กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566

← พ.ศ. 2562 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566[1] ครั้งต่อไป →

33 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน4,461,071
ผู้ใช้สิทธิ73.90% (เพิ่มขึ้น 1.38 pp)
  First party Second party
 
Pita Limjaroenrat - 2 (cropped).jpg
Paethongtarn Shinawatra.png
พรรค ก้าวไกล เพื่อไทย
เลือกตั้งล่าสุด 9[a] 9
ที่นั่งก่อนหน้า 7 10
ที่นั่งที่ชนะ 32 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 23 ลดลง 9
คะแนนเสียง 1,397,554 639,998
% 44.14 20.21

  Third party Fourth party
 
Anutin Charnvirakul - 2023 (52638148766) (cropped).jpg
Prawit Wongsuwan (2018) (cropped).jpg
พรรค ภูมิใจไทย พลังประชารัฐ
เลือกตั้งล่าสุด 0 12
ที่นั่งก่อนหน้า 2 11
ที่นั่งที่ชนะ 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง 2 ลดลง 11
คะแนนเสียง 77,532 82,895
% 2.45 2.62

ผลการเลือกตั้งตามเขตเลือกตั้ง
  •   พรรคก้าวไกล
  •   พรรคเพื่อไทย

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ประยุทธ์ จันทร์โอชา
รวมไทยสร้างชาติ[b]

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เศรษฐา ทวีสิน
พรรคเพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2566 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 ด้วยระบบลงคะแนนแบบคู่ขนาน ประกอบด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตและแบบสัดส่วนบัญชีรายชื่อ กรุงเทพมหานครมีจำนวนเขตเลือกตั้งมากที่สุดในการเลือกตั้งครั้งนี้ กล่าวคือ 33 เขต โดยเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อน 3 เขต


เบื้องหลัง[แก้]

การเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้ง[แก้]

หลังจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ว่าด้วยการแก้ไขระบบการเลือกตั้ง และปรับสัดส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส่งผลให้กรุงเทพมหานครมีจำนวนเขตเลือกตั้งมากขึ้นจากการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2562 เดิม 30 เขต เป็น 33 เขต ทำให้จำเป็นต้องมีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่[2]

กุมภาพันธ์ 2566 คณะกรรมการการเลือกตั้งกรุงเทพมหานครได้เผยแพร่รูปแบบการแบ่งเขตเลือกตั้งเพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 5 รูปแบบ[3] อย่างไรก็ตามเกิดข้อท้วงติงว่ารูปแบบทั้ง 5 ที่จัดทำมา ขัดกับหลักเกณฑ์ "ผลต่างของจำนวนราษฎรในแต่ละเขตเลือกตั้ง ไม่ควรเกินร้อยละ 10 ของจำนวนราษฎรเฉลี่ยต่อสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหนึ่งคนในจังหวัดนั้น"[4] จึงได้มีการเผยแพร่รูปแบบเขตเลือกตั้งเพิ่มเติมอีก 3 แบบในเวลาถัดมา[5]

มีการตั้งข้อสังเกตว่า รูปแบบการแบ่งเขตเลือกตั้งกรุงเทพฯ รูปแบบที่ 6, 7 และ 8 ที่เผยแพร่ออกมาภายหลัง พบการแบ่งเขตเลือกตั้งแบบเอาเปรียบ หลายพื้นที่ฐานเสียงของเพื่อไทยถูกหั่นบางแขวงไปรวมกับเขตอื่น, หลายเขตถูกฉีกแขวงออกไปคนละทิศละทาง, ขณะที่ บางเขตที่ผู้สมัครฝั่งรัฐบาลมีความเข้มแข็งถูกจัดวางไว้เต็มเขต, บางเขตที่เดิมพรรคผู้มีอำนาจจะชนกับผู้สมัครจากพรรคฝ่ายตรงข้ามที่เข้มแข็ง ถูกแบ่งให้ไปสู้กับผู้สมัครคนอื่นอีกโซนที่กำลังอ่อนกว่า[6][7]

คอลัมนิสต์กรุงเทพธุรกิจให้ความเห็นว่ารูปแบบการแบ่งเขตดังกล่าว "ต้องการสร้างอุปสรรคให้เพื่อไทย สกัดแลนด์สไลด์"[6] ด้านพรรคเพื่อไทยประณามว่าเป็น "รัฐประหารโดยการแบ่งเขตเลือกตั้ง"[8]

หากพิจารณาเขตเลือกตั้งของกรุงเทพมหานครระหว่างการเลือกตั้งทั่วไปในปีพ.ศ. 2562 และการเลือกตั้งทั่วไปในครั้งนี้จะพบเห็นข้อเท็จจริงในการแบ่งเขตเลือกตั้งดังต่อไปนี้[9]

1. มีการแบ่งเขตเลือกตั้งโดยใช้พื้นที่ย่อยของเขตเลือกตั้งที่มีอยู่แล้วมาจัดตั้งเป็นเขตใหม่จำนวน 4 เขตเลือกตั้ง ซึ่งมีบางเขตเลือกตั้งได้รับอิทธิพลจากการแบ่งเขตเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไปในปีพ.ศ. 2554 ประกอบด้วย เขตที่ 5,9,18 และ 24

2. มีการจัดพื้นที่เขตเลือกตั้งเดิมให้สอดคล้องกับเกณฑ์ผลต่างระหว่างจำนวนประชากรในเขตเลือกตั้ง กับจำนวนค่าเฉลี่ยประชากรต่อเขตเลือกตั้งพึงมีของกรุงเทพมหานครที่ต้องมีค่าไม่ต่ำกว่าหรือเกินกว่าร้อยละ 10 ทำให้พื้นที่เลือกตั้งของบางเขตเลือกตั้งเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก เช่น เขตที่ 8,12,19,21,26,27,28 และเขต 32

3. มีการรื้อเขตเลือกตั้งที่มีอยู่เดิม แล้วแบ่งพื้นที่เขตเลือกตั้งใหม่อันเป็นผลสืบเนื่องจากเกณฑ์การแบ่งเขตที่กล่าวไว้ก่อนหน้า จำนวน 2 เขตเลือกตั้ง ดังนี้

(1) เขตเลือกตั้งที่ 13 ซึ่งในการเลือกตั้งครั้งก่อนคือเขตเลือกตั้งที่ 8 มีการนำแขวงในเขตเลือกตั้งเดิมออกจนเหลือแค่แขวงลาดพร้าวซึ่งคิดเป็นสัดส่วนของจำนวนประชากรในเขตเลือกตั้งเดิมได้ใกล้เคียงร้อยละ 50 โดยมีการเพิ่มบางแขวงในเขตบึงกุ่มเป็นการทดแทน

(2) เขตเลือกตั้งที่ 30 ซึ่งในการเลือกตั้งครั้งก่อนคือเขตเลือกตั้งที่ 29 มีการนำแขวงในเขตเลือกตั้งเดิมออกจนเหลือแค่พื้นที่สามแขวงในเขตภาษีเจริญ ซึ่งคิดเป็นสัดส่วนของจำนวนประชากรในเขตเลือกตั้งเดิมได้ต่ำกว่าร้อยละ 50 โดยมีการเพิ่มบางแขวงในเขตบางแคเป็นการทดแทน

การแบ่งเขตในกรณีดังกล่าวแม้ว่าจะเป็นการแบ่งโดยมีพื้นฐานของเขตเลือกตั้งเดิม แต่เป็นการนำพื้นที่ที่ไม่ได้ถูกแบ่งเขตมารวมกันจนแทบจะเรียกว่าเป็นเขตเลือกตั้งใหม่

4. เขตเลือกตั้งที่ 6 ในปี 2562 ถูกยุบในการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ เพราะพื้นที่ในส่วนต่างๆ ถูกนำไปรวมกับเขตเลือกตั้งอื่นๆในปี 2566 โดยเขตราชเทวีถูกนำมารวมกับเขตเลือกตั้งที่ 2 เขตพญาไทถูกนำมารวมกับเขตเลือกตั้งที่ 6 แขวงจตุจักร และแขวงจอมพลถูกนำมารวมกับเขตเลือกตั้งที่ 8

หากต้องการทราบวิธีการเปรียบเทียบโดยละเอียด สามารถอ่านได้ในหน้าการอภิปรายของเพจนี้

