กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2562 →

33 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ71.80% (เพิ่มขึ้น2.72%)
  First party Second party
 
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
9153ri-Yingluck Shinawatra.jpg
พรรค ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย
เลือกตั้งล่าสุด 27 9[a]
ที่นั่งก่อนหน้า 30 6
ที่นั่งที่ชนะ 23 10
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 7 เพิ่มขึ้น 4
คะแนนเสียง 1,277,669 1,209,508
% 44.64 42.26

ผลการเลือกตั้ง ส.ส. กรุงเทพมหานคร แบบแบ่งเขต

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 33 เขตเลือกตั้ง[1] ซึ่งลดลงจากการเลือกตั้งครั้งก่อน 3 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ผลการเลือกตั้งตามส่วนต่างคะแนนเสียงเป็นร้อยละ

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งกรุงเทพมหานคร)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 1,277,669 44.64% ลดลง8.44%
เพื่อไทย 1,209,508 42.26% เพิ่มขึ้น1.74%
อื่น ๆ 374,794 13.10% เพิ่มขึ้น6.70%
ผลรวม 2,861,971 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
44.64%
เพื่อไทย
  
42.26%
อื่น ๆ
  
13.10%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 37,895 55.59% 20,257 29.71% 10,022 14.70% 68,174 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 49,952 56.62% 26,336 29.85% 11,930 13.53% 88,218 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 46,144 54.21% 27,984 32.88% 10,988 12.91% 85,116 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 4 42,814 51.99% 29,046 35.27% 10,486 12.73% 82,346 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 5 35,401 41.90% 37,653 44.57% 11,430 13.53% 84,484 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 6 48,208 45.12% 44,669 41.81% 13,966 13.07% 106,843 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 7 36,058 46.75% 30,949 40.13% 10,124 13.13% 77,131 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 8 40,939 45.77% 36,839 41.18% 11,675 13.05% 89,453 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 9 39,783 45.78% 35,963 41.38% 11,162 12.84% 86,908 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 10 28,542 41.42% 31,306 45.43% 9,065 13.15% 68,913 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 11 29,403 39.76% 32,690 44.20% 11,861 16.04% 73,954 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 12 26,828 36.67% 37,244 50.90% 9,093 12.43% 73,165 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 13 31,749 33.93% 50,321 53.78% 11,491 12.28% 93,561 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 14 40,134 39.56% 47,593 46.91% 13,721 13.53% 101,448 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 15 35,801 46.43% 30,913 40.09% 10,388 13.47% 77,102 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 16 45,444 43.80% 45,850 44.19% 12,465 12.01% 103,759 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 17 38,652 44.02% 38,666 44.04% 10,483 11.94% 87,801 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 18 35,803 43.19% 37,559 45.30% 9,543 11.51% 82,905 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 19 31,049 41.94% 33,854 45.72% 9,136 12.34% 74,039 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 20 25,922 32.75% 43,352 54.77% 9,884 12.49% 79,158 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 21 40,289 48.44% 31,714 38.13% 11,178 13.44% 83,181 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 22 47,615 48.12% 38,323 38.73% 13,010 13.15% 98,948 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 23 46,344 47.55% 38,265 39.26% 12,850 13.19% 97,459 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 24 42,920 48.65% 32,651 37.01% 12,650 14.34% 88,221 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 25 40,242 45.12% 37,637 42.20% 11,317 12.69% 89,196 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 26 44,587 43.74% 43,253 42.43% 14,107 13.84% 101,947 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 27 32,322 42.00% 35,574 46.23% 9,053 11.76% 76,949 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 28 37,043 41.69% 41,032 46.18% 10,774 12.13% 88,849 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 29 35,148 44.23% 34,216 43.05% 10,107 12.72% 79,471 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 30 44,231 44.62% 41,948 42.32% 12,950 13.06% 99,129 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 31 46,614 44.21% 44,469 42.53% 14,349 13.61% 105,432 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 32 40,053 43.10% 40,034 42.08% 12,843 13.82% 92,930 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 33 33,740 44.52% 31,348 41.37% 10,693 13.82% 75,781 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 1,277,669 44.64% 1,209,508 42.26% 374,794 13.10% 2,861,971 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งกรุงเทพมหานคร)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 33 1,356,672 50.06% 23 ลดลง6 69.70%
เพื่อไทย 33 1,246,057 45.98% 10 เพิ่มขึ้น4 30.30%
อื่น ๆ 245 107,333 3.96% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 311 2,710,062 100.00% 33 ลดลง3 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
50.06%
เพื่อไทย
  
45.98%
อื่น ๆ
  
3.96%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
69.70%
เพื่อไทย
  
30.30%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 40,328 63.60% 20,230 31.91% 2,847 4.49% 63,405 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 52,178 63.16% 26,956 32.63% 3,475 4.21% 82,609 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 47,982 59.85% 29,976 37.39% 2,218 2.76% 80,176 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 4 44,621 58.05% 29,749 38.70% 2,496 3.25% 76,866 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 5 37,528 47.41% 38,206 48.26% 3,429 4.33% 79,163 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 6 51,501 51.25% 45,792 45.57% 3,192 3.18% 100,485 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 7 38,470 52.43% 32,692 44.55% 2,214 3.02% 73,376 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 8 43,293 51.10% 38,187 45.08% 3,237 3.82% 84,717 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 9 42,352 50.87% 37,602 45.16% 3,301 3.97% 83,255 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 10 32,306 49.51% 30,596 46.89% 2,349 3.60% 65,251 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 11 25,704 35.82% 28,376 39.55% 17,673 24.63% 71,753 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 12 30,675 43.16% 38,351 53.97% 2,040 2.87% 71,066 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 13 33,805 37.69% 51,765 57.71% 4,126 4.60% 89,696 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 14 41,735 43.52% 49,829 51.96% 4,342 4.52% 95,906 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 15 37,260 51.08% 32,737 44.88% 2,954 4.04% 72,951 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 16 47,425 48.03% 48,690 49.31% 2,632 2.66% 98,747 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 17 39,634 47.20% 42,450 50.56% 1,882 2.24% 83,966 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 18 37,910 47.96% 39,058 49.41% 2,077 2.63% 79,045 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 19 32,667 46.36% 36,530 51.84% 1,269 1.80% 70,466 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 20 26,256 35.04% 44,914 59.94% 3,766 5.02% 74,936 100.00% เพื่อไทย รักษาที่นั่ง
เขต 21 42,754 54.24% 33,317 42.47% 2,756 3.29% 78,827 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 22 50,467 54.33% 39,437 42.46% 2,987 3.21% 92,891 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 23 47,993 52.51% 39,668 43.40% 3,736 4.09% 91,397 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 24 44,689 54.21% 35,789 43.42% 1,952 2.37% 82,430 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 25 44,140 52.14% 38,399 45.36% 2,122 2.50% 84,661 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 26 46,910 49.13% 45,092 47.22% 3,486 3.65% 95,488 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 27 38,137 51.90% 33,475 45.56% 1,867 2.54% 73,479 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 28 41,601 49.12% 40,465 47.78% 2,630 3.10% 84,696 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 29 37,932 50.47% 34,457 45.85% 2,769 3.68% 75,158 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 30 48,362 51.12% 43,420 45.90% 2,817 2.98% 94,599 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 31 50,192 50.36% 46,693 46.85% 2,778 2.79% 99,663 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 32 43,407 49.53% 40,942 46.72% 3,281 3.75% 87,630 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 33 36,458 51.13% 32,217 45.18% 2,633 3.69% 71,308 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 1,356,672 50.06% 1,246,057 45.98% 107,333 3.96% 2,710,062 100.00%

