ข้ามไปเนื้อหา

ท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัด

พิกัด: 25°16′23″N 51°36′29″E / 25.27306°N 51.60806°E / 25.27306; 51.60806
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัด

مطار حمد الدولي
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสาธารณะ
เจ้าของกาตาร์แอร์เวย์
ผู้ดำเนินงานสถาบันการบินพลเรือนกาตาร์
พื้นที่บริการกาตาร์
ที่ตั้งโดฮา ประเทศกาตาร์
เปิดใช้งาน30 เมษายน 2014 (10 ปีก่อน) (2014-04-30)
ฐานการบินกาตาร์แอร์เวย์
เหนือระดับน้ำทะเล13 ฟุต / 4 เมตร
พิกัด25°16′23″N 51°36′29″E / 25.27306°N 51.60806°E / 25.27306; 51.60806
เว็บไซต์dohahamadairport.com
แผนที่
DOH/OTHHตั้งอยู่ในโดฮา
DOH/OTHH
DOH/OTHH
DOH/OTHHตั้งอยู่ในกาตาร์
DOH/OTHH
DOH/OTHH
DOH/OTHH (กาตาร์)
DOH/OTHHตั้งอยู่ในตะวันออกกลาง
DOH/OTHH
DOH/OTHH
DOH/OTHH (ตะวันออกกลาง)
DOH/OTHHตั้งอยู่ในเอเชียตะวันตกและเอเชียกลาง
DOH/OTHH
DOH/OTHH
DOH/OTHH (เอเชียตะวันตกและเอเชียกลาง)
DOH/OTHHตั้งอยู่ในทวีปเอเชีย
DOH/OTHH
DOH/OTHH
DOH/OTHH (ทวีปเอเชีย)
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
ฟุต เมตร
16R/34L 13,944 4,250 ยางมะตอย
16L/34R 15,912 4,850 ยางมะตอย
สถิติ (2019)
การเคลื่อนตัวของผู้โดยสาร38,786,422 เพิ่มขึ้น12.4%
การเคลื่อนตัวของอากาศยาน232,917 เพิ่มขึ้น5.6%
ข้อมูล: ท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัด[2] SkyVector[3]

ท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัด (IATA: DOHICAO: OTHH) (อาหรับ: مطار حمد الدولي) เป็น ท่าอากาศยานนานาชาติ ตั้งอยูในโดฮา เมืองหลวงของประเทศกาตาร์ สร้างขึ้นใหม่เพื่อใช้แทน ท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา เพื่อเป็นท่าอากาศยานหลักของประเทศ

เป็นสนามบินที่รู้จักกันในชื่อเดิมว่า ท่าอากาศยานนานาชาติโดฮาแห่งใหม่ (NDIA), ท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัด เดิมมีกำหนดเปิดให้บริการในปี 2009 แต่ก็เกิดความล่าช้าเรื่องค่าใช้จ่ายทำให้ท่าอากาศยานเปิดใช้จริงในวันที่ 30 เมษายน 2014 โดยเครื่องบินของกาตาร์แอร์เวย์ บินจากท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา ผู้ให้บริการหลักอย่าง กาตาร์แอร์เวย์ และผู้ให้บริการรายอื่น ๆ ทั้งหมดย้ายมาอย่างเป็นทางการมายังสนามบินใหม่แห่งนี้เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2014 [4]

ประวัติ

[แก้]

แผนและการก่อสร้าง

[แก้]

การวางแผนก่อสร้างท่าอากาศยานแห่งนี้เกิดขึ้นในปี 2003 และเริ่มก่อสร้างในปี 2005 ท่าอากาศยาน (อาคารผู้โดยสารและรันเวย์) ถูกสร้างขึ้นห่างเป็นระยะทาง 5 กิโลเมตร (3.1 ไมล์) จากท่าอากาศยานนานาชาติโดฮาเดิม โดนสร้างกระจายในพื้นที่ 2,200 เฮกตาร์ (5,500 เอเคอร์) และอนุญาตให้สายการบินที่ไม่จำเป็นต้องใช้ห้องพักรับรองเข้ามาใช้บริการก่อน

