ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไปยาลใหญ่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Natthakorn TH (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขเล็กน้อย
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9503023 โดย 2405:9800:B620:3F20:A0EF:1B98:66C4:FB5E: มี 76ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{อักษรไทย1|ฯลฯ}}
{{อักษรไทย1|ฯลฯ}}
'''ไปยาลใหญ่''' หรือ '''เปยยาลใหญ่''' (ฯลฯ) เป็น[[เครื่องหมายวรรคตอน]]อย่างหนึ่ง ในการเขียน[[ภาษาไทย]] มีรูปเป็น[[อักษรไทย]] [[ล]] ที่อยู่ระหว่างเครื่องหมายไปยาลสองตัว ใช้ละคำต่อท้ายที่ยังมีอีกมาก ยังไม่ปรากฏที่มาที่ชัดเจนแต่อย่างไร
'''ไปยาลใหญ่''' หรือ '''เปยยาลใหญ่''' (ฯลฯ) เป็น[[เครื่องหมายวรรคตอน]]อย่างหนึ่ง ในการเขียน[[ภาษาไทย]] มีรูปเป็น[[อักษรไทย]] [[ล]] ที่อยู่ระหว่างเครื่องหมายไปยาลสองตัว ใช้ละคำต่อท้ายที่ยังมีอีกมาก ยังไม่ปรากฏที่มาที่ชัดเจน


คำว่า ''ไปยาล'' มาจาก คำว่า ''เปยฺยาล'' ใน[[ภาษาบาลี]] แปลว่า ย่อ ซึ่งเมื่อเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรไทย จะใช้ '''ฯเปฯ''' ในคำสวดแทน<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=320 พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม] (ตัวอย่างการใช้ ฯเปฯ)</ref>
คำว่า ''ไปยาล'' มาจาก คำว่า ''เปยฺยาล'' ใน[[ภาษาบาลี]] แปลว่า ย่อ ซึ่งเมื่อเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรไทย จะใช้ '''ฯเปฯ''' ในคำสวดแทน<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=320 พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม] (ตัวอย่างการใช้ ฯเปฯ)</ref>
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
#* ''พยัญชนะไทย 44 ตัว มี ก ฯลฯ ฮ''
#* ''พยัญชนะไทย 44 ตัว มี ก ฯลฯ ฮ''
#* ''ข้าวรพุทธเจ้า ฯลฯ ชโย''
#* ''ข้าวรพุทธเจ้า ฯลฯ ชโย''
#*จังหวัดในประเทศไทยมี 77 จังหวัด ได้แก่ นครราชสีมา ภูเก็ต บึงกาฬ ฯลฯ


== ไปยาลใหญ่ในภาษาอื่น ==
== ไปยาลใหญ่ในภาษาอื่น ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:24, 20 กรกฎาคม 2564

อักษรไทย
ฯลฯ
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

ไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ (ฯลฯ) เป็นเครื่องหมายวรรคตอนอย่างหนึ่ง ในการเขียนภาษาไทย มีรูปเป็นอักษรไทย ที่อยู่ระหว่างเครื่องหมายไปยาลสองตัว ใช้ละคำต่อท้ายที่ยังมีอีกมาก ยังไม่ปรากฏที่มาที่ชัดเจน

คำว่า ไปยาล มาจาก คำว่า เปยฺยาล ในภาษาบาลี แปลว่า ย่อ ซึ่งเมื่อเขียนภาษาบาลีด้วยอักษรไทย จะใช้ ฯเปฯ ในคำสวดแทน[1]

การใช้ไปยาลใหญ่

  1. ใช้ละคำที่ยังมีต่อท้ายอีกมาก ให้อ่านว่า "ละ" หรือ "และอื่น ๆ" เช่น
    • ในหลายจังหวัดของภาคอีสาน ได้แก่ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ขอนแก่น ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ฯลฯ
  2. ในหนังสือโบราณ มีการใช้เครื่องหมายไปยาลใหญ่ คั่นกลาง ระหว่าง คำต้น และคำท้าย ให้อ่านว่า "ละถึง" เช่น
    • พยัญชนะไทย 44 ตัว มี ก ฯลฯ ฮ
    • ข้าวรพุทธเจ้า ฯลฯ ชโย

ไปยาลใหญ่ในภาษาอื่น

ภาษาอื่นที่ใช้ไปยาลใหญ่คือภาษาเขมร () ใช้ละคำต่อท้ายที่ยังมีอีกมากเหมือนกับภาษาไทย เป็นอักขระตัวเดียวในคอมพิวเตอร์ต่างจากอักษรไทย

อ้างอิง