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ กรุงเทพมหานคร
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 1,209,508 42.26
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 7,173 0.25
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 5,805 0.20
ประชากรไทย (4) 1,858 0.06
รักประเทศไทย (5) 214,246 7.49
พลังชล (6) 2,454 0.09
ประชาธรรม (7) 346 0.01
ดำรงไทย (8) 164 0.01
พลังมวลชน (9) 1,676 0.06
ประชาธิปัตย์ (10) 1,277,669 44.64
ไทยพอเพียง (11) 1,678 0.06
รักษ์สันติ (12) 83,892 2.93
ไทยเป็นสุข (13) 380 0.01
กิจสังคม (14) 8,497 0.30
ไทยเป็นไท (15) 346 0.01
ภูมิใจไทย (16) 8,191 0.29
แทนคุณแผ่นดิน (17) 1,008 0.04
เพื่อฟ้าดิน (18) 611 0.02
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 631 0.02
การเมืองใหม่ (20) 1,322 0.05
ชาติไทยพัฒนา (21) 10,864 0.38
เสรีนิยม (22) 347 0.01
ชาติสามัคคี (23) 287 0.01
บำรุงเมือง (24) 294 0.01
กสิกรไทย (25) 415 0.01
มาตุภูมิ (26) 12,589 0.44
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 203 0.01
พลังสังคมไทย (28) 110 0.00
เพื่อประชาชนไทย (29) 376 0.01
มหาชน (30) 2,986 0.10
ประชาชนชาวไทย (31) 188 0.01
รักแผ่นดิน (32) 337 0.01
ประชาสันติ (33) 2,013 0.07
ความหวังใหม่ (34) 875 0.03
อาสามาตุภูมิ (35) 305 0.01
พลังคนกีฬา (36) 992 0.03
พลังชาวนาไทย (37) 359 0.01
ไทยสร้างสรรค์ (38) 96 0.00
เพื่อนเกษตรไทย (39) 535 0.02
มหารัฐพัฒนา (40) 345 0.01
บัตรดี 2,861,971 93.55
บัตรเสีย 59,402 1.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 138,099 4.51
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 3,059,472 71.80
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 4,260,951 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10เขต 11เขต 12เขต 13เขต 14เขต 15เขต 16เขต 17เขต 18เขต 19เขต 20เขต 21เขต 22เขต 23เขต 24เขต 25เขต 26เขต 27เขต 28เขต 29เขต 30เขต 31เขต 32เขต 33

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยเขตพระนคร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตสัมพันธวงศ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เจิมมาศ จึงเลิศศิริ (10)* 40,328 63.60
เพื่อไทย พลตำรวจตรี รุ่งโรจน์ เภกะนันทน์ (1) 20,230 31.91
รักษ์สันติ ศิริ หวังบุญเกิด (12)✔ 2,193 3.46
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ประวิทย์ ติยะปัญจนิตย์ (2) 338 0.53
กิจสังคม บุญล้อม อิงคเวทย์ (14) 137 0.22
ประชาสันติ จุลดา รุ่งจิรโรจน์ (33) 88 0.14
เพื่อฟ้าดิน ข้าพุทธ ขาวดารา (18) 42 0.07
ความหวังใหม่ ชัยธนพล ศรีจิวังษา (34) 28 0.04
เพื่อนเกษตรไทย วรา บัณฑุนาค (39) 21 0.03
ผลรวม 63,405 100.00
บัตรดี 63,405 83.39
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,344 10.97
บัตรเสีย 4,284 5.63
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 76,033 70.71
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,531 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยเขตปทุมวัน เขตบางรัก และเขตสาทร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ (10)* 52,178 63.16
เพื่อไทย หม่อมหลวงณัฎฐพล เทวกุล (1) 26,956 32.63
รักษ์สันติ อมริสา ตัณสถิตย์ (12) 2,413 2.92
กิจสังคม วุฒิชัย พฤกธารา (14) 335 0.41
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน มนตรี ฐิรโฆไท (2) 314 0.38
ประชาสันติ ธรรมม์ชัย รุ่งจริโรจน์ (33) 267 0.32
การเมืองใหม่ สัณฑดล มิตรานนท์ (20) 67 0.08
เพื่อฟ้าดิน หนึ่งพุทธ วิมุตตินันท์ (18) 32 0.04
เพื่อนเกษตรไทย พัท บุญยศ (39) 25 0.03
ความหวังใหม่ จีราวัฒน์ ไชยเศรษฐ์ (34) 22 0.03
ผลรวม 82,609 100.00
บัตรดี 82,609 84.32
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 9,794 10.00
บัตรเสีย 5,567 5.68
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 97,970 69.80
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 140,368 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยเขตบางคอแหลม และเขตยานนาวา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ หม่อมหลวง อภิมงคล โสณกุล (10)* 47,982 59.85
เพื่อไทย พงษ์พิสุทธิ์ จินตโสภณ (1)✔ 29,976 37.39
รักษ์สันติ จรูญเกียรติ ภัทรมนตรีสิน (12) 1,726 2.15
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน อรัญ พันธุมจินดา (2) 165 0.21
กิจสังคม ณิชาดา ภัทรธนจิระกุล (14) 162 0.20
ชาติไทยพัฒนา วิรัช วีระสกุลรักษ์ (21) 78 0.10
เพื่อฟ้าดิน ใบบุญ ชาติบุญนิยม (18) 58 0.07
ความหวังใหม่ จิตรกร เจนทัตถการกิจ (34) 29 0.04
ผลรวม 80,176 100.00
บัตรดี 80,176 86.81
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,971 7.55
บัตรเสีย 5,213 5.64
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,360 68.83
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 134,186 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยเขตคลองเตย และเขตวัฒนา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อนุชา บูรพชัยศรี (10)* 44,621 58.05
เพื่อไทย วรพงษ์ ตันติเวชยานนท์ (1) 29,749 38.70
รักษ์สันติ พันตำรวจโทหญิง ฐิชาลักษณ์ ณรงค์วิทย์ (12) 1,531 1.99
กิจสังคม สมพิศ ผอบเพ็ชร (14) 335 0.44
มาตุภูมิ เอกราช หวังนุช (26) 322 0.42
ชาติไทยพัฒนา วิบูลย์ วีระพงษ์ประดิษฐ์ (21) 112 0.15
เพื่อนเกษตรไทย มนัส มิตรเจริญ (39) 79 0.10
ประชาสันติ ทศพล บรรลือศิลป์ (33) 60 0.08
เพื่อฟ้าดิน ประกายขวัญ ปัญญาพร (18) 57 0.07
ผลรวม 76,866 100.00
บัตรดี 76,866 86.35
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,528 7.33
บัตรเสีย 5,621 6.31
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,015 66.59
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 133,672 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยเขตดุสิต และเขตราชเทวี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ลีลาวดี วัชโรบล (1) 38,206 48.26
ประชาธิปัตย์ จิตภัสร์ ภิรมย์ภักดี (10) 37,528 47.41
รักษ์สันติ ประจวบ อึ๊งภากรณ์ (12)✔ 2,576 3.25
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน โสภณ ดำนุ้ย (2) 408 0.52
ชาติไทยพัฒนา ศิริลักษณ์ นิลพัฒน์ (21) 125 0.16
กิจสังคม ชาต ศรีสุดดี (14) 123 0.16
ประชาสันติ วรากร ทุมพร (33) 82 0.10
เพื่อประชาชนไทย พันโท เจริญ นุชอุดม (29) 49 0.06
ความหวังใหม่ วัชรินทร์ รัตนนาม (34) 29 0.04
เพื่อฟ้าดิน วิศิษฏ์ จิตตนุปัสน์ (18) 20 0.03
พลังคนกีฬา ศิวดล ศรีวัฒนะ (36) 17 0.02
ผลรวม 79,163 100.00
บัตรดี 79,163 87.36
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,929 6.54
บัตรเสีย 5,524 6.10
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 90,616 65.50
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 138,354 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 6[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยเขตดินแดง และเขตพญาไท