ท่าอากาศนานาชาติฮะมัด ออกแบบเพื่อรองรับการขยายตัวของปริมาณการจราจรทางอากาศในอนาคต ในชั้นแรกสามารถรองรับผู้โดยสารเริ่มต้นที่ 29 ล้านคนต่อปี เมื่อการก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์รองรับปริมาณผู้โดยสารเป็น 50 ล้านคนต่อปี แม้จะมีบางคำแนะนำให้ให้สร้างสนามบินที่รองรับปริมาณคนถึง 93 ล้านคนต่อปีก็ตาม ทำให้ที่นี่กลายเป็นท่าอากาศยานขนาดใหญ่อันดับสองของภูมิภาคตะวันออกกลางรองจาก ดูไบ[5] นอกจากนี้มีการคาดการณ์ว่าท่าอากาศยานแห่งนี้จะรองรับเที่ยวบินได้ 320,000 เที่ยว และสินค้า 2 ล้านตันต่อปี มีพื้นที่ตรวจบัตรโดยสารและจำหน่ายสินค้ามาเป็นอันดับที่ 12 ของสนามบินในปัจจุบัน ท่าอากาศยานมีขนาดเป็น 2 ใน 3 ของกรุงโดฮา [6]

ท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัดภายในถูกออกแบบให้เหมือน โอเอซิส ภายในอาคารจะประดับด้วยน้ำตก ลักษณะหลังคาจะเป็นรูปคลื่นและพืชทะเลทราย[7]

การเลื่อนการเปิด

[แก้]
เครื่องบินของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์

เครื่องบินของสายการบินกาตาร์ดำเนินการขนสินค้าในวันที่ 1 ธันวาคม 2013 โดยมีเที่ยวบินปฐมฤกษ์ที่บินมาจากยุโรป[8] ท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัดพร้อมเริ่มทำการบินในเดือนมกราคม 2014 โดยยังไม่ได้ทำการบินแบบเต็มรูปแบบในช่วงแรก[9] หลังจากที่กำหนดการเดิมจะมีการเปิดใช้งานในวันที่ 2 เมษายน 2013 แต่ถูกยกเลิกไปเพียงไม่กี่ชั่วโมงก่อนหน้าและถูกเลื่อนออกไปเพื่อความปลอดภัยโดยมีการตรวจสอบความปลอดภัยเป็นระยะเวลาเก้าเดือนก่อนทำการเปิดอย่างเป็นทางการ[10] หลังจากเกิดความล่าช้าหลายครั้ง โครงการทั้งสองระยะแรกและส่วนหนึ่งของระยะที่สามเปิดให้บริการในปี 2014[11] ระยะที่สามและระยะสุดท้ายเปิดดำเนินการในปี 2015 ท่าอากาศยานถูกสร้างขึ้นในพื้นที่กว่า 22 ตารางกิโลเมตร (8.5 ตารางไมล์) ซึ่งเป็นครึ่งหนึ่งของที่ดินทั้งหมด[12]

อับดุล อซิว อัล โนไอมี ประธานกรมการบินพลเรือนของกาตาร์และโฆษกของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์ ผู้ประกอบการของสนามบินและลูกค้า ได้ร่วมงานพิธีเปิดในวันที่ 30 เมษายน 2014[13]

เปิดทำการ

[แก้]

ท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัดได้ต้อนรับเที่ยวบินแรกของสายการบินกาตาร์แอร์เวย์ แอร์บัส A320 จำนวนผู้โดยสาร 130 คนซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ เวลา 11:30 นาฬิกาตามเวลาของโดฮา

ท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัดเริ่มต้นดำเนินการวันที่ 30 เมษายน 2014 กับ 10 สายการบิน[14] สายการบินกาตาร์แอร์เวย์และสายการบินที่เหลือได้เริ่มให้บริการในวันที่ 27 พฤษภาคม ตั้งแต่เวลา 09:00 น. ตามเวลาประเทศกาตาร์

สิ่งอำนวยความสะดวก

[แก้]

อาคารผู้โดยสาร 1

[แก้]
หอควบคุมการจราจรทางอากาศ
ภายในอาคารเทียบเครื่องบิน ซี

อาคารผู้โดยสารขาออก

[แก้]

