ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถไฟชุมพร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 64: บรรทัด 64:
สถานีชุมพร เคยเป็นชุมทาง ให้รถไฟทหารสายแยก ไป เขาฝาชี ความยาว 90 กิโลเมตร เมื่อ [[25 ธันวาคม]][[พ.ศ. 2486]] ตามความต้องการของกองทัพญี่ปุ่นที่ประจำการในประเทศไทย ต่อมา เมื่อ [[19 มีนาคม]][[พ.ศ. 2488]] กองทัพสัมพันธมิตร ได้ส่งฝูงบินทึ้งระเบิด บี 24 ถล่มย่านสถานีชุมพร และทางรถไฟไปเขาฝาชี เสียหายยับเยิน จนต้องถอนรางรถไฟทหารสายแยก ไป เขาฝาชี ออกไปบางส่วนเพื่อซ่อมแซมย่านสถานีชุมพร พอสิ้นสงครามมหาเอเซียบูรพา ทหารญี่ปุ่น ขอถอนราง ทางแยกสายเขาฝาชีหมดสิ้นเพื่อป้องกันไม่ให้กองทัพสัมพันธมิตรเข้ายึดฐานที่มั่นกองทัพญี่ปุ่น เมื่อ [[กันยายน]][[พ.ศ. 2488]] ผลของสงครามทำให้กรมรถไฟต้องสร้างสถานีชุมพรขึ้นมาใหม่ เมื่อปี [[พ.ศ. 2491]]
สถานีชุมพร เคยเป็นชุมทาง ให้รถไฟทหารสายแยก ไป เขาฝาชี ความยาว 90 กิโลเมตร เมื่อ [[25 ธันวาคม]][[พ.ศ. 2486]] ตามความต้องการของกองทัพญี่ปุ่นที่ประจำการในประเทศไทย ต่อมา เมื่อ [[19 มีนาคม]][[พ.ศ. 2488]] กองทัพสัมพันธมิตร ได้ส่งฝูงบินทึ้งระเบิด บี 24 ถล่มย่านสถานีชุมพร และทางรถไฟไปเขาฝาชี เสียหายยับเยิน จนต้องถอนรางรถไฟทหารสายแยก ไป เขาฝาชี ออกไปบางส่วนเพื่อซ่อมแซมย่านสถานีชุมพร พอสิ้นสงครามมหาเอเซียบูรพา ทหารญี่ปุ่น ขอถอนราง ทางแยกสายเขาฝาชีหมดสิ้นเพื่อป้องกันไม่ให้กองทัพสัมพันธมิตรเข้ายึดฐานที่มั่นกองทัพญี่ปุ่น เมื่อ [[กันยายน]][[พ.ศ. 2488]] ผลของสงครามทำให้กรมรถไฟต้องสร้างสถานีชุมพรขึ้นมาใหม่ เมื่อปี [[พ.ศ. 2491]]


==ตารางเวลาการเดินรถ==
===เที่ยวขึ้น===
{{เริ่มตารางเวลารถไฟ|ถึงชุมพร}}
{{ดพ41|05.49}}
{{ดพ39|05.49}}
{{ดพ43|14.36}}
{{ท445|ต้นทาง}}
{{ธ255|16.55}}
{{ร171|21.12}}
{{ดพ31|22.34}}
{{ดพ37|23.15}}{{ดพ45|23.15}}
{{ร169|00.42}}
{{ด83|01.16}}
{{ร173|02.48}}
{{ร167|03.18}}
{{ร177|03.29}}
{{ด85|04.13}}
{{จบตารางเวลารถไฟ}}

===เที่ยวล่อง===
{{เริ่มตารางเวลารถไฟ|ถึงชุมพร}}
{{ธ254|06.56}}
{{ดพ40|12.41}}
{{ท446|ปลายทาง}}
{{ร174|19.27}}
{{ร168|20.21}}
{{ด86|21.10}}
{{ร178|20.50}}
{{ดพ44|22.43}}
{{ดพ42|22.43}}
{{ร170|23.12}}
{{ด84|23.50}}
{{ร172|00.24}}
{{ดพ38|01.56}}{{ดพ46|01.56}}
{{ดพ32|02.23}}
{{จบตารางเวลารถไฟ}}

===ข้อมูลจำเพาะ===
*รหัส : 4186
*ชื่อภาษาไทย : ชุมพร
*ชื่อภาษาอังกฤษ : Chumphon
*ชื่อย่อภาษาไทย : ชพ.
*ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : CPN
*ชั้นสถานี : สถานีชั้น 1
*ระบบอาณัติสัญญาณ :ไฟสี 3 ท่า แบบมีหอสัญญานควบคุม
*พิกัดที่ตั้ง : 468+530
*ที่อยู่ : ถนนนวมินทร์รวมใจ ตำบลนาทุ่ง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร 86000
*ชานชาลาราง : 3ชานชาลารางตัวสถานี 3ชานชาลารางตัดรถสินค้า หลังหอสัญญานอีก 2ชานชาลาราง 10ชานชาลารางโรงรถจักร ด้านรับส่งสินค้าทางย่านอีก 2 ชานชาลาราง
==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* http://www.railway.co.th/ticket/south.asp
* http://www.railway.co.th/ticket/south.asp

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:02, 17 มิถุนายน 2562

ชุมพร
สถานีรถไฟทางไกล
สถานีรถไฟชุมพร
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งตำบลท่าตะเภา อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร
พิกัด10°30′11″N 99°10′33″E / 10.50297°N 99.17590°E / 10.50297; 99.17590
เจ้าของไทย การรถไฟแห่งประเทศไทย
สายสายใต้
ชานชาลา3 (ตัวสถานี)
7 (ย่านสินค้า)
10 (โรงรถจักร)
โครงสร้าง
ประเภทโครงสร้างระดับดิน
ข้อมูลอื่น
รหัสสถานี4186
ประวัติ
เริ่มเปิดให้บริการ1 มกราคม พ.ศ. 2459
สร้างใหม่พ.ศ. 2491

สถานีรถไฟชุมพร ตั้งอยู่ ถนนนวมินทร์รวมใจ ตำบลนาทุ่ง อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร เป็นสถานีรถไฟชั้น 1 ของทางรถไฟสายใต้ สถานีชุมพร เป็นจุดเติมน้ำมัน จุดแรก ของทางรถไฟสายใต้ หลังจากออกมาจากสถานีกรุงเทพ, สถานีธนบุรี และ ย่านรับส่งสินค้าพหลโยธิน และ รถไฟจากเส้นทางสายใต้ทุกขบวนที่จะเข้าสถานีกรุงเทพ สถานีธนบุรี และย่านรับส่งสินค้าพหลโยธิน ดังนั้นรถไฟต้องจอดทุกขบวน

ประวัติย่อ

สถานีชุมพร เป็นสถานี ที่ ทางรถไฟสายใต้จากบางกอกน้อย และ อู่ตะเภา มาบรรจบกัน โดยบรรจบกันเมื่อ 17 กันยายนพ.ศ. 2459 ต่อมาเมื่อ 1 มกราคมพ.ศ. 2459 (นับอย่างใหม่ต้องปี พ.ศ. 2460 เพราะ ขึ้นปี ค.ศ. 1917 แล้ว) จึงได้เดินรถตรงจาก บางกอกน้อย ไป อู่ตะเภา ซึ่งจะหยุดที่ ชุมพร และ ทุ่งสง เพื่อค้างแรม ในบ้านพักรถไฟ ใกล้สถานีชุมพร ในยุคที่ยังไม่มีการเดินรถในเวลากลางคืน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2465 จึงได้เดินรถในเวลากลางคืน เมื่อมีการสั่งรถนอนเข้ามาใช้งานในกรมรถไฟ

สถานีชุมพรเป็นจุดเติมน้ำและฟืนรถจักรไอน้ำ และ เป็นจุดตัดขบวนรถด่วนสายใต้ ที่จะไป ปาดังเบซาร์ด้วย

สถานีชุมพร เคยเป็นชุมทาง ให้รถไฟทหารสายแยก ไป เขาฝาชี ความยาว 90 กิโลเมตร เมื่อ 25 ธันวาคมพ.ศ. 2486 ตามความต้องการของกองทัพญี่ปุ่นที่ประจำการในประเทศไทย ต่อมา เมื่อ 19 มีนาคมพ.ศ. 2488 กองทัพสัมพันธมิตร ได้ส่งฝูงบินทึ้งระเบิด บี 24 ถล่มย่านสถานีชุมพร และทางรถไฟไปเขาฝาชี เสียหายยับเยิน จนต้องถอนรางรถไฟทหารสายแยก ไป เขาฝาชี ออกไปบางส่วนเพื่อซ่อมแซมย่านสถานีชุมพร พอสิ้นสงครามมหาเอเซียบูรพา ทหารญี่ปุ่น ขอถอนราง ทางแยกสายเขาฝาชีหมดสิ้นเพื่อป้องกันไม่ให้กองทัพสัมพันธมิตรเข้ายึดฐานที่มั่นกองทัพญี่ปุ่น เมื่อ กันยายนพ.ศ. 2488 ผลของสงครามทำให้กรมรถไฟต้องสร้างสถานีชุมพรขึ้นมาใหม่ เมื่อปี พ.ศ. 2491

แหล่งข้อมูลอื่น