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ธนา ชีรวินิจ (10)* 51,501 51.25
เพื่อไทย กวี ณ ลำปาง (1) 45,792 45.57
รักษ์สันติ นเรนทร์ฤทธิ์ ไชยโย (12) 2,193 2.18
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน กริชชัย อรุณวงษ์ ณ อยุธยา (2) 388 0.39
กิจสังคม มลฤดี สร้อยธรรมา (14) 222 0.22
ชาติไทยพัฒนา สุภารัตน์ ไตรทศพร (21) 168 0.17
พลังคนกีฬา เกรียงศักดิ์ แสงประดับ (36) 67 0.07
ประชาสันติ ประวิทย์ โพธิ์กระจ่าง (33) 66 0.07
เพื่อฟ้าดิน สว่าง คุณานุรักษพงศ์ (18) 32 0.03
ชาติสามัคคี ว่าที่ร้อยตรี วรพจน์ ประทุมวัน (23) 29 0.03
ความหวังใหม่ สรารัตน์ เรืองศรี (34) 27 0.03
ผลรวม 100,485 100.00
บัตรดี 100,485 87.61
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,994 6.97
บัตรเสีย 6,222 5.42
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 114,701 72.36
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 158,519 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 7[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยเขตห้วยขวาง และเขตวังทองหลาง (เฉพาะแขวงวังทองหลาง และแขวงพลับพลา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ (10)✔ 38,470 52.43
เพื่อไทย อนุตตมา อมรวิวัฒน์ (1) 32,692 44.55
รักษ์สันติ วัจนา สุทัศน์ ณ อยุธยา (12) 1,619 2.21
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ธเนศวร มหาธนินวงศ์ (2) 168 0.23
กิจสังคม ไพฑูรย์ เครือนาค (14) 132 0.18
ชาติไทยพัฒนา สุชาติ นันทนานิมิตกุล (21) 99 0.13
ประชาสันติ กฤษฎา พรหมพิพัฒน์พร (33) 46 0.06
เพื่อฟ้าดิน ศีลสนิท น้อยอินต๊ะ (18) 41 0.06
ประชากรไทย เอกสิทธิ์ หมวดทอง (4) 38 0.05
ความหวังใหม่ มาลีรัฏฐ์ เอี้ยวสกุล (34) 36 0.05
พลังคนกีฬา สกาว เรือนจันทร์ (36) 35 0.05
ผลรวม 73,376 100.00
บัตรดี 73,376 89.87
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,481 5.49
บัตรเสีย 3,786 4.64
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 81,643 72.05
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 113,321 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 8[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยเขตลาดพร้าว และเขตวังทองหลาง (ยกเว้นแขวงวังทองหลาง และแขวงพลับพลา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สรรเสริญ สมะลาภา (10)* 43,293 51.10
เพื่อไทย สิงห์ทอง บัวชุม (1) 38,187 45.08
รักษ์สันติ บุญอนันต์ เปี่ยมพงศ์สานต์ (12) 2,516 2.97
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน วรศักดิ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (2) 273 0.32
กิจสังคม สุภาพ ศรีชัย (14) 204 0.24
ประชาสันติ ชะฎา ทุยไธสง (33) 99 0.12
เพื่อฟ้าดิน ตะวันธรรม ข่าทิพย์พาที (18) 70 0.08
พลังมวลชน ว่าที่ร้อยโท เกียรติสณ พุสดี (9) 49 0.06
ชาติสามัคคี พรรณี บุญมา (23) 26 0.03
ผลรวม 84,717 100.00
บัตรดี 84,717 89.53
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,319 5.62
บัตรเสีย 4,586 4.85
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 94,622 74.09
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 127,709 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 9[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยเขตจตุจักร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี (10)* 42,352 50.87
เพื่อไทย วิลาวัลย์ ธรรมชาติ (1) 37,602 45.16
รักษ์สันติ ร้อยเอก หม่อมหลวงเกียรติเกษม เกษมสันต์ (12) 2,536 3.05
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน พันตรี อภิรักษ์ อารีย์มิตร (2) 203 0.24
กิจสังคม อภิชาติ รัตรสาร (14) 178 0.21
ชาติไทยพัฒนา ฉวีวรรณ พงษ์ศิลา (21) 107 0.13
ความหวังใหม่ ดามพ์ เผด็จดัสกร (34) 79 0.09
การเมืองใหม่ ภาษกร เดชะสุรังกูล (20) 51 0.06
เพื่อฟ้าดิน จันทร์แรม อัมรินทร์ (18) 48 0.06
ประชาสันติ จริส สุพร (33) 45 0.05
ประชากรไทย ร้อยตำรวจตรี เสน่ห์ ชัยทร (4) 29 0.03
พลังคนกีฬา ภันณี ธกูลสวัสดิ์ (36) 25 0.03
ผลรวม 83,255 100.00
บัตรดี 83,255 90.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,172 5.61
บัตรเสีย 3,837 4.16
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,264 72.94
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 126,499 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 10[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยเขตบางซื่อ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ชื่นชอบ คงอุดม (10) 32,306 49.51
เพื่อไทย เฉลิมชัย จีนะวิจารณะ (1)✔ 30,596 46.89
รักษ์สันติ สมบัติ เปี่ยมบริบูรณ์ (12) 1,905 2.92
กิจสังคม อุมาพร อ่อนสุภาพ (14) 186 0.29
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน อรรถพล วงศ์รัตน์ (2) 153 0.23
เพื่อฟ้าดิน ใจแก้ว อโศกตระกูล (18) 83 0.13
ความหวังใหม่ ผดุงสิน ศรีไชโย (34) 22 0.03
ผลรวม 65,251 100.00
บัตรดี 65,251 88.35
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,499 6.09
บัตรเสีย 4,102 5.55
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 73,852 69.98
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 105,529 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 11[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 11 ประกอบด้วยเขตหลักสี่ และเขตดอนเมือง (เฉพาะแขวงสนามบิน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 11 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย สุรชาติ เทียนทอง (1) 28,376 39.55
ประชาธิปัตย์ สกลธี ภัททิยกุล (10)* 25,704 35.82
ภูมิใจไทย ศุภมาส อิศรภักดี (16)✔ 14,474 20.17
รักษ์สันติ สิระ เจนจาคะ (12) 2,437 3.40
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน เยาวภา บุรพลชัย (2) 545 0.76
กิจสังคม ศักดินนท์ พุ่มคชา (14) 110 0.15
เพื่อฟ้าดิน สวยใส ชาวหินฟ้า (18) 33 0.05
ประชากรไทย ชายสิทธิ์ คำเทศ (4) 25 0.03
พลังคนกีฬา ประภารัตน์ พิริยะอนันตกุล (36) 24 0.03
เพื่อนเกษตรไทย รัชฎาภรณ์ ศรีลาเลิศ (39) 18 0.03
ความหวังใหม่ อุษณีย์ กกไธสง (34) 7 0.01
ผลรวม 71,753 100.00
บัตรดี 71,753 91.51
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,787 4.83
บัตรเสีย 2,871 3.66
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 78,411 73.77
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 106,294 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 12[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 12 ประกอบด้วยเขตดอนเมือง (ยกเว้นแขวงสนามบิน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 12 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย การุณ โหสกุล (1)* 38,351 53.97
ประชาธิปัตย์ แทนคุณ จิตต์อิสระ (10) 30,675 43.16
รักษ์สันติ ร้อยเอก ชมพล ยูสานนท์ (12) 1,018 1.43
มาตุภูมิ พฤกพงษ์ เปรมศิริ (26) 681 0.96
กิจสังคม นาวาเอก ประจักษ์ วังกานนท์ (14) 117 0.16
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน นิรุติ จิตชัย (2) 86 0.12
ชาติไทยพัฒนา ภูมิพัฒน์ กาลกิจ (21) 75 0.11
เพื่อฟ้าดิน เบ็ญจวรรณ เจริญวงษ์ (18) 29 0.04
ความหวังใหม่ วัชรินทร์ เรืองศรี (34) 21 0.03
พลังคนกีฬา ธวัชชัย ด้วงแดงโชติ (36) 13 0.02
ผลรวม 71,066 100.00
บัตรดี 71,066 91.87
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,156 4.08