อาคารผู้โดยสารขาออกของท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัดแห่งนี้ มีด้วยกัน 2 อาคาร

อาคารอิมิรี

[แก้]

อาคารผู้โดยสารอิมิรี เป็นอาคารผู้โดยสารที่สร้างขึ้นแยกจากตัวอาคารผู้โดยสารหลัก เพื่อให้บริการสำหรับเชื้อพระวงศ์ระดับสูง ผู้บริหารระดับสูงของรัฐบาล และผู้มีฐานันดรศักดิ์ที่เสด็จหรือได้รับคำเชิญจากทางกาตาร์ ที่ถูกออกแบบอย่างหรูหรา ภายในมีเคาเตอร์เช็คอินทั้งหมด 6 เคาเตอร์ และเคาเตอร์ทางออกอีก 1 เคาเตอร์ ให้บริการเฉพาะสายการบินประจำชาติเท่านั้น

อาคารผู้โดยสารขาออกหลัก

[แก้]

เป็นอาคารผู้โดยสารสำหรับผู้โดยสารทั้งชั้นหนึ่ง ชั้นธุรกิจ และผู้โดยสารทั่วไป ประกอบด้วยกลุ่มแถวให้บริการ 1 ถึง 10 โดยแถวที่ 1 และ 2 เป็นผู้โดยสารในชั้นหนึ่งของสารการบินการตาร์แอร์เวย์เท่านั้น ส่วนแถวที่สองเป็นการให้บริการในชั้นธุรกิจ ส่วนแถวที่ 3 ถึง 6 เป็นการให้บริการในชั้นประหยัด ส่วนแถวที่ 7 ถึงแถวที่ 10 เป็นของสายการบินอื่น ๆ ที่ทำการบินมายังสนามบินแห่งนี้ โดยแต่ละแถวมีจำนวนของเคาเตอร์เช็คอินตั้งแต่ 12 ถึง 14 เคาท์เตอร์

  • อาคารเทียบเครื่องบิน เอ มีทางออกขึ้นอากาศยาน 10 ทาง โดยอยู่ทางทิศตะวันตกของพื่นที่เช็คอิน มี 2 ประตูที่ออกแบบเพื่อรองรับ แอร์บัส เอ 380
  • อาคารเทียบเครื่องบิน บี มีทางออกขึ้นอากาศยาน 10 ทาง โดยอยู่ทางทิศตะวันออกของพื่นที่เช็คอิน โดยเปิดให้บริการวันที่ 30 เมษายน 2014 มี 10 สายการบินที่ถ่ายโอนมาจากท่าอากาศยานนานาชาติโดฮา มี 2 ประตูที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อรองรับ แอร์บัส เอ 380 มีร้านกาแฟเล็ก ตั้งอยู่ส่วนท้ายของกลุ่มอาคาร มีพื้นที่สำหรับสูบบุหรี่ พื้นที่สำหรับครอบครัว และร้านค้าปลอดภาษี[15]
  • อาคารเทียบเครื่องบิน ซี มีทางออกขึ้นอากาศยาน 13 ทาง โดยอยู่ทางทิศเหนือของพื่นที่เช็คอิน มี 2 ประตูที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อรองรับ แอร์บัส เอ 380 และมีประตูระยะไกลที่ใช้รถบัสในการรับส่งผู้โดยสารในพื้นที่นี้ด้วย
  • อาคารเทียบเครื่องบิน ดี เปิดให้บริการเต็มรูปแบบ ประตู 1–4 อยู่ที่ชั้น 1 และประตู 18–24 ที่ชั้นล่าง (ประตู 2 และ 4 จะปิดถาวรเนื่องจากการขยายสนามบิน)
  • อาคารเทียบเครื่องบิน อี เปิดให้บริการเต็มรูปแบบ ประตู 1–4 อยู่ที่ชั้น 1 และประตู 18–24 ที่ชั้นล่าง (ประตู 2 และ 4 จะปิดถาวรเนื่องจากการขยายสนามบิน)

อาคารเทียบเครื่องบิน D และ E มีกำหนดจะขยายออกไป โดยยังอยู่ระหว่างการสรุปแผน[16] อาคารผู้โดยสาร 1 มีส่วนสำหรับรับรองผู้โดยสารชั้นหนึ่งและชั้นธุรกิจ บริหารงานโดย กาตาร์แอร์เวย์ โดยเปิดดำเนินการเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2014

แผนการ อาคารผู้โดยสาร 2

[แก้]

กาตาร์มีแผนสร้างอาคารผู้โดยสาร 2 ในท่าอากาศยานนานาชาติฮะมัด เพื่อรองรับปริมาณผู้โดยสารที่มากขึ้นในอนาคตและส่วนหนึ่งเพื่อรองรับการจัดมหกรรมฟุตบอลโลก 2022[17]

รันเวย์

[แก้]

สนามบินแห่งนี้มี 2 รันเวย์ที่ขนานกันระยะห่างกัน (1.2 ไมล์) สำหรับการขึ้นลงของอากาศยาน รันเวย์แรกคือ 4,850 เมตร × 60 เมตร เป็นรันเวย์ที่มีความยาวที่สุดใน เอเชียตะวันตก และรันเวย์นี้ยังเป็นรันเวย์หนึ่งที่ยาวที่สุดในโลก รันเวย์ที่สอง 4,250 เมตร × 60 เมตร[18]

เส้นทางการบิน

[แก้]

สายการบินโดยสาร

[แก้]

สายการบินที่ดำเนินการเที่ยวบินปกติ และเที่ยวบินเช่าเหมาลำ ไปและกลับจากโดฮา:

สายการบิน จุดหมายปลายทาง
แอร์อาระเบีย อะเล็กซานเดรีย,[19] ชัรญะฮ์[20]
แอร์แคนาดา โทรอนโต–เพียร์สัน
แอร์ไคโร อะเล็กซานเดรีย, อัสยูฏ, ซูฮัก
แอร์อินเดีย เดลี, มุมไบ[21]
แอร์อินเดียเอกซ์เพรส กันนุระ, โกชิ, โคชิโคด, มังคาลอร์, มุมไบ, ติรุวนันตปุรัม, ติรุชชิราปัลลี
บาดร์แอร์ไลน์ คาร์ทูม
บังคลาเทศพิมาน จิตตะกอง, ธากา, สิเลฏ
บริติชแอร์เวย์ ลอนดอน–แกตวิก[22]
ชามวิงส์แอร์ไลน์ ดามัสกัส
อียิปต์แอร์ ไคโร[23]
เอธิโอเปียนแอร์ไลน์ อาดดิสอาบาบา
เอทิฮัดแอร์เวย์ อาบูดาบี[24]
ฟลายบอสเนีย ช่วงเวลา: ซาราเยโว[25]
ฟลายดูไบ ดูไบ–อินเตอร์เนชันแนล[26]
โกเฟิสต์ มุมไบ[27]
หิมาลายาแอร์ไลน์ กาฐมาณฑุ
อินดิโก เบงคลูรู,[28] เจนไน, เดลี, ไฮเดอราบาด, กันนุระ, โกชิ, โกลกาตา,[29] โคชิโคด, มุมไบ
อิหร่านแอร์ ชีรอซ
ญะซีเราะฮ์แอร์เวย์ คูเวตซิตี
คูเวตแอร์เวย์ คูเวตซิตี
มิดเดิลอีสต์แอร์ไลน์ เบรุต
เนปาลแอร์ไลน์ กาฐมาณฑุ
โอมานแอร์ มัสกัต
ปากีสถานอินเตอร์เนชันแนลแอร์ไลน์ อิสลามาบาด, ลาฮอร์, เปศวาร์
เพกาซัสแอร์ไลน์ อิสตันบูล–ซาบิฮาเกิกเชน
ช่วงเวลา: อันทัลยา[30]
ฟิลิปปินส์แอร์ไลน์ มะนิลา
กาตาร์แอร์เวย์ อาบีจาน, อาบูดาบี,[31] อาบูจา,[32] อักกรา,[33][34] อะเล็กซานเดรีย,[35] อาดานา, อาดดิสอาบาบา, แอดิเลด, อะห์มดาบาด, แอลเจียร์, อัมมาน–ควีนอาลียา, อมฤตสระ, อัมสเตอร์ดัม, อังการา, เอเธนส์, แอตแลนตา, ออกแลนด์, แบกแดด, บากู, เบงคลูรู, กรุงเทพฯ–สุวรรณภูมิ, บาร์เซโลนา, บัสรา, ปักกิ่ง–แคปิทอล, เบรุต, เบลเกรด, เบอร์ลิน, เบอร์มิงแฮม, บอสตัน, บริสเบน,[36] บรัสเซลส์, บูคาเรสต์, บูดาเปสต์, ไคโร,[37] แคนเบอร์รา, คาร์ดิฟฟ์, เคปทาวน์, กาซาบล็องกา, เซบู,[38] เฉิงตู–ซวงหลิว, เจนไน, เชียงใหม่, ชิคาโก–โอแฮร์, ฉงชิ่ง, คลาร์ก, โคลัมโบ–บันดาราไนยเก, โคเปนเฮเกน, ดัลลาส/ฟอร์ตเวิร์ธ, อัดดัมมาม,[39] ดานัง, ดาร์-เอส-ซาลาม, ดาเบา, เดลี, เด็นปาซาร์/บาหลี, ธากา, จิบูตี, ดูไบ–อินเตอร์เนชันแนล,[40] ดับลิน, เดอร์บัน, เอดินบะระ, เอ็นเทบเบ, อัรบีล, ไฟซาลาบาด, แฟรงก์เฟิร์ต, กาโบโรเน, เจนีวา, กัว, กอเทนเบิร์ก, กว่างโจว, ฮาราเร,[41] ฮาทัย, หางโจว, ฮานอย, เฮลซิงกิ, นครโฮจิมินต์, ฮ่องกง, ฮิวส์ตัน–อินเตอร์คอนติเนนตัล, ไฮเดอราบาด, เอสแฟฮอน, อิสลามาบาด, อิสตันบูล, อิสตันบูล–ซาบิฮาเกิกเชน, อิซมีร์, จาการ์ตา–ซูการ์โน-ฮัตตา, ญิดดะฮ์,[39] โจฮันเนสเบิร์ก–โออาร์ แทมโบ, การาจี, กาฐมาณฑุ, คาร์ทูม, คิกาลี, คิลิมันจาโร, โกชิ, โกลกาตา, โคชิโคด, กระบี่, กัวลาลัมเปอร์–อินเตอร์เนชันแนล, คูเวตซิตี, เคียฟ–บอรีสปีล, เลกอส, ลาฮอร์,ลาร์นากา, ลิสบอน, ลอนดอน–แกตวิก, ลอนดอน–ฮีทโธรว์, ลอสแอนเจลิส, ลูอันดา, ลูซากา,[42] ลียง, มาดริด, มาเฮ, มาเล, มอลตา, แมนเชสเตอร์, มะนิลา, มาปูตู, มาร์ราคิช, แมชแฮด, เมลเบิร์น, ไมแอมี, มิลาน–มัลเปนซา, โมกาดิชู,[43] โมมบาซา, มอนทรีออล–ทรูโด, มอสโก–โดโมเดโดโว, มุลตาน, มุมไบ, มิวนิก, มัสกัต, นาคปุระ, ไนโรบี–โจโมเคนยัตตา, นาจาฟ, นิวยอร์ก–เจเอฟเค, นิส, อัสตานา,[33][34] ออสโล, ปารีส–ชาร์ล เดอ โกล, ปีนัง, เพิร์ท, เปศวาร์, ฟิลาเดลเฟีย, พนมเปญ, ภูเก็ต, ปิซา, ปราก, ราบัต, รียาด,[39] โรม–ฟีอูมีชีโน, เศาะลาละฮ์, ซานฟรานซิสโก, เซาเปาลู–กัวรูลโฮส, ซาราเยโว (ดำเนินการต่อ 30 ตุลาคม 2021),[44] ซีแอตเทิล/ทาโคมา,[45] โซล–อินช็อน, เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง, ชัรญะฮ์,[46] ชีรอซ, ซิอัลโกต, สิงคโปร์, สกอเปีย (ดำเนินการต่อ 30 ตุลาคม 2021),[47] โซเฟีย, โซฮาร์, สต็อกโฮล์ม–อาร์ลันดา, เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก, สุไลมานียะห์, ซิดนีย์, ทบิลีซี, เตหะราน–อิมามโคมัยนี, ติรุวนันตปุรัม, โตเกียว–ฮาเนดะ, โตเกียว–นาริตะ, ตูนิส, เวนิส, เวียนนา, วอร์ซอ–ชอแป็ง, วอชิงตัน–ดัลเลส, วินด์ฮุก–โฮซีคูทาโก, ย่างกุ้ง, เยเรวาน, ซาเกร็บ, แซนซิบาร์, ซือริช, มะดีนะฮ์
ช่วงเวลา: อันทัลยา, โบดรัม, ดูบรอฟนีก,[48][34] มาลากา, มิคอนอส
รีเจนต์แอร์เวย์ จิตตะกอง, ธากา[49]
รอยัลแอร์มาร็อค กาซาบล็องกา
รอยัลจอร์แดเนียน อัมมาน–ควีนอาลียา
ซะลามแอร์ มัสกัต[50]
ซาอุเดีย ญิดดะฮ์,[51] รียาด[51]
ศรีลังกันแอร์ไลน์ โคลัมโบ–บันดาราไนยเก
ซีเรียนแอร์ ดามัสกัส
ตาร์โคแอร์ไลน์ คาร์ทูม[52]
เตอร์กิชแอร์ไลน์ อิสตันบูล
ยูเอส-บังคลาแอร์ไลน์ จิตตะกอง, ธากา[53]
  • ^ ๑ เที่ยวบินของบังคลาเทศพิมาน จากโดฮาไปธากา หยุดแวะพักที่สิเลฏ อย่างไรก็ตาม เที่ยวบินจากธากาไปโดฮามีเที่ยวบินตรง

ขนส่งอากาศยาน

[แก้]
สายการบิน จุดหมายปลายทาง
คาร์โกลักซ์ ฮ่องกง, ลักเซมเบิร์ก, นครโฮจิมินห์[54]
กาตาร์แอร์เวย์คาร์โก[55] อะห์มดาบาด, อัลมาเตอ,[56] อัมสเตอร์ดัม, แอตแลนตา, เบงคลูรู, เบรุต, บาเซิล/มูว์ลูซ, บรัสเซลส์, บัวโนสไอเรส–เอเซย์ซา,[57] กัมปินัส, กาซาบล็องกา, เจนไน, ชิคาโก–โอแฮร์, โคลัมโบ–บันดาราไนยเก, ดัลลาส/ฟอร์ตเวิร์ธ, เดลี, ธากา, ดับลิน, เอ็นเทบเบ, อัรบีล, แฟรงก์เฟิร์ต, กว่างโจว, ฮานอย, เฮลซิงกิ,[58] ฮ่องกง, นครโฮจิมินห์, ไฮเดอราบาด, อิสตันบูล–อาทาทืร์ค, โกชิ, โกลกาตา, คูเวตซิตี, เลกอส, ลาฮอร์, ลีแยฌ, ลอนดอน–ฮีทโธรว์,[59] ลอสแอนเจลิส, ลักเซมเบิร์ก, มาเก๊า,[60] มาดริด, เมลเบิร์น, เม็กซิโกซิตี, ไมแอมี, มิลาน–มัลเปนซา, มุมไบ, มัสกัต, ไนโรบี–โจโมเคนยัตตา, นิวยอร์ก–เจเอฟเค, โอซากะ–คันไซ,[61] Oslo, Ostend/Bruges,[62] ปารีส–ชาร์ล เดอ โกล, เพิร์ท, พิตต์สเบิร์ก,[63] ปราก, กีโต, เซาเปาลู–กัวรูลโฮส,[57] โซล–อินช็อน, เซี่ยงไฮ้–ผู่ตง, เตหะราน–อิมามโคมัยนี, ย่างกุ้ง,[64] ซาราโกซา
เตอร์กิชคาร์โก[65] อิสตันบูล–อาทาทืร์ค

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ICAO code" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  2. "Qatar's Gateway achieved 12.44% increase in passenger numbers in 2019 compared to previous year". Hamad International Airport. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-07-16. สืบค้นเมื่อ 21 January 2020.
  3. "OTHH: Hamad International Airport". SkyVector. 27 February 2020. สืบค้นเมื่อ 2 March 2020.
  4. "General Information". dohaairport.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-29. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  5. "albawaba.com middle east news information::$3.63 trillion earmarked for Middle East hotels and supporting tourism infrastructure". Menareport.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-22. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  6. "New Doha International Airport, Qatar". Airport Technology. 2011-06-15. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  7. "Is the Hamad International ever going to open?". Qatar Chronicle. July 6, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-12. สืบค้นเมื่อ July 16, 2013.
  8. "Qatar Airways Cargo inaugurates freight operations at New Doha Airport". Ch-aviation.ch. 2013-12-01. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  9. "Doha's hamad airport to open in January 2014". Businesstraveller.com. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  10. "new Doha Airport launch put off". News.yahoo.com. 2013-04-01. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  11. "New $17.5b Doha airport to open on 12-12-12". GulfNews.com. 2012-05-02. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  12. "Qatar targets 24m annual passengers in new airport". Gulfnews. 2008-02-11. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-03-23. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  13. "Arabian Aerospace - Qatar announces new name for its international airport". Arabianaerospace.aero. 2013-01-14. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  14. "New April 30 soft launch date set for Hamad International Airport". Dohanews.co. 2014-04-10. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  15. Siba Sami Ammari (March 18, 2013). "Qatar's Hamad International Airport names 10 airlines moving to new facility on 1st April 2013 soft opening date". AMEinfo.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-29. สืบค้นเมื่อ 2015-04-17.
  16. Aguinaldo, Jennifer (2015-09-16). "Doha unveils airport expansion plans". Middle East Business Intelligence. สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.
  17. "Qatar plans Airport City". Gulf Times. 2013-02-18. สืบค้นเมื่อ 2014-05-26.
  18. "AIRAC AIP Supplement 09/12 – Hamad International Airport (OTBD) – State of Qatar" (PDF). Bahrain AIP FIR. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-05-27. สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.
  19. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-26. สืบค้นเมื่อ 2021-08-12.
  20. "Air Arabia to resume Qatar flights as UAE relaxes online barriers". Arabian Business.
  21. "Air India to commence Mumbai-Doha service in Feb-2020". CAPA. สืบค้นเมื่อ 9 January 2020.
  22. "Timetables". British Airways. International Airlines Group. สืบค้นเมื่อ January 12, 2021.
  23. https://www.iloveqatar.net/news/travel/egypt-air-is-all-set-to-fly-to-doha-qatar-lusail-news
  24. https://www.flightglobal.com/networks/etihad-to-restore-doha-flights-from-mid-february/142041.article?referrer=RSS
  25. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-09. สืบค้นเมื่อ 2021-08-12.
  26. https://news.flydubai.com/flydubai-launches-double-daily-flights-to-doha
  27. Liu, Jim. "GoAir adds Mumbai – Doha service from mid-March 2020". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 25 February 2020.
  28. "IndiGo to commence Bangalore-Qatar service in Mar-2020". CAPA. สืบค้นเมื่อ 18 February 2020.
  29. "IndiGo to launch flight services to Dubai, Doha from Kolkata". Economic Times. 10 January 2020. สืบค้นเมื่อ 10 May 2020.[ลิงก์เสีย]
  30. Liu, Jim. "Pegasus adds Antalya – Doha service from June 2020". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 5 February 2020.
  31. https://reisetopia.de/news/qatar-airways-dubai-abu-dhabi/
  32. https://www.breakingtravelnews.com/news/article/qatar-airways-launches-new-route-to-abuja-nigeria/
  33. 33.0 33.1 "Qatar Airways Announces Eight New Destinations at the Kuwait Aviation Show 2020". Qatar Airways. สืบค้นเมื่อ 16 January 2020.