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ กรุงเทพมหานคร
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ก้าวไกล (31) 1,600,689 49.85
รวมไทยสร้างชาติ (22) 630,997 19.65
เพื่อไทย (29) 600,267 18.70
ประชาธิปัตย์ (26) 85,968 2.68
ไทยสร้างไทย (32) 47,821 1.49
ชาติพัฒนากล้า (14) 46,257 1.44
เสรีรวมไทย (25) 42,952 1.34
ภูมิใจไทย (7) 28,528 0.89
พลังประชารัฐ (37) 22,178 0.69
ไทยภักดี (21) 14,125 0.44
ชาติไทยพัฒนา (18) 10,535 0.33
ประชาชาติ (11) 5,682 0.18
ประชาธิปไตยใหม่ (2) 5,467 0.17
เปลี่ยน (20) 4,395 0.14
พลัง (9) 3,905 0.12
ไทยรวมไทย (12) 3,682 0.12
ใหม่ (1) 3,543 0.11
อนาคตไทย (10) 3,362 0.11
ทางเลือกใหม่ (30) 3,301 0.10
พลังสังคมใหม่ (5) 3,082 0.10
เส้นด้าย (64) 2,993 0.09
รวมใจไทย (23) 2,620 0.08
เพื่อชาติไทย (36) 2,592 0.08
ไทยชนะ (13) 2,542 0.08
ท้องที่ไทย (4) 2,491 0.08
แรงงานสร้างชาติ (8) 2,339 0.07
ไทยพร้อม (28) 2,270 0.07
ครูไทยเพื่อประชาชน (6) 2,252 0.07
เพื่อชาติ (24) 2,154 0.07
ไทยก้าวหน้า (55) 1,506 0.05
พลังเพื่อไทย (57) 1,482 0.05
กรีน (15) 1,407 0.04
เพื่อไทรวมพลัง (38) 1,378 0.04
เป็นธรรม (3) 1,318 0.04
สามัญชน (51) 1,110 0.04
รักษ์ผืนป่าประเทศไทย (49) 1,076 0.03
พลังธรรมใหม่ (27) 990 0.03
มิติใหม่ (39) 983 0.03
ไทยศรีวิไลย์ (42) 976 0.03
เปลี่ยนอนาคต (65) 733 0.02
ประชาไทย (56) 651 0.02
ประชากรไทย (63) 651 0.02
ประชาภิวัฒน์ (40) 614 0.02
รวมพลัง (35) 529 0.02
ภาคีเครือข่ายไทย (19) 507 0.02
เสมอภาค (17) 500 0.02
แผ่นดินธรรม (34) 481 0.02
สังคมประชาธิปไตยไทย (58) 414 0.01
ไทยสมาร์ท (67) 396 0.01
คลองไทย (61) 387 0.01
พลังประชาธิปไตย (66) 352 0.01
ความหวังใหม่ (60) 332 0.01
ไทยเป็นหนึ่ง (33) 314 0.01
รวมแผ่นดิน (47) 284 0.009
เพื่ออนาคตไทย (48) 251 0.008
แนวทางใหม่ (45) 250 0.008
ถิ่นกาขาวชาววิไล (46) 237 0.007
พลังสยาม (16) 223 0.007
ไทยธรรม (41) 204 0.006
พลังไทรักชาติ (62) 199 0.006
ราษฎร์วิถี (44) 197 0.006
ภราดรภาพ (54) 193 0.006
พลังปวงชนไทย (50) 148 0.005
พลังสหกรณ์ (43) 144 0.004
ช่วยชาติ (59) 131 0.004
ชาติรุ่งเรือง (52) 127 0.004
พลังสังคม (53) 103 0.003
บัตรดี 3,210,769 96.916
บัตรเสีย 48,703 1.470
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 53,475 1.614
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 3,312,947 73.895
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 4,483,319[10] 100.000

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

คะแนนเสียง
ก้าวไกล
  
44.14%
เพื่อไทย
  
20.21%
อื่น ๆ
  
35.65%

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10เขต 11เขต 12เขต 13เขต 14เขต 15เขต 16เขต 17เขต 18เขต 19เขต 20เขต 21เขต 22เขต 23เขต 24เขต 25เขต 26เขต 27เขต 28เขต 29เขต 30เขต 31เขต 32เขต 33

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยเขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ์ เขตบางรัก เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต (ยกเว้นแขวงถนนนครไชยศรี)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 1

  ปารเมศ (52.99%)
  พลัฏฐ์ (14.08%)
  กานต์กนิษฐ์ (13.64%)
  เจิมมาศ (7.10%)
  อื่น ๆ (12.19%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ปารเมศ วิทยารักษ์สรรค์ (5) 37,438 41.55 -
รวมไทยสร้างชาติ พลัฏฐ์ ศิริกุลพิสุทธิ์ (1) 18,261 20.26 -
เพื่อไทย กานต์กนิษฐ์ แห้วสันตติ (8)* 15,289 16.97 -11.64
ประชาธิปัตย์ เจิมมาศ จึงเลิศศิริ (10)✔ 11,544 12.81 -4.85
ไทยสร้างไทย สุวดี พันธุ์พานิช (7) 2,368 2.62 -
พลังประชารัฐ สฤษดิ์ ไพรทอง (11) 1,495 1.65 -
ชาติพัฒนากล้า นันทพันธ์ ศุภณ์ภัทรพงศ์ (9) 1,247 1.38 -
ภูมิใจไทย สิริอร ม้ามณี (6) 656 0.72 -
เสรีรวมไทย ปุณณ์ภัสสร จีรวิวัฒนชัย (13) 625 0.69 +0.60
ไทยภักดี อิสราพร นรินทร์ (2) 431 0.47 -
เส้นด้าย คงรัช เตชะวิเชียร (4) 264 0.29 -
ทางเลือกใหม่ มงคล เสมอภาพ (14) 140 0.15 -5.42
เพื่อชาติ วรัญชัย โชคชนะ (3) 133 0.14 -
ไทยศรีวิไลย์ กฤษยากร สรชัย (12) 130 0.14 -0.10
คลองไทย ธนวรัทย์ เกียรติสิริกพล (15) 71 0.07 -
ผลรวม 90,092 100.00
บัตรดี 90,092 95.43
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,056 3.23
บัตรเสีย 1,259 1.33
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 94,406 68.63
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 137,558 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยเขตราชเทวี เขตปทุมวัน และเขตสาทร

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 2 (แบบแบ่งเขต)

  ธิษะณา (60.01%)
  ศิรินันท์ (12.83%)
  ลีลาวดี (12.13%)
  อรอนงค์ (5.59%)
  อื่น ๆ (9.44%)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 2 (แบบบัญชีรายชื่อ)

  ก้าวไกล (62.98%)
  รวมไทยสร้างชาติ (15.18%)
  เพื่อไทย (12.25%)
  ชาติพัฒนากล้า (2.03%)
  อื่น ๆ (7.56%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ธิษะณา ชุณหะวัณ (13) 41,148 44.63 -
รวมไทยสร้างชาติ ศิรินันท์ ศิริพานิช (10) 17,908 19.42 -
เพื่อไทย ลีลาวดี วัชโรบล (5) ✔ 12,235 13.27 -6.30
ประชาธิปัตย์ อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ (1) ✔ 7,392 8.01 -10.75
ภูมิใจไทย พัชรินทร์ ซำศิริพงษ์ (12) * 5,237 5.68 -25.36
พลังประชารัฐ พณิชย์ วิทยาภัทร์ (11) 2,631 2.85 -
ชาติพัฒนากล้า วรนันท์ อัศวกิตติเมธิน (3) 1,567 1.69 -
ไทยสร้างไทย ธวัชชัย ปิยนนทยา (8) 1,400 1.51 -
เส้นด้าย อังสณา เนียมวณิชกุล (7) 665 0.72 -
เสรีรวมไทย พงษ์วัฒน์ ตันนุกูล (4) 572 0.62 -
ชาติไทยพัฒนา ณัฐกานต์ สุวรรณะโสภณ (2) 486 0.52 -
ไทยภักดี ภัทรพล หมดมลทิน (6) 338 0.36 +0.14
เพื่อชาติ เกศปรียา แก้วแสนเมือง (9) 270 0.29 -
เพื่อชาติไทย สัญญา พุทธเจริญลาภ (14) 224 0.24 +0.17
คลองไทย ธเนศพล ศุกลกานต์ (15) 125 0.13 -
ผลรวม 92,198 100.00
บัตรดี 92,198 95.06
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,426 3.53
บัตรเสีย 1,368 1.41
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,992 68.92
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 140,731 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยเขตบางคอแหลมและเขตยานนาวา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 3
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล จรยุทธ จตุรพรประสิทธิ์ (4) 35,189 41.75 -
รวมไทยสร้างชาติ เนวินธุ์ ช่อชัยทิพฐ์ (8) 16,233 19.26 -2.96
เพื่อไทย เพ็ญพิสุทธิ์ จินตโสภณ (5) 14,833 17.60 -
ประชาธิปัตย์ อภิมุข ฉันทวานิช (7) 10,515 12.48 -
ชาติพัฒนากล้า ปรัชญา อึ้งรังษี (14) 2,333 2.77 -
ไทยสร้างไทย นรุตม์ชัย บุนนาค (11) 1,099 1.30 -
ชาติไทยพัฒนา พงศพัศ กตคุณวิสิทธิ์ (6) 735 0.87 -
เสรีรวมไทย ไสว ทัศนีย์ภาพ (9) 702 0.83 -3.62
ภูมิใจไทย นรเสฏฐ์ เธียรประสิทธิ์ (10) 668 0.79 -
พลังประชารัฐ ชญาภา ปรีดาพากย์ (15) 546 0.65 -
ไทยภักดี ปราปต์ปฎล สุวรรณบาง (2) 494 0.59 -
รวมแผ่นดิน ธนินท์ธร คำทองสุข (3) 304 0.36 -
เส้นด้าย สุรสิทธิ์ มัจฉาเดช (1) 244 0.29 -
ไทยชนะ ร้อยโท สุพร ขำสีเมฆ (13) 158 0.19
เพื่อชาติ สันติ วิชัยพล (12) 105 0.12 -0.28
ประชาไทย ฟาริศานนท์ รุจิศาสตร์ (17) 78 0.09 -
คลองไทย ว่าที่พันตรี วินัย ตรีนุมิตร (16) 47 0.05 -
ผลรวม 84,283 100.00
บัตรดี 84,283 95.67
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,685 3.19
บัตรเสีย 1,130 1.34
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 88,098 70.21
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 125,478 100.00
ก้าวไกล รักษาที่นั่ง

