ข้ามไปเนื้อหา

สนามฟุตบอล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ขนาดสนามฟุตบอลมาตรฐาน แต่ละสนามอาจมีขนาดไม่เหมือนกัน แต่ขนาด 105ม. (115หลา) ต่อ 68ม. (74หลา) เป็นขนาดที่นิยมใช้กันมากที่สุดสำหรับสนามทีมฟุตบอลอาชีพ (ตัวอย่าง เช่น กัมนอว์, ซานซีโร, โอลด์แทรฟฟอร์ด, อัลลีอันทซ์อาเรนา) กับสนามอื่นที่มีขนาดเล็กกว่า (สนามกีฬาสแตมฟอร์ดบริดจ์, ซานเตียโก เบร์นาเบว, La Bombonera)

สนามฟุตบอล คือบริเวณที่ใช้การเล่นฟุตบอลซึ่งเป็นสนามรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากและมีพื้นสนามเป็นหญ้า โดยบนสนามจะมีเส้นสีขาวแสดงถึงขอบเขตของสนาม โดยเส้นสี่เหลี่ยมรอบนอกจะเป็นเส้นขอบสนาม ซึ่งเมื่อลูกฟุตบอลยังอยู่บนเส้นหรือลอยเหนือเส้น ยังถือว่าลูกฟุตบอลอยู่ในสนาม ยกเว้นแต่ว่าลูกฟุตบอลทั้งลูกออกภายนอกเส้น เช่นเดียวกับการทำประตู ถ้าลูกฟุตบอลยังคงอยู่เหนือเส้นยังไม่ถือว่าเป็นประตู วงกลมตรงกลางสนามจะเป็นจุดเริ่มต้นของการแข่งขัน โดยลูกฟุตบอลจะถูกวางไว้ตรงจุดศูนย์กลางของวงกลม สำหรับกรอบสี่เหลี่ยมที่อยู่ปลายทั้งสองข้างของสนามคือ กรอบเขตโทษ และจะมีจุดโทษอยู่ภายในสำหรับวางตำแหน่งของลูกฟุตบอลใน การยิงลูกโทษ

เกร็ดข้อมูล

[แก้]
  • ยูฟ่า ได้มีการให้คะแนนสนามฟุตบอลเป็นคะแนนดาว โดยสนามฟุตบอล 5 ดาว จะหมายถึงสนามที่มีคุณภาพพอที่สามารถจัดการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก และยูฟ่ายูโรปาลีกได้ โดยสนามต้องสามารถจุผู้ชมได้มากกว่า 50,000 คน สำหรับสนามฟุตบอล 4 ดาว จะสามารถจัดการแข่งขันยูฟ่ายูโรปาลีกได้ โดยต้องมีความจุมากกว่า 30,000 คน

รายชื่อสนามฟุตบอล

[แก้]

สนามที่มีความจุ มากกว่า 80,000 คน

[แก้]
ชื่อ ความจุ สถานที่ ทีม
สนามกีฬารึงนาโด 1 พฤษภาคม 114,000 เกาหลีเหนือ เปียงยาง เกาหลีเหนือ ทีมชาติเกาหลีเหนือ
มิชิแกนสเตเดียม 107,601 สหรัฐ แอนน์ อาเบอร์ สหรัฐอเมริกา
สนามคริกเก็ตเมลเบิร์น 100,024 ออสเตรเลีย เมลเบิร์น ออสเตรเลีย
กัมนอว์ 99,354 สเปน บาร์เซโลนา สเปน บาร์เซโลนา, ทีมชาติกาตาลุญญา (บางนัด)
ซอกเกอร์ซิตี 94,736 แอฟริกาใต้ โจฮันเนสเบิร์ก แอฟริกาใต้ ทีมชาติแอฟริกาใต้ , ไกเซอร์ชีฟส์
โรสโบว์ 92,542[1] สหรัฐ แพซาดีนาสหรัฐอเมริกา
สนามกีฬาเวมบลีย์ 90,000 อังกฤษ ลอนดอน อังกฤษ ทีมชาติอังกฤษ (เปิดใช้งาน 2550 หลังจากปิดปรับปรุง)
อัซเตกา 87,523 เม็กซิโก เม็กซิโกซิตี เม็กซิโก ทีมชาติเม็กซิโก , กลุบอาเมริกา
สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล 87,411 มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย ทีมชาติมาเลเซีย
สนามกีฬา บอร์ก เอล อาหรับ 86,000 อียิปต์ บอร์ก เอล อาหรับ อียิปต์ ทีมชาติอียิปต์ , อัลอิทิฮัด
สนามกีฬาซอล์ทเลก 85,000 อินเดีย โกลกาตา อินเดีย ทีมชาติอินเดีย , อีสต์เบงกอล , โมฮันบากัน
สนามกีฬาออสเตรเลีย 82,500 ออสเตรเลีย ซิดนีย์ ออสเตรเลีย ทีมชาติออสเตรเลีย (บางนัด)
สนามกีฬาเมตไลฟ์ 82,500 สหรัฐ อีสท์ รัธเธอร์ฟอร์ด สหรัฐ
โครกพาร์ก 82,500 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ดับลิน ไอร์แลนด์
เฟดเอ็กซ์ฟิลด์ 82,000 สหรัฐ แลนด์โอเวอร์ สหรัฐ
เว็สท์ฟาเลินชตาดีอ็อน 81,365 เยอรมนี ดอร์ทมุนด์ เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ , ทีมชาติเยอรมนี (บางนัด)
สตาดเดอฟร็องส์ 81,338 ฝรั่งเศส แซ็ง-เดอนี ฝรั่งเศส ทีมชาติฝรั่งเศส
สนามกีฬาซานเตียโก เบร์นาเบว 81,044 สเปน มาดริด สเปน เรอัลมาดริด
สนามกีฬาลุจนีกี 81,000 รัสเซีย มอสโก รัสเซีย
สนามกีฬาชาห์อาลัม 80,372 มาเลเซีย ชะฮ์อาลัม มาเลเซีย เซอลาโงร์
สนามกีฬาอนุสรณ์ 80,093 เปรู ลิมา เปรู อูนิเบร์ซิตาริโอ
ซานซีโร 80,018 อิตาลี มิลาน อิตาลี อินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน, เอซี มิลาน
สนามกีฬาโอลิมปิกกวางตุ้ง 80,012 จีน กว่างโจว จีน

สนามฟุตบอลอื่น

[แก้]

สหราชอาณาจักร

[แก้]

อังกฤษ

สกอตแลนด์

เวลส์

ไอร์แลนด์เหนือ

อิตาลี

[แก้]

สเปน

[แก้]

เยอรมนี

[แก้]

ฝรั่งเศส

[แก้]

เนเธอร์แลนด์

[แก้]

โปรตุเกส

[แก้]

เบลเยียม

[แก้]

รัสเซีย

[แก้]

ยูเครน

[แก้]

กรีซ

[แก้]

ตุรกี

[แก้]

ญี่ปุ่น

[แก้]

เกาหลีใต้

[แก้]

จีน

[แก้]

ไทย

[แก้]

เม็กซิโก

[แก้]

สหรัฐ

[แก้]

อาร์เจนตินา

[แก้]

บราซิล

[แก้]

แอฟริกาใต้

[แก้]

อียิปต์

[แก้]

ออสเตรเลีย

[แก้]

นิวซีแลนด์

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. {{cite web|title=History|url=http://www.rosebowlstadium.com/about/history%7Cwebsite=Rose[ลิงก์เสีย] Bowl Stadium|publisher=Rose Bowl Stadium