภาอาจมาจากประธานสภาผู้แทนราษฎรหรือประธานวุฒิสภา


ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] รัฐสภาไทยประกอบด้วย [[สภาผู้แทนราษฎร]] และ[[วุฒิสภา]] โดยมีโดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภาโดยตำแหน่ง นอกจากนี้ประธานรัฐสภายังดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก..) ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายรัฐสภา
ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560]] กำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วย[[วุฒิสภา]]และ[[สภาผู้แทนราษฎร]] โดยมีโดยมี[[ประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย|ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]เป็นประธานรัฐสภา และ[[ประธานวุฒิสภาไทย|ประธานวุฒิสภา]]เป็นรองประธานรัฐสภาโดยตำแหน่ง<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560], ราชกิจจานุเบกษา, 6 เมษายน 2560, สืบค้นวันที่ 22 มิถุนายน 2562</ref> ทั้งนี้ผู้ดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภาคนปัจจุบันคือ[[ชวน หลีกภัย]] โดยที่สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นชอบเมื่อ 25 พฤษภาคม พ.. 2562<ref>[https://www.thairath.co.th/news/politic/1576243#cxrecs_s ประธานสภาฯ], ไทยรัฐ, 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562, สืบค้นวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2562</ref> และมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งเมื่อ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562<ref name=ประธาน />


== อำนาจหน้าที่ของประธานรัฐสภาไทย ==
== อำนาจหน้าที่ของประธานรัฐสภาไทย ==
บรรทัด 43: บรรทัด 42:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{สถานีย่อย2|ประเทศไทย}}
* [http://www.parliament.go.th/ Parliament of Thailand]
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{สถานีย่อย2|ประเทศไทย}}



{{ประธานรัฐสภา}}
{{ประธานรัฐสภา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:13, 22 มิถุนายน 2562

ประธานรัฐสภา
ราชอาณาจักรไทย
ตรารัฐสภา
ธงประธานรัฐสภา
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
ชวน หลีกภัย

ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2562[1]
การเรียกขานท่านประธานที่เคารพ
ผู้เสนอชื่อสภาผู้แทนราษฎร
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระ4 ปี
ผู้ประเดิมตำแหน่งเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
สถาปนา28 มิถุนายน พ.ศ. 2475
เว็บไซต์ประธาน สส.

ประธานรัฐสภาไทย เป็นตำแหน่งผู้นำสูงสุดของฝ่ายนิติบัญญัติของไทย มีอำนาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายอื่นที่ได้กำหนดไว้ เป็นผู้ดำเนินกิจการของรัฐสภาในกรณีประชุมร่วมกันให้เป็นไปตามข้อบังคับการประชุมรัฐสภา และยังเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายรัฐสภา[2]

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้รัฐสภาไทยประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร โดยมีโดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภาโดยตำแหน่ง[3] ทั้งนี้ผู้ดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภาคนปัจจุบันคือชวน หลีกภัย โดยที่สภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นชอบเมื่อ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562[4] และมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งเมื่อ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562[1]

อำนาจหน้าที่ของประธานรัฐสภาไทย

ตามข้อบังคับการประชุมของรัฐสภา พ.ศ. 2553 ข้อที่ 5 ได้กำหนดให้ประธานรัฐสภามีอำนาจหน้าที่ดังนี้

  1. เป็นประธานของที่ประชุมรัฐสภา
  2. กำหนดการประชุมรัฐสภา
  3. ควบคุมและดำเนินกิจการของรัฐสภา
  4. รักษาความสงบเรียบร้อยในที่ประชุมรัฐสภาตลอดถึงบริเวณของรัฐสถา
  5. เป็นผู้แทนรัฐสภาในกิจการภายนอก
  6. แต่งตั้งกรรมการเพื่อดำเนินกิจการใด ๆ ตามข้อบังคับข้อที่ 5 (7)
  7. อำนาจและหน้าที่อื่นตามที่มีกฎหมายบัญญัติไว้ หรือตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับนี้

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร, ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
  2. ประธานรัฐสภา, สถาบันพระปกเกล้า, สีบค้นวันที่ 22 มิถุนายน 2562
  3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560, ราชกิจจานุเบกษา, 6 เมษายน 2560, สืบค้นวันที่ 22 มิถุนายน 2562
  4. ประธานสภาฯ, ไทยรัฐ, 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2562, สืบค้นวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2562