เขต 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยเขตคลองเตยและเขตวัฒนา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 4
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ภัณฑิล น่วมเจิม (2) 33,381 39.01
ประชาธิปัตย์ ร้อยตำรวจเอก พงศกร ขวัญเมือง (5) 14,908 17.46
รวมไทยสร้างชาติ เขตรัฐ เหล่าธรรมทัศน์ (10)** 12,992 15.21
เพื่อไทย นวธันย์ ธวัชวงศ์เดชากุล (11) 10,901 12.76
ภูมิใจไทย กรณิศ งามสุคนธ์รัตนา (1)* 9,643 11.29
ชาติพัฒนากล้า ปรินต์ ทองปุสสะ (12) 983 1.15
ไทยสร้างไทย ศรัณยภัคร สุนทรปิยะกุลพัศ (4) 589 0.68
เสรีรวมไทย กษิติ กมลนาวิน (7) 541 0.63
พลังประชารัฐ ภูวกร ปรางภรพิทักษ์ (8) 506 0.59
เพื่อชาติ ศณิศา จิรเสวีนุประพันธ์ (9) 275 0.32
ไทยภักดี ณัฐรมณ์ ลิ้นลา (3) 273 0.31
เพื่อชาติไทย เอกราช หวังนุช (6) 127 0.14
ประชาไทย กาศประกาศสิริ เจริญพระสิริ (14) 101 0.11
ประชากรไทย สัญชัย สไพพงศ์ (13) 81 0.09
คลองไทย อิ่มหรอน ทิ้งผอม (15) 67 0.07
ผลรวม 85,368 100.00
บัตรดี 85,368 95.65
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,485 2.91
บัตรเสีย 1,392 1.56
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,246 68.51
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 130,267 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 5[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยเขตห้วยขวางและเขตวังทองหลาง (ยกเว้นแขวงคลองเจ้าคุณสิงห์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 5
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล เฉลิมชัย กุลาเลิศ (12) 47,147 49.58
รวมไทยสร้างชาติ ภรณี วัฒนโชติ (11) 15,886 16.70
เพื่อไทย ขจรศักดิ์ ประดิษฐาน (5) 15,443 16.24
ภูมิใจไทย ประเดิมชัย บุญช่วยเหลือ (8)* 9,693 10.19
ประชาธิปัตย์ สุภัสสรา ธงไชย (1) 1,835 1.92
ชาติพัฒนากล้า กอบกฤต สุขสถิตย์ (13) 1,627 1.71
เสรีรวมไทย อริญรดา มีเพียร (9) 816 0.85
ไทยสร้างไทย ศุภ ศักดิ์ณรงค์เดช (7) 783 0.82
พลังประชารัฐ กานต์ กิตติอำพน (4) 763 0.80
เส้นด้าย ศรราม สีบุญเรือง (2) 305 0.32
ไทยภักดี ภูตฤณ ภูธีรภาพ (3) 289 0.30
ทางเลือกใหม่ ว่าที่ร้อยโท เกียรติสร พุสดี (14) 190 0.19
เพื่อชาติ สิริวรรณ สกดผล (6) 177 0.18
คลองไทย พีท อุทยารัตน์ (10) 124 0.13
ผลรวม 95,078 100.00
บัตรดี 95,078 95.81
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,944 2.97
บัตรเสีย 1,218 1.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 99,240 74.92
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 132,461 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 6[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยเขตดินแดงและเขตพญาไท

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 6
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล กัณตภณ ดวงอัมพร (3) 46,082 44.60
รวมไทยสร้างชาติ อรพินทร์ เพชรทัต (4) 24,040 23.26
เพื่อไทย ภัทร ภมรมนตรี (1) 16,718 16.18
ประชาธิปัตย์ ธนา ชีรวินิจ (9)✔ 3,966 3.83
ภูมิใจไทย ภาดาท์ วรกานนท์ (6)* 3,361 3.25
เส้นด้าย คริส โปตระนันทน์ (12) 2,574 2.49
พลังประชารัฐ ร้อยเอก รชฏ พิสิษฐบรรณกร (10)✔ 1,939 1.87
ชาติพัฒนากล้า นที ศิริธรรมวัฒน์ (11) 1,460 1.41
ไทยสร้างไทย รัตนมงคล เลิศทวีวิทย์ (8) 921 0.89
ชาติไทยพัฒนา วรวุธ ลีลานภาศักดิ์ (14) 646 0.62
เสรีรวมไทย พลเดช สุวรรณอาภา (5) 625 0.60
ไทยภักดี นภาภรณ์ กีรติปัถวี (13) 368 0.35
แนวทางใหม่ สายธง เมืองวงษ์ (7) 321 0.31
เพื่อชาติ ภากร แสงบรรจง (2) 225 0.21
ทางเลือกใหม่ ณัฐนันท์ อ่อนยั่งยืน (15) 68 0.06
ไทยสมาร์ท จักรทิพย์ ปัทมะทิน (16)
ผลรวม 103,314 100.00
บัตรดี 103,314 95.56
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,355 3.10
บัตรเสีย 1,444 1.34
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 108,113 74.22
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 145,666 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 7[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยเขตบางซื่อและเขตดุสิต (เฉพาะแขวงถนนนครไชยศรี)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 7 (แบบแบ่งเขต)

  ภัสริน (56.18%)
  ชื่นชอบ (18.40%)
  รัฐพงศ์ (12.75%)
  ภูเบศร์ (2.84%)
  อื่น ๆ (9.83%)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 7 (แบบบัญชีรายชื่อ)

  ก้าวไกล (60.00%)
  รวมไทยสร้างชาติ (16.73%)
  เพื่อไทย (15.07%)
  ประชาธิปัตย์ (1.66%)
  อื่น ๆ (6.54%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 7
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ภัสริน รามวงศ์ (7) 45,050 47.43
รวมไทยสร้างชาติ ชื่นชอบ คงอุดม (1)✔ 24,882 26.19
เพื่อไทย รัฐพงศ์ ระหงษ์ (8) 17,266 18.17
ประชาธิปัตย์ ภูเบศร์ อภัยวงศ์ (3) 2,283 2.40
พลังประชารัฐ ร้อยตำรวจเอก วัฒนรักษ์ อำนรรฆสรเดช (12) 1,296 1.36
ชาติพัฒนากล้า แสนยากรณ์ สิงห์วีรธรรม (9) 1,287 1.35
เสรีรวมไทย บุณยนุช ปทิตหิรัณยา (6) 701 0.73
ไทยสร้างไทย ทวีชัย วงศ์ไพโรจน์กุล (2) 618 0.65
ภูมิใจไทย พชร ภูมิจิตร (10) 391 0.41
ทางเลือกใหม่ อดุลย์ ย่าพรหม (5) 288 0.30
ไทยภักดี พีร์นิธิ มัญชุไพบูลย์ (14) 264 0.27
เส้นด้าย ทันธรรม วงษ์ชื่น (4) 252 0.26
ไทยศรีวิไลย์ พัทธนันท์ ฤทธิ์ชัยเรืองเดช (11) 185 0.19
เปลี่ยนอนาคต ธนกร คงชื่นประยูร (13) 106 0.11
เพื่อชาติ รณกฤต หะมิชาติ (15) 106 0.11
ผลรวม 94,975 100.00
บัตรดี 94,975 95.31
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,374 3.39
บัตรเสีย 1,295 1.30
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 99,646 70.13
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 142,088 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 8[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยเขตจตุจักร (ยกเว้นแขวงจันทรเกษมและแขวงเสนานิคม) และเขตหลักสี่ (เฉพาะแขวงทุ่งสองห้อง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 8
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ชยพล สท้อนดี (5) 40,011 38.63
เพื่อไทย สุรชาติ เทียนทอง (2)* 25,174 24.31
รวมไทยสร้างชาติ อรัญญา มณีแจ่ม (12) 18,207 17.58
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจตรี วิชัย สังข์ประไพ (14) 8,261 7.97
พลังประชารัฐ รังสรรค์ กียปัจจ์ (7) 5,431 5.24
ชาติพัฒนากล้า วิเวียน จุลมนต์ (10) 2,259 2.18
ไทยสร้างไทย ณิชชา บุญลือ (3) 896 0.86
ภูมิใจไทย ศลิษา สิงหเสนี (11) 811 0.78
เสรีรวมไทย อนุพันธ์ ธราดลรัตนากร (4) 580 0.56
เส้นด้าย เต็มสินี โสภาสมสวัสดิ์ (1) 516 0.49
ไทยภักดี พรสุดา ทบทอบ (8) 414 0.39
ทางเลือกใหม่ พิบูลย์ เพียรพานิชกุล (6) 223 0.21
เพื่อชาติไทย ดรุณี เทพพนม (9) 208 0.20
เพื่อชาติ ธีระบูล ชื่นสำราญ (13) 202 0.19
พลังสังคมใหม่ ถนัด แสงวิเชียร (15) 108 0.10
ประชากรไทย เวียง สาดนอก (16) 91 0.08
ประชาไทย สมชาย สุขเทวี (19) 87 0.08
ไทยสมาร์ท ฐานะรัตน์ รองรัตน์ (18) 70 0.06
คลองไทย อภิเชษฐ์ ไสยสิทธิ์ (17)
ผลรวม 103,549 100.00
บัตรดี 103,549 95.68
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,638 3.36
บัตรเสีย 1,040 0.96
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 108,227 76.12
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 142,179 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 9[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยเขตจตุจักร (เฉพาะแขวงจันทรเกษมและแขวงเสนานิคม) เขตบางเขน (เฉพาะแขวงอนุสาวรีย์) และเขตหลักสี่ (เฉพาะแขวงตลาดบางเขน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 9
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ศุภณัฐ มีนชัยนันท์ (10) 50,132 49.38
เพื่อไทย อนุสรณ์ ปั้นทอง (2)* 20,573 20.18
รวมไทยสร้างชาติ พัชรนันท์ โกศลสมบัตินนท์ (7) 18,866 18.51
พลังประชารัฐ อนันตชาติ บัวสุวรรณ์ (8) 2,475 2.42
ชาติพัฒนากล้า แวววรรณ ก้องไตรภพ (3) 2,415 2.36
ประชาธิปัตย์ ธีรวิทย์ ภูมิดิษฐ์ (5) 2,372 2.32
ไทยสร้างไทย เกรียงไกร ไกรนรา (4) 2,026 1.98
ภูมิใจไทย พีร์ปภาอร เสถียรไทย (1) 1,006 0.98
เสรีรวมไทย กิตติพงศ์ ท่าพิกุล (9) 996 0.97
เส้นด้าย อุเทน ไม้สนธิ์ (11) 594 0.58
ไทยภักดี ศราวุธ ทบทอบ (6) 466 0.45
ผลรวม 101,921 100.00
บัตรดี 101,921 94.55
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,949 3.66
บัตรเสีย 1,925 1.79
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 107,795 73.78
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 146,103 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 10[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยเขตดอนเมือง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 10
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล เอกราช อุดมอำนวย (6) 38,313 38.41
ไทยสร้างไทย การุณ โหสกุล (2)* 22,492 22.55
เพื่อไทย สุธนพจน์ กิจธนาภิทักษ์ (10) 14,745 14.78
รวมไทยสร้างชาติ ณัฐวรินธร บวรภัควุฒิสิริ (8) 11,065 11.09
ประชาธิปัตย์ ธัญญ์นิธิ ชวรัตน์นิธิโชติ (7) 9,545 9.57
พลังประชารัฐ สุชาดา เวสารัชตระกูล (3) 895 0.89
ชาติพัฒนากล้า อรรถสิทธิ์ เหลืองไพบูลย์ (1) 751 0.75
เสรีรวมไทย เฉลิมพล อุตรัตน์ (4) 516 0.51
ชาติไทยพัฒนา พลตรีหญิง ดาวใจ เจิมเจิดพล (5) 385 0.38
เพื่อชาติ ณัฏฐ์ ภูวสันติ (9) 329 0.32
ภูมิใจไทย ณัฏฐ์ มงคลนาวิน (11) 316 0.31
เพื่อชาติไทย โอวาท พรหมพินิจ (12) 111 0.11
ไทยภักดี มาเรียม และมิตร (15) 109 0.10
ทางเลือกใหม่ กอบกุล สังฆมณี (13) 85 0.08
ประชากรไทย ร้อยตำรวจตรี คเนศ ศรีศักดิ์ (14) 79 0.07
คลองไทย ฐาชุดา ภาณุสกุลรัชต์ (16)
ผลรวม 99,736 100.00
บัตรดี 99,736 95.81
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,993 2.88
บัตรเสีย 1,373 1.32
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,102 75.97
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 137,030 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 11[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 11 ประกอบด้วยเขตสายไหม (ยกเว้นแขวงออเงิน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 11
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ศศินันท์ ธรรมนิฐินันท์ (3) 36,985 37.31
ไทยสร้างไทย สมชาย เวสารัชตระกูล (9) 22,242 22.44
ภูมิใจไทย เอกภพ เหลืองประเสริฐ (6) 14,645 14.77
เพื่อไทย เอกภาพ หงสกุล (1) 14,325 14.45
รวมไทยสร้างชาติ สุภดิช อากาศฤกษ์ (5)** 7,658 7.72
ประชาธิปัตย์ วัทธิกร หรุ่นศิริ (4) 879 0.88
พลังประชารัฐ นาวาอากาศเอก บัญชาพล อรัณยะนาค (7) 827 0.83
เสรีรวมไทย ภารดี อัศวพิทยา (8) 436 0.43
ชาติพัฒนากล้า วิโรจน์ จิตรอบอารีย์ (10) 402 0.40
เส้นด้าย สรรเสริญ บุญเกษม (11) 263 0.26
ไทยภักดี ไพฑูรย์ และมิตร (13) 194 0.19
อนาคตไทย ว่าที่ร้อยตรี เทวิน พิมพ์พันธุ์ (2) 181 0.18
ทางเลือกใหม่ พะเนาว์ ตามประทีป (12) 79 0.07
ผลรวม 99,116 100.00
บัตรดี 99,116 96.59
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,221 2.16
บัตรเสีย 1,276 1.24
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 102,613 76.50
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 134,135 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 12[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 12 ประกอบด้วยเขตสายไหม (เฉพาะแขวงออเงิน) เขตบางเขน (เฉพาะแขวงท่าแร้ง) และเขตลาดพร้าว (เฉพาะแขวงจรเข้บัว)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 12 (แบบแบ่งเขต)

  ภูริวรรธก์ (51.08%)
  ญาณกิตติ์ (17.40%)
  ศรราม (11.00%)
  ปราณี (7.87%)
  อื่น ๆ (12.66%)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 12 (แบบบัญชีรายชื่อ)

  ก้าวไกล (57.66%)
  เพื่อไทย (17.17%)
  รวมไทยสร้างชาติ (13.56%)
  ประชาธิปัตย์ (2.19%)
  อื่น ๆ (9.42%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 12
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ภูริวรรธก์ ใจสำราญ (5) 45,797 44.91
เพื่อไทย ญาณกิตติ์ ห่วงทรัพย์ (10) 18,633 18.27
รวมไทยสร้างชาติ ศรราม ภูมิไชย (11) 13,608 13.34
ประชาธิปัตย์ ปราณี เชื้อเกตุ (9) 12,405 12.16
พลังประชารัฐ นพวรรณ หัวใจมั่น (12) 5,245 5.14
ไทยสร้างไทย ประเวศร์ วัลลภบรรหาร (3) 1,426 1.39
ชาติพัฒนากล้า โชคภิวัสร์ เลิศสุรสีห์ (14) 1,077 1.05
เสรีรวมไทย นนท์ปวิธ แก้วงาม (1) 989 0.96
ภูมิใจไทย ศุภกิจ ตังทัตสวัสดิ์ (2) 922 0.90
เพื่อชาติ กษมปภา วรัชยารวีภาส (7) 447 0.43
ชาติไทยพัฒนา พิเชฐ เดชอรัญ (8) 438 0.42
เสมอภาค นราวดี เรืองทวีเชาว์ (6) 309 0.30
ไทยภักดี นัฐวุฒิ บุญเกื้อ (15) 266 0.26
อนาคตไทย กาญจนา ธนรัชต์ทวีทอง (4) 232 0.22
ทางเลือกใหม่ ปัญญา สุขขจีธำรง (13) 123 0.12
คลองไทย สิบตรี ณรงค์เนตร อินแตง (16) 58 0.05
ผลรวม 101,975 100.00
บัตรดี 101,975 95.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,248 3.05
บัตรเสีย 1,187 1.12
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 106,410 76.88
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 138,411 100.00
ก้าวไกล ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 13[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 13 ประกอบด้วยเขตลาดพร้าว (เฉพาะแขวงลาดพร้าว) และเขตบึงกุ่ม (ยกเว้นแขวงคลองกุ่ม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 13
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล เรืออากาศโท ธนเดช เพ็งสุข (7) 43,186 44.86
เพื่อไทย สกาวใจ พูนสวัสดิ์ (4) 22,312 23.18
รวมไทยสร้างชาติ ศุกล กุลสิงห์ (5) 17,591 18.27
ประชาธิปัตย์ แทนคุณ จิตต์อิสระ (10)✔ 5,380 5.58
ภูมิใจไทย กษิดิ์เดช ชุติมันต์ (1)* 2,378 2.47
ไทยสร้างไทย ภัทรดนัย ใหม่พระเนตร (12) 1,379 1.43
ชาติพัฒนากล้า บุญสืบ จันทร์แจ่มศรี (3) 1,361 1.41
พลังประชารัฐ ภักดีหาญส์ หิมะทองคำ (8) 661 0.68
เสรีรวมไทย ถิรพงศ์ รักษาแก้ว (13) 517 0.53
คลองไทย ธนัชย์พล บวรวุฒิ (6) 345 0.35
ไทยภักดี เกรียงศักดิ์ สืบวงษ์ (14) 296 0.30
แนวทางใหม่ พงศ์วัฒน์ กุลเดชชัยชาญ (11) 254 0.26
เพื่อชาติ ทินกร ฮาวรนนท์ (9) 222 0.23
เส้นด้าย ปวัน เลิศพยับ (15) 188 0.19
ไทยศรีวิไลย์ รัชธิวรรษ์ รุ่งธีรกุล (2) 179 0.18
ประชาไทย สุทธิรัตน์ ประสงค์ธรรม (16) 0
ผลรวม 96,249 100.00
บัตรดี 96,249 95.88
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,101 3.09
บัตรเสีย 1,032 1.03
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 100,382 75.77
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 132,483 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 14[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 14 ประกอบด้วยเขตบางกะปิและเขตวังทองหลาง (เฉพาะแขวงคลองเจ้าคุณสิงห์)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 14
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล สิริลภัส กองตระการ (9) 42,218 43.12
รวมไทยสร้างชาติ ฐิติภัสร์ โชติเดชาชัยนันต์ (11)* 29,106 29.73
เพื่อไทย พงศกร รัตนเรืองวัฒนา (6) 17,530 17.90
ไทยสร้างไทย ตรีรัตน์ ศิริจันทโรภาส (12) 1,886 1.92
ประชาธิปัตย์ ประพฤติ ฉัตรประภาชัย (1) 1,812 1.85
ชาติพัฒนากล้า ธาม สมุทรานนท์ (8) 1,495 1.52
พลังประชารัฐ นฤมล รัตนาภิบาล (5) 1,363 1.39
ภูมิใจไทย อำพล ขำวิลัย (7) 1,103 1.12
เสรีรวมไทย เอกพล ชัยสังฆะ (10) 547 0.55
ไทยภักดี ยลดา พันธ์มะวงค์ (4) 322 0.32
ทางเลือกใหม่ อำนวย โกวิทธรรมกรณ์ (14) 193 0.19
ประชากรไทย สมัครสุนทรเวทย์ ปรีชาชัยวัฒน์ (13) 112 0.11
เพื่อชาติ ว่าที่ร้อยตรี กฤชณัท ปัญสุทธิ์ (2) 109 0.11
คลองไทย ณัฐวุฒิ พิณทอง (3) 95 0.09
เปลี่ยนอนาคต รัชฏะ สมรทินกร (15)
ผลรวม 97,891 100.00
บัตรดี 97,981 96.18
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,787 2.74
บัตรเสีย 1,193 1.17
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,871 73.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,035 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 15[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 15 ประกอบด้วยเขตคันนายาวและเขตบึงกุ่ม (เฉพาะแขวงคลองกุ่ม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 15
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล วิทวัส ติชะวาณิชย์ (6) 35,904 38.95
เพื่อไทย พลภูมิ วิภัติภูมิประเทศ (7)* 28,121 30.50
รวมไทยสร้างชาติ กาญจนา ภวัครานนท์ (11) 15,111 16.39
ไทยสร้างไทย แมน เจริญวัลย์ (3) 6,613 7.17
ประชาธิปัตย์ พันธ์พิสุทธิ์ นุราช (1) 2,311 2.50
ชาติพัฒนากล้า ว่าที่ร้อยเอก วีรพล วงษ์มะเซาะ (5) 919 0.99
ภูมิใจไทย อิทธิเดช สุพงษ์ (9) 891 0.96
เสรีรวมไทย โจโจ้ ไมอ๊อคชิ (2) 687 0.74
พลังประชารัฐ ณิรินทร์ เงินยวง (8) 646 0.70
เส้นด้าย จิตภินันท์ วงษ์ขันธ์ (4) 302 0.32
ไทยภักดี รัตนา กอเซ็มมูซอ (14) 193 0.20
ทางเลือกใหม่ นพดล กุลละวณิชย์ (13) 130 0.14
คลองไทย ธมนันท์ พุ่มกัน (12) 106 0.11
แนวทางใหม่ ภัทรภคิน รัตนสาขา (10) 85 0.09
ไทยสมาร์ท กุลวิรัณภัฏ จองไว (15) 80 0.08
ประชาไทย นพดล ธุวานนท์ (16) 72 0.07
ผลรวม 92,172 100.00
บัตรดี 92,172 96.08
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,585 2.69
บัตรเสีย 1,178 1.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 95,935 75.34
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 127,336 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 16[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 16 ประกอบด้วยเขตคลองสามวา (ยกเว้นแขวงสามวาตะวันออกและแขวงทรายกองดินใต้)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 16 (แบบแบ่งเขต)