บัตรเสีย 3,136 4.05
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 77,358 72.12
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,261 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 13[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 13 ประกอบด้วยเขตสายไหม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 13 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ (1)* 51,765 57.71
ประชาธิปัตย์ ก้องศักดิ์ ยอดมณี (10) 33,805 37.69
รักษ์สันติ นาวาอากาศโท รวยลาภ เอี่ยมทอง (12)✔ 1,997 2.23
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน นาวาอากาศตรี ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน (2) 1,538 1.71
ไทยเป็นสุข บงกฏ เจริญเธียร (13) 145 0.16
กิจสังคม พลโท ดนัย เงินโสภา (14) 139 0.15
มาตุภูมิ วัชรินทร์ อนันต์หน่อ (26) 120 0.13
ชาติไทยพัฒนา เอกภพ เหล่าลาภะ (21) 88 0.10
ความหวังใหม่ วิระพจน์ รัตนพันธ์ (34) 59 0.07
พลังคนกีฬา นิรชา ระย้า (36) 24 0.03
เพื่อฟ้าดิน หนึ่งหล้า ลิ้นป่าโลกีย์ (18) 16 0.02
ผลรวม 89,696 100.00
บัตรดี 89,696 91.29
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,169 4.24
บัตรเสีย 4,389 4.47
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 98,254 72.22
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 136,043 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 14[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 14 ประกอบด้วยเขตบางเขน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 14 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย อนุสรณ์ ปั้นทอง (1)* 49,829 51.96
ประชาธิปัตย์ วิทเยนทร์ มุตตามระ (10) 41,735 43.52
รักษ์สันติ พจน์ อู่ธนา (12) 3,211 3.35
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน กรพินธุ์ สุทัศน์ ณ อยุธยา (2) 739 0.77
กิจสังคม คมปภัต สันทัด (14) 288 0.30
พลังคนกีฬา เฉลิมศักดิ์ เอกสุธาน (36) 49 0.05
เพื่อนเกษตรไทย อภิญรัตน์ วัฒนะพัทธ์ (39) 28 0.03
เพื่อฟ้าดิน สมบูรณ์ สุขสวัสดิ์ (18) 27 0.03
ผลรวม 95,906 100.00
บัตรดี 95,906 90.00
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,278 4.95
บัตรเสีย 5,378 5.05
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 106,562 73.76
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 144,480 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 15[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 15 ประกอบด้วยเขตบางกะปิ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 15 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ณัฏฐ์ บรรทัดฐาน (10) 37,260 51.08
เพื่อไทย ภักดีหาญส์ หิมะทองคำ (1) 32,737 44.88
รักษ์สันติ ธีรัจชัย พันธุมาศ (12) 2,187 3.00
กิจสังคม ชิษณุพงศ์ รัตนพันธ์ (14) 297 0.41
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ศิโรตม์ มโนพัฒนะ (2) 144 0.20
พลังมวลชน ภูโมกข์ นุ่นจันทร์ (9) 94 0.13
ประชาสันติ อำนวย โกวิทธรรมกรณ์ (33) 66 0.09
การเมืองใหม่ ว่าที่ร้อยตรี นพดล เดชาฤทธิ์ (20) 47 0.06
ไทยพอเพียง คนึงนิจ คคนัมพรคงคา (11) 45 0.06
เพื่อฟ้าดิน ยลศิริ ดำช่วย (18) 31 0.04
พลังคนกีฬา วิภาวี ทองพิทักษ์ (36) 19 0.03
ความหวังใหม่ ณรงค์ รื่นพิทักษ์ (34) 18 0.02
พลังสังคมไทย ชัยฤกษ์ กลางพิมาย (28) 6 0.01
ผลรวม 72,951 100.00
บัตรดี 72,951 89.09
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,874 5.95
บัตรเสีย 4,058 4.96
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 81,883 71.81
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 114,021 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 16[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 16 ประกอบด้วยเขตบึงกุ่ม และเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงรามอินทรา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 16 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ (1) 48,690 49.31
ประชาธิปัตย์ พนิช วิกิตเศรษฐ์ (10)* 47,425 48.03
รักษ์สันติ อัคคชา พรหมสูตร (12) 1,908 1.93
กิจสังคม สันติ วิชัยพล (14) 215 0.22
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ไมตรี คำพันธุ์ (2) 176 0.18
ชาติไทยพัฒนา สุรทัศน์ คัชมาตย์ (21) 102 0.10
เพื่อฟ้าดิน เรือตรี แซมดิน เลิศบุญย์ (18) 81 0.08
พลังคนกีฬา วิทวัท ชุลสนะเสวี (36) 64 0.06
ประชาสันติ สุทัศน์ แก่นสุวรรณ (33) 39 0.04
ความหวังใหม่ อับดุลฮากีม ยีตา (34) 25 0.03
ชาติสามัคคี หม่อมหลวง สมชาย เกษมสันต์ (23) 22 0.02
ผลรวม 98,747 100.00
บัตรดี 98,747 89.70
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,191 5.62
บัตรเสีย 5,147 4.68
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 110,085 74.09
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 148,576 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 17[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 17 ประกอบด้วยเขตมีนบุรี และเขตคันนายาว (เฉพาะแขวงคันนายาว)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 17 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย วิชาญ มีนชัยนันท์ (1)* 42,450 50.56
ประชาธิปัตย์ ชาญวิทย์ วิภูศิริ (10) 39,634 47.20
รักษ์สันติ วิโรจะโน ชูชาติประเสริฐผล (12) 1,457 1.74
กิจสังคม ยุทธนา ช่วงมณี (14) 144 0.17
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ยศพงศ์ นาทันรีบ (2) 102 0.12
ชาติไทยพัฒนา สุรชัย นิวาสพันธุ์ (21) 95 0.11
พลังคนกีฬา กนกวรรรณ สุทธิประภา (36) 43 0.05
เพื่อฟ้าดิน ธำรงค์ แสงสุริยจันทร์ (18)✔ 23 0.03
ความหวังใหม่ ศุภกร ภูมิพันธ์ (34) 18 0.02
ผลรวม 83,966 100.00
บัตรดี 83,966 90.73
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,891 4.20
บัตรเสีย 4,684 5.06
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,541 74.78
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 123,744 100.00
เพื่อไทย ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 18[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 18 ประกอบด้วยเขตคลองสามวา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 18 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย จิรายุ ห่วงทรัพย์ (1) 39,058 49.41
ประชาธิปัตย์ สมัย เจริญช่าง (10)* 37,910 47.96
รักษ์สันติ ธนัช กรองกันภัย (12) 1,495 1.89
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน พลตำรวจตรี ชาตรี สุทัศน์ ณ อยุธยา (2) 169 0.21
กิจสังคม สุภิญโญ กลิ่นสังข์ (14) 156 0.20
ชาติไทยพัฒนา เอกฤทธิ เจียกขจร (21) 81 0.10
ชาติสามัคคี ปวภัสส์ วัชโรฐิติกรณ์ (23) 66 0.08
ความหวังใหม่ สงวนศักดิ์ ยูฮันเงาะ (34) 51 0.06
เพื่อฟ้าดิน ดอกบัวน้อย นาวาบุญนิยม (18) 33 0.04
พลังคนกีฬา บุญเรือง ศิลาธุลี (36) 26 0.03
ผลรวม 79,045 100.00
บัตรดี 79,045 91.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,480 4.01
บัตรเสีย 4,284 4.93
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,809 74.61
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,343 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขต 19[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 19 ประกอบด้วยเขตหนองจอก

