ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยกยาการ์ตา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bagas Hutagalung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
| image_map = Mataram 1830-en.png
| image_map = Mataram 1830-en.png
| map_caption = <center> The realm of '''Surakarta Sunanate''' (red) and '''Yogyakarta Sultanate''' (green) in 1830 </center>
| map_caption = <center> The realm of '''Surakarta Sunanate''' (red) and '''Yogyakarta Sultanate''' (green) in 1830 </center>
|capital = [[ยกยาการ์ตา (เมือง)|ยกยาการ์ตา]]
|capital = [[ยอร์ค จาการ์ตาร์]]
|common_languages = [[Javanese language|Javanese]]
|common_languages = [[Javanese language|Javanese]]
|government_type = ราชาธิปไตย
|government_type = ราชาธิปไตย
บรรทัด 42: บรรทัด 42:
|footnotes =
|footnotes =
}}
}}
'''ยกยาการ์ตา''' ({{lang-id|Yogyakarta}}) เป็นเมืองหลวงของเขตปกครองพิเศษยกยาการ์ตา [[เกาะชวา]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] ที่นี่ถือว่าเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมชวาโบราณทั้งในด้านดนตรี นาฏศิลป์ และงานฝีมือ ยกยาการ์ตาเคยเป็นเมืองหลวงในช่วงที่อินโดนีเซียเรียกร้องเอกราชจากดัชต์ในปีช่วง ค.ศ.1945 - 1949
'''ยกยาการ์ตา''' ({{lang-id|Kesultanan Ngayogyakarta Hadiningrat}}, {{lang-jv|꧋ꦟꦒꦫꦶꦏꦑꦱꦸꦭ꧀ꦠꦤ꧀ꦤꦤ꧀ꦔꦪꦺꦴꦓꦾꦑꦂꦡ​ꦲꦢꦶꦟꦶꦁꦫꦡ꧀꧈}}) เป็นเมืองหลวงของเขตปกครองพิเศษยกยาการ์ตา [[เกาะชวา]] [[ประเทศอินโดนีเซีย]] ที่นี่ถือว่าเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมชวาโบราณทั้งในด้านดนตรี นาฏศิลป์ และงานฝีมือ ยกยาการ์ตาเคยเป็นเมืองหลวงในช่วงที่อินโดนีเซียเรียกร้องเอกราชจากดัชต์ในปีช่วง ค.ศ.1945 - 1949


เมืองยกยาการ์ตาแต่เดิมมีชื่อว่า "อโยธยา" (Ayodhya) ซึ่งตั้งตามเมืองในวรรณคดีเรื่อง[[รามายณะ]] ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นยกยาการ์ตา โดยคำว่า ''ยกยา'' (Yogya) แปลว่า "เหมาะสม" ส่วนคำว่า ''การ์ตา'' (Karta) แปลว่า "รุ่งเรือง"
เมืองยกยาการ์ตาแต่เดิมมีชื่อว่า "อโยธยา" (Ayodhya) ซึ่งตั้งตามเมืองในวรรณคดีเรื่อง[[รามายณะ]] ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นยกยาการ์ตา โดยคำว่า ''ยกยา'' (Yogya) แปลว่า "เหมาะสม" ส่วนคำว่า ''การ์ตา'' (Karta) แปลว่า "รุ่งเรือง"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:12, 3 พฤศจิกายน 2560

Kasultanan Ngayogyakarta Hadiningrat

1755–1945
ธงชาติยกยาการ์ตา
ธงชาติ
The realm of Surakarta Sunanate (red) and Yogyakarta Sultanate (green) in 1830
The realm of Surakarta Sunanate (red) and Yogyakarta Sultanate (green) in 1830
เมืองหลวงยอร์ค จาการ์ตาร์
ภาษาทั่วไปJavanese
ศาสนา
อิสลาม
การปกครองราชาธิปไตย
สุลต่าน 
• Pertama (1755-1792)
ISKS Hamengku Buwono I
• (1940-1950; death 1988)
ISKS Hamengku Buwono IX
• ปัจจุบัน (ตั้งแต่ 1989)
ศรีสุลต่านฮาเมงกูบูโวโนที่ 10
Pepatih Dalem (Menteri Pertama) 
• First (1755-1799)
Danurejo I
• Last (1933-1945)
Danurejo VIII
ประวัติศาสตร์ 
• Sultanate of Yogyakarta
13 กุมภาพันธ์ 1755
• Integration with Indonesia
5 กันยายน 1945
ก่อนหน้า
ถัดไป
Mataram Sultanate
Yogyakarta Special Region