  พิมพ์กาญจน์ (49.58%)
  จิรายุ (24.64%)
  ณัฐนันท์ (10.14%)
  เกศกานดา (6.88%)
  อื่น ๆ (8.75%)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 16 (แบบบัญชีรายชื่อ)

  ก้าวไกล (61.60%)
  เพื่อไทย (17.92%)
  รวมไทยสร้างชาติ (13.92%)
  ประชาธิปัตย์ (2.35%)
  อื่น ๆ (4.22%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 16
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล พิมพ์กาญจน์ กีรติวิราปกรณ์ (8) 40,129 41.05
เพื่อไทย จิรายุ ห่วงทรัพย์ (11)* 27,111 27.73
ประชาธิปัตย์ เกศกานดา อินช่วย (14) 12,784 13.07
รวมไทยสร้างชาติ ณัฐนันท์ กัลยาศิริ (6) 12,357 12.64
ไทยสร้างไทย ปิยะนุช จงบรรเจิด (5) 924 0.94
ชาติพัฒนากล้า กฤษฎ์ เครือเจริญพร (15) 880 0.90
ภูมิใจไทย ณัฐดนัย ชนิตร์วัฒน์ (4) 603 0.61
เสรีรวมไทย กฤษณา ศรีแจ่ม (1) 584 0.59
พลังประชารัฐ กิติภูมิ นีละไพจิตร์ (12) 560 0.57
เพื่อชาติไทย ปกรณ์ ดำรงศักดิ์ (9) 457 0.46
แนวทางใหม่ นิยม ทรัพย์สิรินาวิน (7) 444 0.45
ไทยภักดี ณรงค์ เกียรติเสรีกุล (2) 413 0.42
ทางเลือกใหม่ ศิริ์กาญจน์ ทองโชติธนชาติ (16) 273 0.27
ไทยธรรม วรชพร ปานใย (3) 118 0.12
ราษฎร์วิถี ขุนธรรม เดือดขุนทด (10) 115 0.11
คลองไทย เขมจิรา พชรจรวยพร (13)
ผลรวม 97,752 100.00
บัตรดี 97,752 96.04
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,724 2.68
บัตรเสีย 1,309 1.29
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,785 77.46
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 131,403 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 17[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 17 ประกอบด้วยเขตคลองสามวา (เฉพาะแขวงสามวาตะวันออกและแขวงทรายกองดินใต้) และเขตหนองจอก (ยกเว้นแขวงลำต้อยติ่ง แขวงลำผักชี และแขวงโคกแฝด)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 17 (แบบแบ่งเขต)

  วีรวุธ (48.74%)
  ไพฑูรย์ (19.52%)
  ศิริพงษ์ (11.15%)
  ฤกษ์อารี (6.48%)
  อื่น ๆ (14.11%)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 17 (แบบบัญชีรายชื่อ)

  ก้าวไกล (60.07%)
  เพื่อไทย (19.39%)
  รวมไทยสร้างชาติ (10.78%)
  พลังประชารัฐ (1.79%)
  อื่น ๆ (7.97%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 17
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล วีรวุธ รักเที่ยง (7) 30,439 37.16
เพื่อไทย ไพฑูรย์ อิสระเสรีพงษ์ (13) 19,155 23.38
พลังประชารัฐ ศิริพงษ์ รัสมี (10)* 18,034 22.02
รวมไทยสร้างชาติ ฤกษ์อารี นานา (11) 6,340 7.74
ชาติไทยพัฒนา ฮาซัน วันนุ (5) 2,930 3.57
ประชาธิปัตย์ ณัฐิดา เตาเฟ็ส (2) 1,051 1.28
ไทยภักดี อารี สุขโข (1) 627 0.76
ภูมิใจไทย นิกม์ แสงศิรินาวิน (8) 549 0.67
เสรีรวมไทย ประยูร ครองยศ (3) 509 0.62
ชาติพัฒนากล้า ฐีรทรัพย์ อภิญญาภรณ์ (14) 486 0.59
ไทยสร้างไทย มังกร ศิริศรีโพธิ์ (12) 398 0.48
เส้นด้าย โสภณ แก้วศรีจันทร์ (15) 376 0.45
ภราดรภาพ ต้นสัก สนิทนาม (17) 326 0.39
ทางเลือกใหม่ สุริโย พินโย (9) 312 0.38
คลองไทย เฉลิมพล พิณทอง (4) 209 0.25
ประชากรไทย อัครภัทร เสนาะ (18) 87 0.10
เพื่อชาติไทย ธนดล จันทร์สุนทร (16) 70 0.08
แนวทางใหม่ สุลาวัลย์ รักชลธี (6)
ผลรวม 81,898 100.00
บัตรดี 81,898 95.42
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,197 2.56
บัตรเสีย 1,735 2.02
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 85,830 75.28
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 114,014 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 18[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 18 ประกอบด้วยเขตหนองจอก (เฉพาะแขวงลำต้อยติ่ง แขวงลำผักชี และแขวงโคกแฝด) เขตลาดกระบัง (เฉพาะแขวงลำปลาทิว) และเขตมีนบุรี (เฉพาะแขวงแสนแสบ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 18
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ธีรัจชัย พันธุมาศ (8)** 36,884 43.35
เพื่อไทย ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ (15)✔ 17,236 20.26
พลังประชารัฐ พีระพงษ์ รัสมี (4) 14,843 17.44
รวมไทยสร้างชาติ วุฒิภัทร คำประกอบ (1) 8,930 10.49
ประชาธิปัตย์ อนันต์ ฤกษ์ดี (9) 1,857 2.18
ภูมิใจไทย ธีระวิทย์ วงศ์เพชร (7) 924 1.08
ไทยภักดี สมเกียรติ์ ขุนบุญจันทร์ (13) 892 1.04
ชาติพัฒนากล้า ริณดา คงตาละนันท์ (2) 714 0.83
เสรีรวมไทย สำคัญต่อชาติ เอี่ยมอ่ำ (14) 595 0.69
คลองไทย ยศศักดิ์ธำรง นงค์พรหมมา (16) 441 0.51
ไทยสร้างไทย วาทิศ ธนกิจกาศมณี (12) 409 0.48
เพื่อชาติ ชาย มาลี (10) 395 0.46
ทางเลือกใหม่ สุรชาติ โต๊ะเฮ (6) 379 0.44
ชาติไทยพัฒนา พันธุ์ปิติ โพธิ์วิจิตร (3) 304 0.35
แนวทางใหม่ พรวิลัย รักชลธี (11) 267 0.31
เส้นด้าย ไปรยา หลำลาย (5) 0 0
ผลรวม 85,070 100.00
บัตรดี 85,070 94.92
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,585 2.88
บัตรเสีย 1,967 2.19
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,624 76.75
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,774 100.00
ก้าวไกล ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 19[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 19 ประกอบด้วยเขตมีนบุรี (เฉพาะแขวงมีนบุรี) และเขตสะพานสูง (ยกเว้นแขวงทับช้าง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 19
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล กันต์พงษ์ ประยูรศักดิ์ (5) 41,841 43.34
เพื่อไทย วิชาญ มีนชัยนันท์ (9)✔ 26,670 27.62
รวมไทยสร้างชาติ อรรถวิทย์ เซะวิเศษ (2) 17,176 17.79
พลังประชารัฐ นาถยา แดงบุหงา (10)✔ 3,411 3.53
ประชาธิปัตย์ สุนันท์ มีนมณี (3) 2,144 2.22
ภูมิใจไทย พงษ์เพชร เพชรสุวรรณดี (6) 875 0.90
ชาติพัฒนากล้า ภัทรานิษฐ์ กิตินิรันดร์กูล (15) 752 0.77
ไทยภักดี หวังจันทร์ ยิ้มวิไล (7) 735 0.76
เสรีรวมไทย กฤตทัศชญา ดิษฐเนตร (4) 734 0.76
ไทยสร้างไทย เสาวลักษณ์ ยงวานิชจิต (13) 714 0.73
เป็นธรรม เดโชนุชิต นวลสกุล (8) 356 0.36
ทางเลือกใหม่ บวรวิช รักไทย (1) 288 0.29
ราษฎร์วิถี ปราโมช วงษ์มะเซาะ (14) 250 0.25
เพื่อชาติไทย สมชาย ดีเหลือ (11) 218 0.22
แนวทางใหม่ ยุทธนา รักชลธี (12) 187 0.19
เส้นด้าย วรภัทร์ ละออง (17) 118 0.12
คลองไทย สุรพล สะริมา (16) 66 0.06
ผลรวม 96,535 100.00
บัตรดี 96,535 95.36
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,401 3.36
บัตรเสีย 1,292 1.28
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,228 76.83
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 131,756 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 20[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 20 ประกอบด้วยเขตลาดกระบัง (ยกเว้นแขวงลำปลาทิว)

ผลการเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 20 ตามแขวง:
  ธีรรัตน์
  •   40–50%
  ชุมพล
  •   40–50%

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 20 (แบบแบ่งเขต)

  ชุมพล (50.06%)
  ธีรรัตน์ (27.66%)
  รณชัย (8.98%)
  วันชัย (2.25%)
  อื่น ๆ (11.05%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 20
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ (6)* 34,749 40.36
ก้าวไกล ชุมพล หลักคำ (9) 34,745 40.35
รวมไทยสร้างชาติ รณชัย สังฆมิตกล (4) 9,446 10.97
ประชาธิปัตย์ สุพจน์ ฤกษ์ดี (11) 1,501 1.74
ภูมิใจไทย เอกฤทธิ เจียกขจร (5) 1,017 1.18
พลังประชารัฐ บุญรุ่ง เต๋งจงดี (1) 893 1.03
ชาติพัฒนากล้า กรกฤษณ์ วงศ์คุณหยก (7) 790 0.91
เสรีรวมไทย วันชัย รัตนขจรไชย (8) 766 0.88
ไทยสร้างไทย ว่าที่ร้อยตรีหญิง นุชนาฏ หุ่นอยู่ (14) 708 0.82
ไทยภักดี สุเทพ บรรจง (10) 534 0.62
ชาติไทยพัฒนา ณัทพัช อัคฮาด (3) 265 0.30
คลองไทย ชัญญาพัชญ์ ธนัตพรภัคพงศ์ (2) 252 0.29
แนวทางใหม่ นรัชช์อร พงศภัคคณนันท์ (13) 177 0.20
เพื่อชาติไทย วัชญ์รัชชญา จันทชุมประพัฒน์ (12) 135 0.15
ประชาไทย ลูกัสเอราดัส โครนีเวล (15) 114 0.13
ผลรวม 86,092 100.00
บัตรดี 86,092 95.38
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,490 2.76
บัตรเสีย 1,680 1.86
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 90,262 73.70
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 122,472 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

เขต 21[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 21 ประกอบด้วยเขตสะพานสูง (เฉพาะแขวงทับช้าง) และเขตประเวศ (ยกเว้นแขวงหนองบอน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 21
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ณัฐพงศ์ เปรมพูลสวัสดิ์ (7) 44,959 47.05
ประชาธิปัตย์ กิตพล เชิดชูกิจกุล (1) 16,496 17.26
เพื่อไทย อรรฆรัตน์ นิติพน (13) 14,694 15.38
รวมไทยสร้างชาติ ประสิทธิ์ มะหะหมัด (5)* 13,518 14.14
ภูมิใจไทย สกุลรัตน์ ทิพย์วรรณงาม (3) 1,010 1.05
เสรีรวมไทย ฮารูน เมฆลอย (8) 915 0.95
ชาติพัฒนากล้า อรรถเวช กองนักวงษ์ (11) 807 0.84
พลังประชารัฐ แพรว กิจสุวรรณ (2) 785 0.82
ไทยสร้างไทย วรัญญา แอนดาริส (10) 720 0.75
แนวทางใหม่ พฤฒิบดี อาดำ (9) 387 0.40
ชาติไทยพัฒนา อริย์ธัช ชาติอาริยะพงศ์ (14) 360 0.37
อนาคตไทย เวโรฒ มาตยศิริ (12) 358 0.37
คลองไทย อภิวัฒน์ พิณทอง (6) 270 0.28
ไทยภักดี ทรงพจน์ เอกนิติภูมิ (4) 260 0.27
ประชาไทย อดุลย์ ณ ลำปาง (15)
ผลรวม 95,539 100.00
บัตรดี 95,539 96.33
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,325 2.34
บัตรเสีย 1,314 1.32
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 99,180 75.28
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

เขต 22[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 22 ประกอบด้วยเขตสวนหลวงและเขตประเวศ (เฉพาะแขวงหนองบอน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 22
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล สุภกร ตันติไพบูลย์ธนะ (8) 43,083 46.50
รวมไทยสร้างชาติ พงศ์พล ยอดเมืองเจริญ (12) 16,377 17.67
เพื่อไทย ธกร เลาหพงศ์ชนะ (9) 13,466 14.53
ภูมิใจไทย ร้อยตำรวจตรี มณฑล โพธิ์คาย (2)* 7,283 7.86
ประชาธิปัตย์ จักรวี วิสุทธิผล (5) 6,526 7.04
พลังประชารัฐ รัฐภูมิ โตคงทรัพย์ (1) 2,113 2.28
ชาติพัฒนากล้า ดิเรก ขันทพร (10) 1,038 1.12
ไทยสร้างไทย ธันวา ไกรฤกษ์ (11) 1,023 1.10
เสรีรวมไทย วีรกิตติ์ อภิโชควัชรศักดิ์ (3) 569 0.61
เส้นด้าย ฉัตรฉกฎ ดวงจิตพุทธคุณ (7) 475 0.51
ไทยภักดี ประเสริฐ กอเซ็มมูซอ (13) 252 0.27
ทางเลือกใหม่ มณฑิตา ฤทธิ์ธนสาโรจน์ (6) 200 0.21
คลองไทย ศรีนคร พันธุรัตน์ (14) 126 0.13
เพื่อชาติ ว่าที่ร้อยเอก อิทธิวัตร เพ็ชร์มีไชยสกุล (4) 120 0.12
ผลรวม 92,652 100.00
บัตรดี 92,652 95.45
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,145 3.24
บัตรเสีย 1,268 1.31
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 97,065 74.12
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 130,957 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขต 23[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 23 ประกอบด้วยเขตพระโขนงและเขตบางนา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 23
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ปิยรัฐ จงเทพ (11) 47,225 46.59
รวมไทยสร้างชาติ อัยรดา บำรุงรักษ์ (1) 17,956 17.71
เพื่อไทย กวีวงศ์ อยู่วิจิตร (3) 17,100 16.87
ไทยสร้างไทย ปณิธาน ประจวบเหมาะ (4) 5,308 5.23
ประชาธิปัตย์ สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ (8)✔ 4,547 4.48
พลังประชารัฐ ตรีสิทธิ์ ศิริวรรณ (5) 3,314 3.27
ชาติพัฒนากล้า ยศยา ชิยาปภารักษ์ (2) 1,487 1.46
ชาติไทยพัฒนา สมเกียรติ ถนอมสินธุ์ (9)* 1,323 1.30
ภูมิใจไทย มณีรัตน์ ลิมป์รัตนกาญจน์ (6) 1,002 0.98
เสรีรวมไทย พิสิษฐ์ ศิริอริยาพร (14) 856 0.84
เส้นด้าย ขจรศักดิ์ น้อยประดิษฐ์ (13) 348 0.34
อนาคตไทย อนุวัตร เมืองมัจฉา (7) 311 0.30
ทางเลือกใหม่ วีรชัย เหล่าเรืองวัฒนะ (12) 218 0.21
ไทยภักดี ฐิติมา กิจประพันธ์ (16) 205 0.20
ราษฎร์วิถี ธงไชย มหาโพธิ์ (15) 73 0.07
คลองไทย สุกรี สุวินัย (17) 70 0.06
เพื่อชาติ มูฮัมหมัด นอร์แมน กานตี้ (10)
ผลรวม 101,343 100.00
บัตรดี 101,343 95.63
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,361 3.17
บัตรเสีย 1,265 1.19
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 105,969 73.00
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 145,163 100.00
ก้าวไกล รักษาที่นั่ง

เขต 24[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 24 ประกอบด้วยเขตคลองสาน เขตธนบุรี (ยกเว้นแขวงวัดกัลยาณ์ แขวงหิรัญรูจี และแขวงบางยี่เรือ) และเขตราษฎร์บูรณะ (เฉพาะแขวงบางปะกอก)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 24
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล เท่าพิภพ ลิ้มจิตรกร (9)* 48,317 49.39
รวมไทยสร้างชาติ ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์ (7)** 18,320 18.72
เพื่อไทย ศิลปวิชญ์ น้อยสมมิตร (8) 17,316 17.70
ประชาธิปัตย์ ศิริภา อินทวิเชียร (11) 6,284 6.42
พลังประชารัฐ ศันสนะ สุริยะโยธิน (1) 2,033 2.07
ไทยสร้างไทย ภัชริ นิจสิริภัช (12) 1,693 1.73
เสรีรวมไทย ธิติพัทธ์ นรวิทย์โชติกุล (13) 868 0.88
ภูมิใจไทย เจณิสตา เตชะโสภณมณี (3) 775 0.79
ชาติพัฒนากล้า รัชตะ สมบัติลาภตระกูล (2) 728 0.74
ชาติไทยพัฒนา กัณฐณัฏฐ์ สุวรรณประภา (4) 456 0.46
ไทยภักดี นาวาโท ไชยยุทธ ศรีเปารยะ (14) 357 0.36
เพื่อชาติไทย มนต์สัณฑ์ อรรถปรีชาพล (6) 297 0.30
อนาคตไทย สุภชัย อื้อตระกูลชัย (5) 252 0.25
เพื่อชาติ ศักดินนท์ บุญพนาศรี (10) 122 0.12
ผลรวม 97,818 100.00
บัตรดี 97,818 94.89
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,649 3.54
บัตรเสีย 1,615 1.57
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 103,082 72.28
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 142,615 100.00
ก้าวไกล รักษาที่นั่ง