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 19 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ (1)* 36,530 51.84
ประชาธิปัตย์ วสันต์ มีวงษ์ (10) 32,667 46.36
รักษ์สันติ ดิเรก สุมาลยศักดิ์ (12) 808 1.15
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน สุรยุทธ ศิริขันธ์ (2) 135 0.19
กิจสังคม กวิตา สุขโข (14) 98 0.14
พลังคนกีฬา ไพศาล ศรีจันทร์ (36) 65 0.09
เพื่อนเกษตรไทย เพทาย และมิตร (39) 58 0.08
เพื่อฟ้าดิน รัชณี ศรีเกิด (18) 46 0.07
ประชาสันติ เกษม ทรัพย์เจริญ (33) 43 0.06
ความหวังใหม่ ศรัณย์กรณ์ จักษุจินดา (34) 16 0.02
ผลรวม 70,466 100.00
บัตรดี 70,466 89.90
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,853 3.64
บัตรเสีย 5,062 6.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 78,381 73.25
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,011 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 20[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 20 ประกอบด้วยเขตลาดกระบัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 20 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ (1) 44,914 59.94
ประชาธิปัตย์ สลวยเลิศ กิมสูนจันทร์ (10) 26,256 35.04
รักษ์สันติ สง่า ยงเกียรติพานิช (12) 2,854 3.81
มาตุภูมิ ประสาน ผาแดงจงเจริญ (26) 489 0.65
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน กฤษณา ธารีฉัตร (2) 155 0.21
กิจสังคม เปรมฤดี พิธพรชัยกุล (14) 118 0.16
พลังคนกีฬา สุริยา แก้วผูกนาค (36) 57 0.08
เพื่อนเกษตรไทย อ๊อด บุญพา (39) 47 0.06
เพื่อฟ้าดิน เพ็ญพร กรุณามิตร (18) 31 0.04
ความหวังใหม่ สมศักดิ์ ภมรเรวดี (34) 15 0.02
ผลรวม 74,936 100.00
บัตรดี 74,936 89.49
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,825 4.57
บัตรเสีย 4,976 5.94
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 83,737 72.60
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 115,338 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 21[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 21 ประกอบด้วยเขตสะพานสูง และเขตประเวศ (เฉพาะแขวงประเวศ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 21 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ (10)* 42,754 54.24
เพื่อไทย เอกพจน์ วงศ์อารยะ (1)✔ 33,317 42.27
รักษ์สันติ สุภาพ ทองรัตน์ (12) 2,164 2.75
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ธิบดี เยาวมาลี (2) 262 0.33
กิจสังคม อนุสรณ์ สถาพร (14) 139 0.18
เพื่อนเกษตรไทย ปัทมพร ขุนทอง (39) 90 0.11
พลังคนกีฬา จันทรรัตน์ พันธุ์ชัชวาล (36) 42 0.05
ประชาสันติ ศักดิ์ สุวรรณกูฏ (33) 30 0.04
เพื่อฟ้าดิน เกร็ดดิน อโศกตระกูล (18) 29 0.04
ผลรวม 78,827 100.00
บัตรดี 78,827 89.67
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,551 5.18
บัตรเสีย 4,529 5.15
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 87,907 74.11
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 118,610 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 22[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 22 ประกอบด้วยเขตสวนหลวง และเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงประเวศ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 22 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สามารถ มะลูลีม (10)* 50,467 54.33
เพื่อไทย ภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์ (1)✔ 39,437 42.46
รักษ์สันติ ธันวา ไกรฤกษ์ (12) 2,316 2.49
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ธานี สาครสินธุ์ (2) 252 0.27
กิจสังคม บุญรอด แก่นจันทร์ (14) 177 0.19
ประชาสันติ ธำรงสิน เจียรตระกูล (33) 78 0.08
พลังคนกีฬา อธินาถ ศิริเมฆา (36) 47 0.05
เพื่อฟ้าดิน วรรณรีย์ วรรธนรียชาติ (18) 41 0.04
ความหวังใหม่ อุทัย นามวงศ์ (34) 39 0.04
เพื่อนเกษตรไทย สุรพรชัย คงบุญช่วย (39) 37 0.04
ผลรวม 92,891 100.00
บัตรดี 92,891 88.38
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,154 5.85
บัตรเสีย 6,065 5.77
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 105,110 70.95
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 148,142 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 23[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 23 ประกอบด้วยเขตพระโขนง และเขตบางนา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 23 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ (10)* 47,993 52.51
เพื่อไทย วัฒนา เซ่งไพเราะ (1)✔ 39,668 43.40
รักษ์สันติ ชัยวัฒน์ อ่ำสกุล (12) 2,655 2.90
ประชาสันติ จิรัชฌา สุวรรณกูฏ (33) 293 0.32
กิจสังคม สุพล ค้าพลอยดี (14) 244 0.27
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน เอก กฤชวงศ์สนิท (2) 189 0.21
ชาติไทยพัฒนา ภูวเดช ไวทยกุล (21) 138 0.15
แทนคุณแผ่นดิน ฉลอง เกตุแก้ว (17) 116 0.13
เพื่อฟ้าดิน ฟ่องฟ้า ศรีวรพรกุล (18) 54 0.06
พลังคนกีฬา ณัฏชานันท์ อัศวจิตตานนท์ (36) 47 0.05
ผลรวม 91,397 100.00
บัตรดี 91,397 87.76
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,886 6.61
บัตรเสีย 5,864 5.63
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,147 70.44
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 147,859 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 24[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 24 ประกอบด้วยเขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงดาวคะนอง) และเขตคลองสาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 24 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ (10)* 44,689 54.21
เพื่อไทย เอนก หุตังคบดี (1)✔ 35,789 43.42