ยกยาการ์ตา (อินโดนีเซีย: Kesultanan Ngayogyakarta Hadiningrat, ชวา: ꧋ꦟꦒꦫꦶꦏꦑꦱꦸꦭ꧀ꦠꦤ꧀ꦤꦤ꧀ꦔꦪꦺꦴꦓꦾꦑꦂꦡ​ꦲꦢꦶꦟꦶꦁꦫꦡ꧀꧈) เป็นเมืองหลวงของเขตปกครองพิเศษยกยาการ์ตา เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย ที่นี่ถือว่าเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมชวาโบราณทั้งในด้านดนตรี นาฏศิลป์ และงานฝีมือ ยกยาการ์ตาเคยเป็นเมืองหลวงในช่วงที่อินโดนีเซียเรียกร้องเอกราชจากดัชต์ในปีช่วง ค.ศ.1945 - 1949

เมืองยกยาการ์ตาแต่เดิมมีชื่อว่า "อโยธยา" (Ayodhya) ซึ่งตั้งตามเมืองในวรรณคดีเรื่องรามายณะ ภายหลังได้เปลี่ยนชื่อเป็นยกยาการ์ตา โดยคำว่า ยกยา (Yogya) แปลว่า "เหมาะสม" ส่วนคำว่า การ์ตา (Karta) แปลว่า "รุ่งเรือง"

ประวัติศาสตร์

ราชอาณาจักรมะตะรัม (8 - 10 ปีก่อนคริสตกาล)

ราชอาณาจักรมัชปาหิต (ค.ศ.1293 - 1527)

รัฐสุลต่านมะตะรัม (ค.ศ.1575 - 1620)

ประตูทางเข้ามัสยิดสุลต่านมะตะรัม เมืองโกตาเกเด

อาณานิคมดัตช์ (ค.ศ.1745 - 1945)

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (ค.ศ.1945 - ปัจจุบัน)

สุลต่านฮาเม็งกูบูโวโนที่ 9 รองประธานาธิบดีคนที่ 2 ของอินโดนีเซีย

ในปี 1942 จักรวรรดิญี่ปุ่นบุกเกาะชวาและปกครองจนกระทั่งญี่ปุ่นพ่ายแพ้สงครามในปี 1945 ซูการ์โนประกาศเอกราชประเทศอินโดนีเซียในเดือนสิงหาคมปีเดียวกัน สุลต่านฮาเมิงกูบูโบโนที่ 6 ส่งจดหมายถึงประธานาธิบดีซูการ์โนทันที พระองค์ทรงสนับสนุนการเกิดของสาธารณรัฐอินโดนีเซียและยอมรับว่ารัฐสุลต่านยกยาการ์ตาคือส่วนหนึ่งของประเทศอินโดนีเซีย โดยเจ้าผู้ครองเมืองซูราการ์ตาก็ทำเช่นเดียวกัน และราชอาณาจักรชวาทั้งสองรัฐได้ถูกตั้งให้เป็นเขตปกครองพิเศษในอินโดนีเซีย อย่างไรก็ตามเนื่องจากสมาชิกฝ่ายที่ต่อต้านกษัตริย์ในซูราการ์ตาก่อการจลาจล ทำให้เจ้าผู้ครองนครซูราการ์ตาหมดอำนาจในปี 1946 และถูกผนวกรวมกับจังหวัดชวากลาง

การสนับสนุนของเมืองยกยาการ์ตามีความสำคัญในการรวมชาติ ในระหว่างสงครามเรียกร้องเอกราชอินโดนีเซียในปี ค.ศ. 1945-1949 เมืองยกยาการ์ตาได้รับการตั้งให้เป็นเมืองหลวงในระหว่างปี 1945 ถึง 1948 ก่อนจะย้ายเมืองหลวงไปที่จาการ์ตา

ภูมิศาสตร์

ภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศของยกยาการ์ตาเป็นแบบมรสุมเขตร้อน โดยช่วงฤดูฝนจะเริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมจนถึงเดือนมิถุนายน ช่วงฤดูแล้วจะเริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคมจนถึงเดือนกันยายน

ข้อมูลภูมิอากาศของYogyakarta
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 28.9
(84)
28.9
(84)
29.4
(85)
30.6
(87)
30
(86)
30
(86)
29.4
(85)
30
(86)
30.6
(87)
31.1
(88)
30
(86)
29.4
(85)
30
(86)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 22.2
(72)
22.2
(72)
22.2
(72)
22.2
(72)
22.2
(72)
21.1
(70)
20.6
(69)
20.6
(69)
21.7
(71)
22.2
(72)
22.2
(72)
22.2
(72)
21.7
(71)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 350
(13.78)
330
(12.99)
310
(12.2)
210
(8.27)
120
(4.72)
80
(3.15)
40
(1.57)
20
(0.79)
30
(1.18)
90
(3.54)
220
(8.66)
340
(13.39)
2,180
(85.83)
แหล่งที่มา: http://www.weatherbase.com/weather/weather.php3?s=35869&refer=&units=metric

การปกครอง

เศรษฐกิจ

วัฒนธรรม

การศึกษา

การขนส่ง