ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเมยวดี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AzazeltiT (Titlezaza) (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
AzazeltiT (Titlezaza) (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22: บรรทัด 22:


== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==

อำเภอเมยวดีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้
อำเภอเมยวดีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอกุฉินารายณ์]] ([[จังหวัดกาฬสินธุ์]])
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอกุฉินารายณ์]] ([[จังหวัดกาฬสินธุ์]])
บรรทัด 27: บรรทัด 28:
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับอำเภอหนองพอกและ[[อำเภอโพนทอง]]
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับอำเภอหนองพอกและ[[อำเภอโพนทอง]]
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับอำเภอโพนทอง
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับอำเภอโพนทอง

== ประวัติ ==
อำเภอเมยวดี ตั้งอยู่บ้านใหม่สถานี หมู่ที่ 6 ตำบลเมยวดี เดิมเป็นทุ่งนาป่าละเมาะ นายบุญตา มูลศรีแก้ว ได้จัดซื้อที่นาเหล่านี้ แล้วจัดแบ่งให้ทางราชการเพื่อสร้างเป็นที่ว่าการกิ่งอำเภอ สถานีตำรวจ สถานีอนามัย โรงเรียน วัด และบริเวณที่ตั้งตลาดสด เป็นต้น

นายบุญตา มูลศรีแก้วได้ยื่นร้องขอตั้งกิ่งอำเภอเมยวดี โดยแยกจากอำเภอโพนทองเมื่อ พ.ศ.2506 แต่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2521 ตามประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]]เรื่อง “แบ่งท้องที่อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด” ตั้งเป็น กิ่งอำเภอเมยวดี ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2521 ลงนามโดย [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีเขตการปกครอง 2 ตำบล คือ ตำบลชุมพรและตำบลเมยวดี <ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=95|issue=42 ง|pages=1124|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งท้องที่อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งเป็นกิ่งอำเภอเมยวดี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2521/D/042/1124.PDF|date=April 18, 2521}}</ref> เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว สถานที่ราชการยังไม่มี นายบุญพ่วง ถนัดค้า ให้บ้านส่วนตัวเป็นสถานที่ทำงานของกิ่งอำเภอ และส่วนราชการต่างๆ <ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=110|issue=179 ก ฉบับพิเศษฃ|pages=1–3|title=พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอลำทับ อำเภอร่องคำ อำเภอเวียงแหง อำเภอนาโยง อำเภอแก้งสนามนาง อำเภอโนนแดง อำเภอบ้านหลวง อำเภอกะพ้อ อำเภอศรีบรรพต อำเภอแก่งกระจาน อำเภอหนองสูง อำเภอสบเมย อำเภอเมยวดี อำเภอโคกเจริญ อำเภอทุ่งหัวช้าง อำเภอผาขาว อำเภอวังหิน อำเภอดอนพุด อำเภอบึงโขงหลง และอำเภอห้วยคต พ.ศ. ๒๕๓๖|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/A/179/1.PDF|date=November 3, 2536}}</ref>

ปี พ.ศ.2523 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารที่ว่าการกิ่งอำเภอ ได้อาคารเป็นแบบอำเภอข้าราชการได้ขึ้นทำงานที่อาคารหลังใหม่เมื่อปี พ.ศ.2524 ต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2536 ทางราชการได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะกิ่งอำเภอเป็นอำเภอเมยวดี


== การแบ่งเขตการปกครอง ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:41, 1 ตุลาคม 2562

อำเภอเมยวดี
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Moei Wadi
คำขวัญ: 
เมยวดีเมืองพ่อสีหราช สวยสะอาดด้วยน้ำใจ เลื่องลือไกลผ้าลายขิต ถิ่นผลิตอ้อยหวาน ทุกหมู่บ้านพัฒนา
แผนที่จังหวัดร้อยเอ็ด เน้นอำเภอเมยวดี
แผนที่จังหวัดร้อยเอ็ด เน้นอำเภอเมยวดี
พิกัด: 16°23′18″N 104°9′24″E / 16.38833°N 104.15667°E / 16.38833; 104.15667
ประเทศ ไทย
จังหวัดร้อยเอ็ด
พื้นที่
 • ทั้งหมด180.59 ตร.กม. (69.73 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2561)
 • ทั้งหมด23,147 คน
 • ความหนาแน่น128.17 คน/ตร.กม. (332.0 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 45250
รหัสภูมิศาสตร์4515
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอเมยวดี หมู่ที่ 6 ตำบลเมยวดี อำเภอเมยวดี จังหวัดร้อยเอ็ด 45250
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