รักษ์สันติ บุญฤทธิ์ ขวัญชุม (12) 1,504 1.82
กิจสังคม จิรชาญ ศรีตะปัญญะ (14) 200 0.24
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ศิริลักษณ์ จัตตารีส์ (2) 187 0.23
เพื่อฟ้าดิน แรงผา จำปี (18) 61 0.07
ผลรวม 82,430 100.00
บัตรดี 82,430 85.22
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,255 8.53
บัตรเสีย 6,036 6.24
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,721 69.29
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,583 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 25[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 25 ประกอบด้วยเขตจอมทอง และเขตธนบุรี (เฉพาะแขวงดาวคะนอง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 25 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นันทพร วีรกุลสุนทร (10)* 44,140 52.14
เพื่อไทย สุวัฒน์ ม่วงศิริ (1)✔ 38,399 45.36
รักษ์สันติ พิสุทธิ์ อังจันทร์เพ็ญ (12) 1,650 1.95
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ชัชพรรษ อภิเอกปฐม (2) 207 0.24
กิจสังคม ชลธิชา สนองณรงค์ (14) 160 0.19
ชาติไทยพัฒนา วีระวัตน์ วีระพงษ์ (21) 75 0.09
เพื่อฟ้าดิน วรเทพ กำภูพงษ์ (18) 30 0.04
ผลรวม 84,661 100.00
บัตรดี 84,661 88.31
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,893 6.15
บัตรเสีย 5,309 5.54
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,863 70.37
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 136,221 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 26[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 26 ประกอบด้วยเขตราษฎร์บูรณะ และเขตทุ่งครุ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 26 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ (10)* 46,910 49.13
เพื่อไทย นพสรัญ วรรณศิริกุล (1) 45,092 47.22
รักษ์สันติ ณรงค์ศักดิ์ วงศ์สังวาลย์ (12) 2,545 2.67
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ร้อยเอก ชุมพล รุ่งวิชานิวัฒน์ (2) 250 0.26
กิจสังคม เชาวรัตน์ สุขขจร (14) 248 0.26
ความหวังใหม่ ศิวาวิทย์ สำเร็จผล (34) 173 0.18
ชาติไทยพัฒนา สุรศักดิ์ กิตติรัตนสกุล (21) 134 0.14
แทนคุณแผ่นดิน ชูชาติ พิมพ์กา (17) 67 0.07
พลังคนกีฬา ปัญญินท์ หอจันทึก (36) 41 0.04
เพื่อฟ้าดิน อุทัย กิติธรรมคุณ (18) 28 0.03
ผลรวม 95,488 100.00
บัตรดี 95,488 87.81
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,297 5.79
บัตรเสีย 6,962 6.40
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 108,747 71.65
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 151,778 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 27[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 27 ประกอบด้วยเขตบางขุนเทียน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 27 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สากล ม่วงศิริ (10)* 38,137 51.90
เพื่อไทย พิพัฒน์ชัย ไพบูลย์ (1) 33,475 45.56
รักษ์สันติ ณัฐวัฒน์ พัชรพรนุกูล (12) 1,491 2.03
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน กำชัย สังข์ประไพ (2) 195 0.27
กิจสังคม ประพันธ์ หารไชย (14) 119 0.16
เพื่อฟ้าดิน ผาเพียร อุดมยิ่งเจริญ (18) 25 0.03
เพื่อนเกษตรไทย พัชรธร วงค์จันทร์ (39) 23 0.03
พลังคนกีฬา ณัฏชนกานต์ อัศวจิตตานนท์ (36) 14 0.02
ผลรวม 73,479 100.00
บัตรดี 73,479 89.77
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,257 5.20
บัตรเสีย 4,116 5.03
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 81,852 72.13
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 113,484 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 28[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 28 ประกอบด้วยเขตบางบอน และเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองแขม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 28 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจเอก สามารถ ม่วงศิริ (10) 41,601 49.12
เพื่อไทย วัน อยู่บำรุง (1) 40,465 47.78
รักษ์สันติ สมบูรณ์ บุญญาภิรมย์ (12) 2,141 2.53
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ยุทธนา โตอาจ (2) 306 0.36
กิจสังคม ดวงพร ภัทรเปรมเจริญ (14) 140 0.17
พลังคนกีฬา กันต์ภวัต พันธุ์ชัชวาลกิจ (36) 27 0.03
เพื่อฟ้าดิน ใจเด็ด ชาวหินฟ้า (18) 16 0.02
ผลรวม 84,696 100.00
บัตรดี 84,696 89.55
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,195 5.49
บัตรเสีย 4,685 4.95
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 94,576 74.73
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 126,558 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 29[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 29 ประกอบด้วยเขตทวีวัฒนา และเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองค้างพลู)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 29 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เอกนัฏ พร้อมพันธุ์ (10) 37,932 50.47
เพื่อไทย แสวง ฤกษ์จรัล (1)✔ 34,457 45.85
รักษ์สันติ อนิรุทธ คัมภ์ทวี (12) 1,844 2.45
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน บุณณดา สุปิยพันธุ์ (2) 683 0.91
กิจสังคม เกษมสุข สุขสละ (14) 191 0.25
เพื่อฟ้าดิน สาธิต ไทยทัตกุล (18) 51 0.07
ผลรวม 75,158 100.00
บัตรดี 75,158 88.73
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,098 6.02
บัตรเสีย 4,446 5.25
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 84,702 75.63
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,988 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 30[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 30 ประกอบด้วยเขตบางแค

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 30 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อรอนงค์ คล้ายนก (10)* 48,362 51.12
เพื่อไทย ร้อยโทหญิง สุณิสา เลิศภควัต (1) 43,420 45.90
รักษ์สันติ พรเทพ จันทรนิภ (12) 2,106 2.23
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน วรชาย สูตรสุคนธ์ (2) 227 0.24
กิจสังคม พรเทพ สุรเลิศศกุล (14) 160 0.17
ประชาสันติ พลตรี เจริญ สุดโสภา (33) 114 0.12
ชาติไทยพัฒนา อนุณี ซื่อภักดี (21) 89 0.09
เพื่อนเกษตรไทย โกศล หกสุวรรณ (39) 84 0.09
เพื่อฟ้าดิน ธนกฤต พรรษาสกุล (18) 19 0.02
พลังคนกีฬา ว่าที่ร้อยตรี เฟื่องฤทธิ์ อัศวจิตตานนท์ (36) 18 0.02
ผลรวม 94,599 100.00
บัตรดี 94,599 89.36
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,063 5.73
บัตรเสีย 5,195 4.91
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 105,857 72.48
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 146,042 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 31[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 31 ประกอบด้วยเขตภาษีเจริญ และเขตบางกอกใหญ่

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 31 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ วิลาศ จันทร์พิทักษ์ (10)* 50,192 50.36
เพื่อไทย มานะ คงวุฒิปัญญา (1)✔ 46,693 46.85
รักษ์สันติ สุรพล เมฆะอำนวยชัย (12) 2,471 2.48
กิจสังคม บัณฑิต อ่อนอำไพ (14) 154 0.15
เพื่อฟ้าดิน น้อมขวัญ ปัฐยาวัต (18) 84 0.08
พลังคนกีฬา สุรพัศ ตั้งเขาทอง (36) 36 0.04
เพื่อนเกษตรไทย ภูวรุตม์ สุขกมล (39) 33 0.03
ผลรวม 99,663 100.00
บัตรดี 99,663 87.73
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,284 6.41
บัตรเสีย 6,650 5.85
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 113,597 72.23
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 157,274 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 32[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 32 ประกอบด้วยเขตตลิ่งชัน และเขตบางกอกน้อย (เฉพาะแขวงบ้านช่างหล่อ และแขวงบางขุนศรี)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 32 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ชนินทร์ รุ่งแสง (10)* 43,407 49.53
เพื่อไทย ปิติพงศ์ เต็มเจริญ (1)✔ 40,942 46.72
รักษ์สันติ กฤษณ์ สุริยผล (12) 2,626 3.00
กิจสังคม อารักษ์ อ่อนสุภาพ (14) 224 0.26
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน สมนา ติยะปัญจนิตย์ (2) 172 0.20
ชาติไทยพัฒนา ไพทูล พึ่งโสภา (21) 124 0.14
ประชาสันติ กองแก้ว สุระเสียง (33) 91 0.10
เพื่อฟ้าดิน วัชรินทร์ ธนะโภค (18) 44 0.05
ผลรวม 87,630 100.00
บัตรดี 87,630 86.96
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,132 7.08
บัตรเสีย 6,006 5.96
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 100,768 71.46
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 141,019 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 33[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 33 ประกอบด้วยเขตบางพลัด และเขตบางกอกน้อย (ยกเว้นแขวงบ้านช่างหล่อ และแขวงบางขุนศรี)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 33 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ รัชดา ธนาดิเรก (10)* 36,458 51.13
เพื่อไทย พงศ์พันธ์ ยอดเมืองเจริญ (1) 32,217 45.18
รักษ์สันติ พรรณทิพย์ ยอดวิเศษบวร (12) 2,002 2.81
กิจสังคม ธนกร ผาสุก (14) 188 0.26
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน วิศรุต สุวรรณปรีชา (2) 184 0.26
ชาติไทยพัฒนา สุรพล หุนสวัสดิ์ (21) 150 0.21
ประชาสันติ ก่อเกียรติ ขันทอง (33) 69 0.10
เพื่อฟ้าดิน ลมระริน นาคเครือ (18) 40 0.06
ผลรวม 71,308 100.00
บัตรดี 71,308 86.32
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,610 8.00
บัตรเสีย 4,689 5.68
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 82,607 70.25
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 117,594 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ผลสำรวจความคิดเห็นประชาชน[แก้]