  34. 34.0 34.1 34.2 Liu, Jim. "Qatar Airways NS20 Network changes as of 19MAR20". Routesonline. สืบค้นเมื่อ 19 March 2020.
  35. "Qatar Airways says it will resume Egypt flights on Jan 18". Middle East Monitor. 13 January 2021.
  36. Routes Online. "Qatar Airways resumes Brisbane service in May/June 2020".
  37. "Qatar Airways says it will resume Egypt flights on Jan 18". Middle East Monitor. 13 January 2021.
  38. "Qatar Airways Launches Flights to Tropical Island Destination Cebu". Qatar Airways. สืบค้นเมื่อ 23 July 2020.
  39. 39.0 39.1 39.2 Qatar Airways [@qatarairways] (2021-01-09). "#QatarAirways announce it will resume flights to Saudi Arabia, starting with services to Riyadh on Monday 11 January 2021, followed by Jeddah on Thursday 14 and Dammam on Saturday 16 January https://t.co/Qwhti7d1iS" (ทวีต) (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-01-11 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  40. https://reisetopia.de/news/qatar-airways-dubai-abu-dhabi/
  41. https://www.qatarairways.com/en/press-releases/2021/June/LunHreENG.html?activeTag=Press-releases&CID=SMALL0678502232000000001105
  42. https://www.qatarairways.com/en/press-releases/2021/June/LunHreENG.html?activeTag=Press-releases&CID=SMALL0678502232000000001105
  43. "Qatar Airways schedules additional 5 destinations launch in S19". RoutesOnline. 7 March 2019. สืบค้นเมื่อ 7 March 2019.
  44. https://www.exyuaviation.com/2021/02/qatar-suspends-sarajevo-skopje-flights.html
  45. https://www.bizjournals.com/seattle/news/2020/12/31/qatar-airways-seattle-corporate-travel-cargolaunch.html
  46. https://www.qatarairways.com/en/press-releases/2021/June/EnSharjahResumption.html?activeTag=Press-releases
  47. https://www.exyuaviation.com/2021/02/qatar-suspends-sarajevo-skopje-flights.html
  48. https://ftnnews.com/aviation/38473-qatar-airways-to-fly-dubrovnik-santorini-osaka-kigali-kilimanjaro-in-2020
  49. "Regent starts flying to Doha on May 19". The Daily Star. 2017-04-21. สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.
  50. "Oman's SalamAir to start flights to Doha in November". สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.
  51. 51.0 51.1 السعودية | SAUDIA [@Saudi_Airlines] (2021-01-09). "سافر مع #الخطوط_السعودية من #جدة و #الرياض إلى #الدوحة ابتداءً من يوم الإثنين الموافق 11/1/2021 Fly with #SAUDIA from #Jeddah and #Riyadh to #Doha starting from Monday 11/1/2021 Book Now|احجز الآن https://t.co/IqHlTeBRXx https://t.co/6Ps5N6QHps" (ทวีต) (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-01-11 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
  52. "Tarco Aviation adds Khartoum – Doha route from Dec 2019".
  53. "US-Bangla to operate Doha flights from Oct 1". Banglanews24.com. 2017-09-30. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-04-04. สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.
  54. "Cargolux introduces third weekly flight to Ho Chi Minh City". Cargolux. 13 April 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-12-30. สืบค้นเมื่อ 2021-08-12.
  55. "W20/21 Freighters Route Map" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2020-10-22.
  56. "Qatar Airways Cargo Launches Freighter Services to Almaty, Kazakhstan".
  57. 57.0 57.1 "Qatar Airways" (Press release). สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.
  58. "Qatar Airways Cargo adds Helsinki to pharma network". aircargoweek.com. 2017-10-03. สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.
  59. "Qatar to launch Heathrow freighter". Air Cargo News. สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.
  60. "Qatar Airways Cargo adds Macau / Round-the-world route in W18". RoutesOnline. 11 October 2018. สืบค้นเมื่อ 11 October 2018.
  61. https://www.logupdateafrica.com/qatar-airways-cargo-to-operate-b777f-to-osaka-4-south-american-destinations-to-join-its-network-from-jan-16-aviation
  62. https://www.aviation24.be/airports/ostend-bruges/officially-added-to-qatar-airways-cargo-network/
  63. https://www.bizjournals.com/pittsburgh/news/2020/12/04/qatar-airways-returns-service-at-pit.html
  64. "Qatar Airways Cargo is the First International Airline to Launch Dedicated Freighter Service to Yangon". Qatar Airways Cargo (Press release). 2017-11-19. สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.
  65. "Istanbul – Doha (Doh) Flights Frequency Increase". 2014-03-25. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-10-05. สืบค้นเมื่อ 2018-04-03.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]