ข้ามไปเนื้อหา

ไม้โท

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรไทย
–้
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

ไม้โท (◌้) เป็นวรรณยุกต์ตัวหนึ่งของไทย ใช้เติมเหนือพยัญชนะต้นของคำ และเหนือสระบนขึ้นไปอีกถ้ามี เพื่อให้เกิดการผันเสียงวรรณยุกต์ซึ่งขึ้นอยู่กับไตรยางศ์ และเปลี่ยนความหมายของคำให้เป็นอย่างอื่น

พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงประดิษฐ์ไม้โทในภาษาไทย เพื่อให้เกิดความแตกต่างจากอักษรขอมและอักษรตระกูลภาษาอินเดียอื่น ๆ ที่ทรงยืมมาใช้ โดยเริ่มแรกไม้โทมีลักษณะเป็นรูปกากบาทเหมือนไม้จัตวา (◌๋) แต่ปัจจุบันมีลักษณะคล้ายเลขอารบิก (2) ที่หางชี้ขึ้นข้างบน