ศูนย์ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ทำการสำรวจผู้มีสิทธิเลือกตั้งในกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 23 - 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 มีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ใน 33 เขตเลือกตั้ง รวมทั้งสิ้นจำนวน 6,230 คน ผลปรากฏว่าผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทยมีคะแนนนิยมนำ 19 เขต ประชาธิปัตย์นำ 5 เขต คะแนนใกล้เคียง (ห่างกันน้อยกว่าร้อยละ 5) กัน 9 เขต[2]

เขต พรรคประชาธิปัตย์ ปชป. พท. พรรคเพื่อไทย พรรคอื่น ๆ
1 เจิมมาศ จึงเลิศศิริ 52% 38% พลตำรวจตรีรุ่งโรจน์ เภกะนันท์ 10%
2 อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ 46% 40% หม่อมหลวงณัฎฐพล เทวกุล 13%
3 หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล 34% 50% พงษ์พิสุทธิ์ จินตโสภณ 16%
4 อนุชา บูรพชัยศรี 40% 51% วรพงษ์ ตันติเวชยานนท์ 9%
5 จิตภัสร์ ภิรมย์ภักดี 40% 56% ลีลาวดี วัชโรบล 5%
6 ธนา ชีรวินิจ 44% 46% กวี ณ ลำปาง 10%
7 พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ 37% 57% อนุตตมา อมรวิวัฒน์ 16%
8 สรรเสริญ สมะลาภา 44% 50% สิงห์ทอง บัวชุม 6%
9 อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี 36% 48% วิลาวัลย์ ธรรมชาติ 16%
10 ชื่นชอบ คงอุดม 50% 46% เฉลิมชัย จีนะวิจารณะ 4%
11 สกลธี ภัททิยกุล 27% 55% สุรชาติ เทียนทอง 17%
12 แทนคุณ จิตต์อิสระ 31% 50% การุณ โหสกุล 19%
13 ก้องศักดิ์ ยอดมณี 41% 38% นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ 21%
14 วิทเยนทร์ มุตตามระ 41% 49% อนุสรณ์ ปั้นทอง 10%
15 ณัฎฐ์ บรรทัดฐาน 35% 55% ภักดีหาญส์ หิมะทองคำ 10%
16 พนิช วิกิตเศรษฐ์ 45% 39% พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ 16%
17 ชาญวิทย์ วิภูศิริ 50% 44% วิชาญ มีนชัยนันท์ 6%
18 สมัย เจริญช่าง 32% 47% จิรายุ ห่วงทรัพย์ 22%
19 วสันต์ มีวงษ์ 42% 51% ไพโรจน์ อิสรเสรีพงษ์ 8%
20 สลวยเลิศ กิมสูนจันทร์ 47% 47% ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ 4%
21 นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ 35% 55% เอกพจน์ วงศ์อารยะ 10%
22 สามารถ มะลูลีม 53% 47% ภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์ 0%
23 สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ 34% 46% วัฒนา เซ่งไพเราะ 20%
24 สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ 40% 51% เอนก หุตังคบดี 9%
25 นันทพร วีรกุลสุนทร 33% 47% สุวัฒน์ ม่วงศิริ 19%
26 ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ 41% 40% นพสรัญ วรรณศิริกุล 19%
27 สากล ม่วงศิริ 45% 43% พิพัฒน์ชัย ไพบูลย์ 19%
28 พันตำรวจเอกสามารถ ม่วงศิริ 50% 47% วัน อยู่บำรุง 3%
29 เอกนัฏ พร้อมพันธุ์ 34% 47% แสวง ฤกษ์จรัล 19%
30 อรอนงค์ คล้ายนก 33% 41% ร.ท.หญิงสุนิสา เลิศภควัต 26%
31 วิลาศ จันทร์พิทักษ์ 40% 49% มานะ คงวุฒิปัญญา 10%
32 ชนินทร์ รุ่งแสง 60% 38% ปิติพงศ์ เต็มเจริญ 2%
33 รัชดา ธนาดิเรก 39% 44% พงศ์พันธ์ ยอดเมืองเจริญ 17%

ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 3 - 6 มิถุนายน พ.ศ. 2554 มีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ใน 33 เขตเลือกตั้ง รวมทั้งสิ้นจำนวน 8,616 คน ผลปรากฏว่าผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทยมีคะแนนนิยมนำ 18 เขต ประชาธิปัตย์นำ 6เขต คะแนนใกล้เคียง (ห่างกันน้อยกว่าร้อยละ 5) กัน 9 เขต[3]

เขต พรรคประชาธิปัตย์ ปชป. พท. พรรคเพื่อไทย พรรคอื่น ๆ
1 เจิมมาศ จึงเลิศศิริ 52% 38% พลตำรวจตรีรุ่งโรจน์ เภกะนันท์ 10%
2 อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ 47% 40% หม่อมหลวงณัฎฐพล เทวกุล 13%
3 หม่อมหลวงอภิมงคล โสณกุล 47% 52% พงษ์พิสุทธิ์ จินตโสภณ 11%
4 อนุชา บูรพชัยศรี 33% 45% วรพงษ์ ตันติเวชยานนท์ 22%
5 จิตภัสร์ ภิรมย์ภักดี 43% 52% ลีลาวดี วัชโรบล 5%
6 ธนา ชีระวินิจ 49% 47% กวี ณ ลำปาง 4%
7 พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ 33% 47% อนุตตมา อมรวิวัฒน์ 20%
8 สรรเสริญ สมะลาภา 30% 43% สิงห์ทอง บัวชุม 27%
9 อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี 36% 40% วิลาวัลย์ ธรรมชาติ 16%
10 ชื่นชอบ คงอุดม 52% 37% เฉลิมชัย จีนะวิจารณะ 4%
11 สกลธี ภัททิยกุล 27% 58% สุรชาติ เทียนทอง 15%
12 แทนคุณ จิตต์อิสระ 32% 58% การุณ โหสกุล 10%
13 ก้องศักดิ์ ยอดมณี 40% 47% นาวาอากาศเอกอนุดิษฐ์ นาครทรรพ 13%
14 วิทเยนทร์ มุตตามระ 38% 46% อนุสรณ์ ปั้นทอง 16%
15 ณัฎฐ์ บรรทัดฐาน 43% 44% ภักดีหาญส์ หิมะทองคำ 13%
16 พนิช วิกิตเศรษฐ์ 47% 51% พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ 2%
17 ชาญวิทย์ วิภูศิริ 42% 49 วิชาญ มีนชัยนันท์ 9%
18 สมัย เจริญช่าง 30% 50% จิรายุ ห่วงทรัพย์ 22%
19 วสันต์ มีวงษ์ 46% 42% ไพโรจน์ อิสรเสรีพงษ์ 12%
20 สลวยเลิศ กิมสูนจันทร์ 40% 52% ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ 8%
21 นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ 41% 42% เอกพจน์ วงศ์อารยะ 17%
22 สามารถ มะลูลีม 48% 42% ภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์ 10%
23 สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ 30% 51% วัฒนา เซ่งไพเราะ 19%
24 สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ 32% 56% เอนก หุตังคบดี 12%
25 นันทพร วีรกุลสุนทร 45% 49% สุวัฒน์ ม่วงศิริ 6%
26 ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ 40% 49% นพสรัญ วรรณศิริกุล 12%
27 สากล ม่วงศิริ 48% 42% พิพัฒน์ชัย ไพบูลย์ 16%
28 พันตำรวจเอกสามารถ ม่วงศิริ 47% 51% วัน อยู่บำรุง 2%
29 เอกนัฏ พร้อมพันธุ์ 38% 47% แสวง ฤกษ์จรัล 15%
30 อรอนงค์ คล้ายนก 40% 44% ร.ท.หญิง สุนิสา เลิศภควัต 16%
31 วิลาศ จันทร์พิทักษ์ 41% 50% มานะ คงวุฒิปัญญา 9%
32 ชนินทร์ รุ่งแสง 48% 42% ปิติพงศ์ เต็มเจริญ 2%
33 รัชดา ธนาดิเรก 33% 49% พงศ์พันธ์ ยอดเมืองเจริญ 13%

เชิงอรรถ[แก้]

  1. ที่นั่งของพรรคเพื่อไทยเทียบกับที่นั่งเดิมที่พรรคพลังประชาชนเคยได้รับ

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "โพลล์กทม.ยกแรกพท.นำปชป.ห่าง 19:5 สูสี 9 เขต". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-30. สืบค้นเมื่อ 2011-05-29.
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-17. สืบค้นเมื่อ 2022-01-25.

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]