ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
{{หนังสือพิมพ์ไทย}}
{{หนังสือพิมพ์ไทย}}
[[หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:หนังสือพิมพ์ในประเทศไทย]]

== ผู้จัดการสุดสัปดาห์ ==

{{กล่องข้อมูล นิตยสาร
| title = ผู้จัดการสุดสัปดาห์
| image_file =
| image_caption =
| editor =
| frequency = รายสัปดาห์ (weekly)
| category = นิตยสาร
| company =
| firstdate = 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552
| country = [[ประเทศไทย]]
| language = [[ภาษาไทย|ไทย]]
| website = [https://mgronline.com/daily/1549]
| issn =
|finaldate=
|}}
'''ผู้จัดการสุดสัปดาห์''' เป็นนิตยสารรายสัปดาห์ประเภทข่าวสารบ้านเมืองในเครือ[[ผู้จัดการ]] มีต้นกำเนิดมาจาก การเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่ง ของหนังสือพิมพ์[[ผู้จัดการรายวัน]] ฉบับประจำวันเสาร์ ซึ่งเริ่มนำเสนอเนื้อหาในลักษณะดังกล่าว ตั้งแต่ฉบับประจำวันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552


== ผู้จัดการออนไลน์ ==
== ผู้จัดการออนไลน์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:54, 27 กุมภาพันธ์ 2563

กรุงเทพธุรกิจ
ไฟล์:"มือขวาของมืออาชีพ"
ประเภทหนังสือพิมพ์รายวัน
ขนาดธุรกิจ (Business)
เจ้าของบริษัท กรุงเทพธุรกิจ มีเดีย จำกัด
ผู้เผยแพร่เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป
หัวหน้าบรรณาธิการสุทธิชัย หยุ่น
บรรณาธิการบริหารดวงกมล โชตะนา
ก่อตั้งเมื่อ6 ตุลาคม พ.ศ. 2530 (36 ปี)
ภาษาภาษาไทย

ผู้จัดการ ก่อตั้งเมื่อวันพุธที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533 โดยสนธิ ลิ้มทองกุล เริ่มมีชื่อเสียงโดดเด่น ในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬพ.ศ. 2535 หลังการปราบปรามประชาชน ที่ชุมนุมต่อต้านรัฐบาล พล.อ.สุจินดา คราประยูร ขณะที่สื่อโทรทัศน์ในประเทศ ถูกควบคุมการเสนอข่าวโดยรัฐบาล และไม่รายงานการสูญเสียชีวิตของประชาชน ต่อมามีการตรวจสอบ และควบคุมการเสนอข่าว และภาพข่าว ที่ลงตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์อย่างเข้มงวด อย่างไรก็ตาม ผู้จัดการรายวัน ร่วมกับหนังสือพิมพ์อื่น เช่น เดอะเนชั่น, กรุงเทพธุรกิจ และ แนวหน้า ตีพิมพ์ภาพข่าวการปราบปรามประชาชน นอกจากนั้น ยังมีการตีพิมพ์หนังสือพิมพ์ผู้จัดการฉบับพิเศษ แจกฟรีไปทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อรายงานข่าวการชุมนุมบนถนนราชดำเนิน จนถูกรัฐบาลดำเนินคดี และสั่งปิดเป็นเวลาสองวัน


ผู้จัดการออนไลน์

ไฟล์:ManagerOnline.png
หน้าแรก ผู้จัดการออนไลน์

ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2549 จากการจัดอันดับโดยอเล็กซา ผู้จัดการออนไลน์เป็นเว็บไซต์ข่าวที่ผู้ใช้จากประเทศไทยเข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 และเป็นอันดับ 10 จากเว็บไซต์รวมทุกประเภท[1] และจากการจัดอันดับโดยทรูฮิตส์ เป็นเว็บไซต์ข่าวที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และมากเป็นอันดับ 3 หากรวมทุกประเภท[2]

ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 จากการจัดอันดับโดยทรูฮิตส์ ที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย และเป็นอันดับ 5 หากรวมทุกประเภท[3]


แหล่งข้อมูลอื่น

  1. 100 เว็บยอดนิยมอันดับแรกของประเทศไทย จัดอันดับโดยเว็บไซต์ อเล็กซา
  2. จัดอันดับเว็บ โดย Truehits.net
  3. จัดอันดับเว็บ โดย Truehits.net