เขต 25[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 25 ประกอบด้วยเขตทุ่งครุและเขตราษฎร์บูรณะ (เฉพาะแขวงราษฎร์บูรณะ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 25
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล แอนศิริ วลัยกนก (9) 35,623 40.08
เพื่อไทย กิตติพล รวยฟูพันธ์ (14) 28,189 31.71
รวมไทยสร้างชาติ ทศพร ทองศิริ (12)* 12,264 13.80
ประชาธิปัตย์ ชยิน พึ่งสาย (7) 5,517 6.20
พลังประชารัฐ ระพีพัฒน์ สุเมธโชติเมธา (2) 1,808 2.03
ไทยสร้างไทย อมรศักดิ์ สินเหลือ (1) 1,313 1.47
ชาติพัฒนากล้า สวิชญา วาทะพุกกะณะ (8) 1,127 1.26
ภูมิใจไทย เจริญศักดิ์ มณีรัตนสุบรรณ (11) 670 0.75
อนาคตไทย วิชิต วราศิริกุล (15) 502 0.56
เสรีรวมไทย ชาติชาย ปัตตะพงศ์ (10) 490 0.55
ชาติไทยพัฒนา อดิศักดิ์ อู่งามสิน (6) 396 0.44
ไทยภักดี ธนเดช ตุลยลักษณะ (3) 354 0.39
เพื่อชาติ ภาคย์ธณิศ นุชน้อย (13) 212 0.23
เส้นด้าย สมัชญา พงศพัศเดชา (5) 164 0.18
แนวทางใหม่ สุชาติ เจริญเลิศวิริยะกิจ (4) 153 0.17
ทางเลือกใหม่ ประสงค์ ประสพโชค (16) 87 0.09
ผลรวม 88,869 100.00
บัตรดี 88,869 95.62
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,760 2.97
บัตรเสีย 1,313 1.41
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 92,942 74.05
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 125,512 100.00
ก้าวไกล รักษาที่นั่ง

เขต 26[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 26 ประกอบด้วยเขตบางขุนเทียน (เฉพาะแขวงท่าข้าม) และเขตจอมทอง (ยกเว้นแขวงบางขุนเทียน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 26
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ไชยามพวาน มั่นเพียรจิตต์ (11) 46,570 48.15
เพื่อไทย ศรัณยสัณฑ์ วีรกุลสุนทร (2) 19,813 20.48
รวมไทยสร้างชาติ มินทร์ ลักษิตานนท์ (7) 13,150 13.59
ประชาธิปัตย์ สุวัฒน์ ม่วงศิริ (12)✔ 8,892 9.19
ไทยสร้างไทย ธวัชชัย ทองสิมา (1) 3,722 3.84
ภูมิใจไทย โชติพิพัฒน์ เตชะโสภณมณี (8)* 2,282 2.35
เสรีรวมไทย ร้อยตำรวจเอก จักรกฤช ปิ่นกร (10) 534 0.55
ชาติไทยพัฒนา ภาณุภณ พฤฒิวโรดม (4) 488 0.50
ชาติพัฒนากล้า สงกรานต์ พงษ์พันนา (5) 470 0.48
ไทยภักดี ธีทัชฐ์ เกียรติลดารมย์ (6) 425 0.43
พลังประชารัฐ อนุชาญ กวางทอง (3) 362 0.37
คลองไทย ชยรพ อ่องยิ้ม (9)
ผลรวม 96,708 100.00
บัตรดี 96,708 95.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,659 2.62
บัตรเสีย 1,944 1.92
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 96,708 74.84
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 129,220 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

ทั้งนี้ หลังจากที่ผู้ได้รับเลือกตั้ง นายไชยามพวาน มั่นเพียรจิตต์ ถูกขับออกจากพรรคก้าวไกล เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ได้ย้ายเข้าสังกัดพรรคไทยก้าวหน้าในเวลาต่อมา

เขต 27[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 27 ประกอบด้วยเขตบางขุนเทียน (เฉพาะแขวงแสมดำ) และเขตบางบอน (เฉพาะแขวงบางบอนใต้และแขวงคลองบางบอน)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 27
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์ (1)* 50,035 51.18 +11.83
ประชาธิปัตย์ สากล ม่วงศิริ (6)✔ 23,351 23.88 -0.16
เพื่อไทย กมลพัฒน์ ปุงบางกะดี่ (4) 13,593 13.90
รวมไทยสร้างชาติ ภาสกร เงินเจริญกุล (2)** 6,973 7.13
ไทยสร้างไทย เศรษฐสรร จันทร์ทอง (10) 959 0.98
พลังประชารัฐ สาโรจน์ ซึ้งไพศาลกุล (12) 717 0.73
ชาติพัฒนากล้า ณัฐวรรธน์ พัชรพรนุกูล (7) 527 0.53
เสรีรวมไทย ว่าที่ร้อยตรี เทพทอง วัฒนพงศ์สวัสดิ์ (11) 484 0.49
ชาติไทยพัฒนา อัศวิน คูร์พิพัฒน์ (9) 345 0.35
ภูมิใจไทย สุทธิชัย เมฆสุวรรณ (13) 252 0.25
แนวทางใหม่ ณัชชา แสงเรืองฤทธิ์ (8) 174 0.17
เสมอภาค สิริพรโชค พฤทธเมธวิสุทธิ์ (14) 132 0.13
เพื่อชาติ ณัฐวุฒิ อวนทะเล (3) 109 0.11
ไทยภักดี อนันต์ นุนาบี (15) 102 0.10
คลองไทย สุธินี ธัมวิสุทธิวรากร (5)
ผลรวม 97,753 100.00
บัตรดี 97,753 96.65
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,919 1.90
บัตรเสีย 1,472 1.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,144 78.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 129,224 100.00
ก้าวไกล รักษาที่นั่ง

เขต 28[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 28 ประกอบด้วยเขตจอมทอง (เฉพาะแขวงบางขุนเทียน) เขตบางบอน (เฉพาะแขวงคลองบางพรานและแขวงบางบอนเหนือ) และเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองแขม)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 28
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล รักชนก ศรีนอก (4) 47,592 47.00
เพื่อไทย วัน อยู่บำรุง (10)* 26,479 26.15
ประชาธิปัตย์ วณิชชา ม่วงศิริ (9) 11,405 11.26
รวมไทยสร้างชาติ ทวนชัย นิยมชาติ (8) 10,579 10.44
ไทยสร้างไทย สมพร คงโครัด (6) 2,041 2.01
ชาติพัฒนากล้า ธนาวุฒิ รัศมีฉาย (5) 681 0.67
เสรีรวมไทย ศิวโรจณ์ แสงจรัสโชติ (7) 671 0.66
พลังประชารัฐ มานพ มารุ่งเรือง (1) 646 0.63
ไทยภักดี ว่าที่ร้อยตรี วิษณุ แพทย์คดี (2) 460 0.45
ภูมิใจไทย ฐาปนี โปร่งรัศมี (3) 380 0.37
ภราดรภาพ สุวลักษณ์ พวงมาลัย (11) 311 0.30
ผลรวม 101,245 100.00
บัตรดี 101,245 95.98
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,408 2.28
บัตรเสีย 1,836 1.74
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 105,489 77.20
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 136,644 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 29[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 29 ประกอบด้วยเขตหนองแขม (เฉพาะแขวงหนองค้างพลู) และเขตบางแค (เฉพาะแขวงบางไผ่และแขวงบางแคเหนือ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 29
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ทิสรัตน์ เลาหพล (8) 47,652 46.01
เพื่อไทย กฤชนนท์ อัยยปัญญา (9) 23,541 22.73
รวมไทยสร้างชาติ เกรียงไกร จงเจริญ (2) 15,700 15.16
ชาติพัฒนากล้า พันตำรวจเอก ทศพล โชติคุตร์ (5) 5,772 5.57
ประชาธิปัตย์ วัชระ เพชรทอง (6)✔ 5,045 4.87
ไทยสร้างไทย กิติ วงษ์กุหลาบ (10) 1,959 1.89
พลังประชารัฐ เอกชัย ผ่องจิตร์ (7) 1,948 1.88
เสรีรวมไทย ณัฐจักร์ อัศวโชติวัฒน์ (4) 992 0.95
ภูมิใจไทย ธัณยาการย์ เตชะพัฒน์สิริ (3) 558 0.53
ไทยศรีวิไลย์ อรศศิพัชร์ มามีเกตุรัตน์ (1) 278 0.26
คลองไทย กิจณพัฒน์ เอี่ยมวรกุล (12) 116 0.11
ไทยภักดี สมพงค์ กิจประพันธ์ (11)
ผลรวม 103,561 100.00
บัตรดี 103,561 95.28
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,037 2.79
บัตรเสีย 2,089 1.92
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 108,687 75.82
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 143,349 100.00
ก้าวไกล รักษาที่นั่ง

เขต 30[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 30 ประกอบด้วยเขตบางแค (เฉพาะแขวงหลักสองและแขวงบางแค) และเขตภาษีเจริญ (เฉพาะแขวงบางหว้า แขวงบางด้วน และแขวงคลองขวาง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 30
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ธัญธร ธนินวัฒนาธร (4) 49,770 49.87
เพื่อไทย สุภาภรณ์ คงวุฒิปัญญา (13)* 24,520 24.57
รวมไทยสร้างชาติ ศศิกานต์ วัฒนะจันทร์ (7) 15,783 15.81
ประชาธิปัตย์ ธนูชยานันท์ ปั้นบริสุทธิ์ (5) 2,633 2.63
ไทยสร้างไทย พีร์ โรจนดารา (3) 2,356 2.36
ชาติพัฒนากล้า วันชัย สุทธิอารีกุล (9) 1,273 1.27
เสรีรวมไทย พีรพล เตชวัชรพงศ์ (8) 729 0.73
พลังประชารัฐ สิทธิโชค คล้อยแสงอาทิตย์ (11) 645 0.64
ภูมิใจไทย ศุภิกา พัฒน์ธนันภู (1) 577 0.57
ไทยภักดี ศุภกิตติ์ ศีลอุดม (2) 502 0.50
ไทยสมาร์ท มณฑา พ่วงพุฒ (14) 394 0.39
เสมอภาค นลินภัสร์ องค์คุณารักษ์ (6) 282 0.28
ไทยศรีวิไลย์ สิษฐณัฐ บุญนาค (12) 196 0.19
ทางเลือกใหม่ นิธิวรรณ ปิยะนันทกุล (10) 128 0.12
ผลรวม 99,788 100.00
บัตรดี 99,788 95.27
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,230 3.08
บัตรเสีย 1,724 1.66
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 104,742 74.81
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 140,011 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก เพื่อไทย

เขต 31[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 31 ประกอบด้วยเขตทวีวัฒนาและเขตตลิ่งชัน (ยกเว้นแขวงบางเชือกหนัง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 31
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล สิริน สงวนสิน (13) 46,405 44.06
รวมไทยสร้างชาติ ประเวช แสวงสุข (5) 23,617 22.42
เพื่อไทย จิรวัฒน์ อรัณยกานนท์ (2)* 18,479 17.54
ไทยสร้างไทย กันตพงศ์ ดีชัยยะ (7) 4,642 4.40
ประชาธิปัตย์ พลวิทย์ เจริญพงศ์ (3) 3,591 3.40
พลังประชารัฐ นาวาตรี นิธิ บุญยรัตกลิน (1) 2,088 1.98
เสรีรวมไทย พันตำรวจโท วันชัย ฟักเอี้ยง (11) 1,964 1.86
ชาติพัฒนากล้า ศราพงศ์ อิศรศักดิ์ ณ อยุธยา (8) 1,367 1.29
ภูมิใจไทย พศิน ชาญศิลป์ (12) 1,357 1.28
ไทยภักดี กวิน ชาตะวนิช (4) 597 0.56
เพื่อชาติไทย ประกิจ ศิริมา (9) 322 0.30
เป็นธรรม ปิติพงศ์ เต็มเจริญ (10)✔ 247 0.23
ทางเลือกใหม่ วิละ อุดม (6) 245 0.23
เส้นด้าย สุวัฒน์ ไรโอ สมิทธ์กุล (14) 227 0.21
คลองไทย วริษอร เพชรศิริ (15) 161 0.15
ผลรวม 105,309 100.00
บัตรดี 105,309 95.19
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,708 3.35
บัตรเสีย 1,615 1.46
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 110,632 78.08
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 141,691 100.00
ก้าวไกล รักษาที่นั่ง

เขต 32[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 32 ประกอบด้วยเขตบางกอกใหญ่ เขตธนบุรี (เฉพาะแขวงวัดกัลยาณ์ แขวงหิรัญรูจี และแขวงบางยี่เรือ) เขตภาษีเจริญ (ยกเว้นแขวงบางหว้า แขวงบางด้วน และแขวงคลองขวาง) เขตตลิ่งชัน (เฉพาะแขวงบางเชือกหนัง) และเขตบางกอกน้อย (เฉพาะแขวงศิริราช)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 32
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล ปวิตรา จิตตกิจ (9) 43,115 44.72
เพื่อไทย อารุม ตุ้มน้อย (13) 18,736 19.43
รวมไทยสร้างชาติ อิทธิพัทธ์ เศรษฐยุกานนท์ (5) 14,888 15.44
ประชาธิปัตย์ วิลาศ จันทร์พิทักษ์ (2)✔ 11,633 12.06
ภูมิใจไทย อัชญา จุลชาต (7) 1,597 1.65
ชาติพัฒนากล้า อรไพลิน อัครเลิศวรปรีชา (4) 1,383 1.43
ไทยสร้างไทย นิธิสนี กลิ่นพันธหิรัญ (10) 958 0.99
พลังประชารัฐ บุณณดา สุปิยพันธุ์ (6) 935 0.96
เสรีรวมไทย ณชิต อำนาจเดชานนท์ (3) 899 0.93
ชาติไทยพัฒนา วาริช อินทนนท์ (12) 482 0.49
เป็นธรรม เอษณา จรัสสุริยพงศ์ (14) 448 0.46
ไทยภักดี ชลายน ชลายนเดชะ (1) 444 0.46
เส้นด้าย ยุทธนา ทองแสนดี (11) 336 0.34
ทางเลือกใหม่ สมชาย จรุญวงษ์ (8) 335 0.34
พลังสังคม พิสณฑ์ ชลายนนาวิน (15) 114 0.11
คลองไทย ทวี สูงหางหว้า (16) 99 0.10
ผลรวม 96,402 100.00
บัตรดี 96,402 94.87
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,441 3.39
บัตรเสีย 1,772 1.74
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 101,615 71.26
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 142,598 100.00
ก้าวไกล ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขต 33[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 33 ประกอบด้วยเขตบางพลัดและเขตบางกอกน้อย (ยกเว้นแขวงศิริราช)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 33 (แบบแบ่งเขต)

  พงศ์พันธ์ (56.71%)
  รัดเกล้า (14.04%)
  ธิติวัฐ (12.56%)
  ชนินทร์ (7.17%)
  อื่น ๆ (9.52%)

ผลการเลือกตั้งล่วงหน้าและนอกราชอาณาจักร เขตเลือกตั้งที่ 33 (แบบบัญชีรายชื่อ)

  ก้าวไกล (59.52%)
  รวมไทยสร้างชาติ (15.65%)
  เพื่อไทย (14.34%)
  ประชาธิปัตย์ (3.02%)
  อื่น ๆ (7.47%)
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร เขต 33
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ก้าวไกล พงศ์พันธ์ ยอดเมืองเจริญ (6) 45,189 43.35
รวมไทยสร้างชาติ รัดเกล้า อินทวงศ์ สุวรรณคีรี (5) 18,628 17.87
ประชาธิปัตย์ ชนินทร์ รุ่งแสง (7)✔ 15,817 15.17
เพื่อไทย ธิติวัฐ อดิศรพันธ์กุล (13) 15,053 14.44
ภูมิใจไทย จักรพันธ์ พรนิมิตร (1)* 4,100 3.93
ไทยสร้างไทย ณัฐวัฒน์ พอใช้ได้ (12) 1,078 1.03
พลังประชารัฐ คมสัน พันธุ์วิชาติกุล (15) 1,041 0.99
เสรีรวมไทย นนทิกา ครองสินทรัพย์ (11) 905 0.86
ชาติพัฒนากล้า กฤษณ์ สุริยผล (2) 791 0.75
ไทยภักดี ว่าที่ร้อยตรี สานนท์ บุญมี (9) 652 0.62
เส้นด้าย ปลวัชร แสงกิตติกร (4) 229 0.21
เพื่อชาติ รัชนก ศรีทองแท้ (8) 215 0.20
เพื่อชาติไทย พัทธวรรณ รุจิรชัย (3) 153 0.14
ไทยสมาร์ท ว่าที่ร้อยเอก บรรพต ครองผล (16) 150 0.14
พลังสังคมใหม่ ภพพร เปลี่ยนจินดา (14) 142 0.13
ทางเลือกใหม่ พิมพ์นารา พึงรุ่งเรืองวัฒนา (10) 88 0.08
ผลรวม 104,231 100.00
บัตรดี 104,231 95.40
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,210 2.94
บัตรเสีย 1,811 1.66
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 109,252 73.41
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 148,824 100.00
ก้าวไกล ได้ที่นั่งจาก พลังประชารัฐ

การรณรงค์หาเสียง[แก้]

เชิงอรรถ[แก้]

  1. จำนวนที่นั่งเดิมของพรรคก้าวไกล เปรียบเทียบจากจำนวนที่นั่งที่พรรคอนาคตใหม่เคยได้รับ
  2. ในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2562 ประยุทธ์เป็นผู้ที่พรรคพลังประชารัฐเสนอชื่อให้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่เขามิได้เป็นสมาชิกพรรคดังกล่าว ต่อมาในปี พ.ศ. 2566 เขาได้สมัครเป็นสมาชิกพรรครวมไทยสร้างชาติ

อ้างอิง[แก้]

  1. "ด่วน! กกต.เคาะเลือกตั้ง 2566 อาทิตย์ที่ 14 พ.ค.รับสมัคร ส.ส. 3-7 เม.ย." PPTV. 2023-03-21. {{cite web}}: |first= ไม่มี |last= (help)
  2. เอ๋ (2022-06-27). "กกต. เคาะแล้ว! ส.ส. 400 เขต รับเลือกตั้งปี 66 กทม. เพิ่มเยอะสุด".
  3. "กกต.กทม.โชว์ 5 รูปแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 66 เปิดแสดงความเห็น 4-13 ก.พ." bangkokbiznews. 2023-02-03.
  4. MINGKWAN, PAIRUCH. "'สมชัย' เตือน กกต.รื้อแบ่งเขตเลือกตั้ง กทม.ใหม่ด้วยเหตุผลนี้!". เดลินิวส์.
  5. "กกต.สั่ง 5 จว. กทม. ชลบุรี เชียงใหม่ ปัตตานี สมุทรปราการ แบ่งเขตเลือกตั้งใหม่". thansettakij. 2023-02-06.
  6. 6.0 6.1 "สลายฐาน กทม. "เพื่อไทย" ซอยแขวง แบ่งเขต สกัด แลนด์สไลด์". bangkokbiznews. 2023-02-22.
  7. "สแกน กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง กทม. พลังประชารัฐ ล็อกสเป็ก ส.ส. 10 ที่นั่ง". ประชาชาติธุรกิจ. สืบค้นเมื่อ 7 มีนาคม 2023.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  8. "'เพื่อไทย' ค้านแบ่งเขตเลือกตั้ง กทม.แบบที่ 6-7-8 เหตุขัด พ.ร.ป.เลือกตั้ง - กกต.เตรียมหาข้อยุติคำนวณ ส.ส." prachatai.com.
  9. หมายเหตุ: ข้อเท็จจริงที่จะกล่าวต่อไปนี้มีพื้นฐานจากการคำนวณสัดส่วนจำนวนประชากรในแต่ละเขตเลือกตั้งในพื้นที่เขตเลือกตั้งเดิมในปี 2562 โดยใช้จำนวนประชากรที่มีสัญชาติไทยในพื้นที่ของปีพ.ศ. 2565 ในการวิเคราะห์การแบ่งเขตเลือกตั้ง
  10. Rocket Media Lab (28 Feb 2023). "เปิดข้อมูลผู้มีสิทธิเลือกตั้ง '66 รายภาค-รายจังหวัด และจำนวน ส.ส.เขต '62-'66". สืบค้นเมื่อ 18 Aug 2023.