อำเภอเมยวดี [เมย-วะ-ดี] เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดร้อยเอ็ด

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอเมยวดีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอข้างเคียง ดังนี้

ประวัติ

อำเภอเมยวดี ตั้งอยู่บ้านใหม่สถานี หมู่ที่ 6 ตำบลเมยวดี เดิมเป็นทุ่งนาป่าละเมาะ นายบุญตา มูลศรีแก้ว ได้จัดซื้อที่นาเหล่านี้ แล้วจัดแบ่งให้ทางราชการเพื่อสร้างเป็นที่ว่าการกิ่งอำเภอ สถานีตำรวจ สถานีอนามัย โรงเรียน วัด และบริเวณที่ตั้งตลาดสด เป็นต้น

นายบุญตา มูลศรีแก้วได้ยื่นร้องขอตั้งกิ่งอำเภอเมยวดี โดยแยกจากอำเภอโพนทองเมื่อ พ.ศ.2506 แต่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกิ่งอำเภอเมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2521 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง “แบ่งท้องที่อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด” ตั้งเป็น กิ่งอำเภอเมยวดี ลงวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.2521 ลงนามโดย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีเขตการปกครอง 2 ตำบล คือ ตำบลชุมพรและตำบลเมยวดี [1] เมื่อได้รับอนุญาตแล้ว สถานที่ราชการยังไม่มี นายบุญพ่วง ถนัดค้า ให้บ้านส่วนตัวเป็นสถานที่ทำงานของกิ่งอำเภอ และส่วนราชการต่างๆ [2]

ปี พ.ศ.2523 ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารที่ว่าการกิ่งอำเภอ ได้อาคารเป็นแบบอำเภอข้าราชการได้ขึ้นทำงานที่อาคารหลังใหม่เมื่อปี พ.ศ.2524 ต่อมาเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ.2536 ทางราชการได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะกิ่งอำเภอเป็นอำเภอเมยวดี

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอเมยวดีแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 ตำบล 43 หมู่บ้าน ได้แก่

ลำดับ อักษรไทย อักษรโรมัน หมู่บ้าน ประชากร [a] [3]
1 เมยวดี Moei Wadi 11 5,734
2 ชุมพร Chumphon 14 8,130
3 บุ่งเลิศ Bung Loet 9 4,932
4 ชมสะอาด Chom Sa-at 9 4,339
รวม 43 23,135

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอเมยวดีประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลชุมพร ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชุมพรทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลเมยวดี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเมยวดีทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลบุ่งเลิศ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบุ่งเลิศทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลชมสะอาด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลชมสะอาดทั้งตำบล

อ้างอิง

  1. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งท้องที่อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ตั้งเป็นกิ่งอำเภอเมยวดี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 95 (42 ง): 1124. April 18, 2521.
  2. "พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอลำทับ อำเภอร่องคำ อำเภอเวียงแหง อำเภอนาโยง อำเภอแก้งสนามนาง อำเภอโนนแดง อำเภอบ้านหลวง อำเภอกะพ้อ อำเภอศรีบรรพต อำเภอแก่งกระจาน อำเภอหนองสูง อำเภอสบเมย อำเภอเมยวดี อำเภอโคกเจริญ อำเภอทุ่งหัวช้าง อำเภอผาขาว อำเภอวังหิน อำเภอดอนพุด อำเภอบึงโขงหลง และอำเภอห้วยคต พ.ศ. ๒๕๓๖" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 110 (179 ก ฉบับพิเศษฃ): 1–3. November 3, 2536.
  3. กระทรวงสาธารณสุข (1 มกราคม 2562). "จำนวนประชากรทะเบียนราษฏร์ ย้อนหลัง 3 ปี". hdcservice.moph.go.th. สืบค้นเมื่อ 30 กันยายน 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน