ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thai.2016 (คุย | ส่วนร่วม)
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| สถิต = [[วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร]]
| สถิต = [[วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร]]
| นิกาย = [[ธรรมยุติกนิกาย]]
| นิกาย = [[ธรรมยุติกนิกาย]]
| ประสูติ = [[26 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2470]] (พระชันษา {{อายุ|2470|5|9}} พรรษา)
| ประสูติ = 26 มิถุนายน พ.ศ. 2470 (พระชันษา {{อายุ|2470|5|9|ปี}})
| สิ้นพระชนม์ =
| สิ้นพระชนม์ =
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
| พระชนก = คุณนับ ประสัตถพงศ์
| พระชนก = นับ ประสัตถพงศ์
| พระชนนี = คุณตาล ประสัตถพงศ์
| พระชนนี = ตาล ประสัตถพงศ์
| succession = [[สมเด็จพระสังฆราช]] พระองค์ที่ 20
| succession = [[สมเด็จพระสังฆราช]] พระองค์ที่ 20
| ดำรงพระยศ = [[12 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2560]] – ปัจจุบัน
| ดำรงพระยศ = 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน
| พรรษา = {{อายุ|2491|5|9}} พรรษา
| พรรษา = {{อายุ|2491|5|9}} พรรษา
| สมณุตตมาภิเษก = [[12 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2560]]
| สมณุตตมาภิเษก = 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
| สถานที่ = [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]
| สถานที่ = [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]
| สถานที่สิ้นพระชนม์ =
| สถานที่สิ้นพระชนม์ =
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
[[ไฟล์:Phra Maha Amborn Ambaro in 1965 (2).jpg|150 px|thumb|left|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ขณะยังเป็นพระมหาอัมพร อมฺพโร]]
[[ไฟล์:Phra Maha Amborn Ambaro in 1965 (2).jpg|150 px|thumb|left|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ขณะยังเป็นพระมหาอัมพร อมฺพโร]]
[[ไฟล์:Luang Ta Maha Bua and Phra Maha Amborn in Ban Taad, Udon Thani, 1965.jpg|150 px|thumb|left|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ขณะยังเป็นพระมหาอัมพร อมฺพโร ออกบิณฑบาตติดตาม[[พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)|พระมหาบัว ญาณสมฺปนฺโน]] ที่บ้านตาด [[จังหวัดอุดรธานี]] เมื่อ พ.ศ. 2508]]
[[ไฟล์:Luang Ta Maha Bua and Phra Maha Amborn in Ban Taad, Udon Thani, 1965.jpg|150 px|thumb|left|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ขณะยังเป็นพระมหาอัมพร อมฺพโร ออกบิณฑบาตติดตาม[[พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน)|พระมหาบัว ญาณสมฺปนฺโน]] ที่บ้านตาด [[จังหวัดอุดรธานี]] เมื่อ พ.ศ. 2508]]

เมื่อ พ.ศ. 2483 พระองค์[[บรรพชา]]เป็น[[สามเณร]] ณ [[วัดสัตตนารถปริวัตรวรวิหาร]] [[ตำบลหน้าเมือง]] [[อำเภอเมือง]] [[จังหวัดราชบุรี]] โดยมี'''พระธรรมเสนานี (เงิน นนฺโท)''' เป็นพระอุปัชฌาย์<ref name="เรื่องตั้ง 2">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = กรมศิลปากร|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 450|หน้า = 248-9}}</ref> แล้วย้ายไปอยู่วัดตรีญาติเพื่อศึกษาพระปริยัติธรรม
เมื่อ พ.ศ. 2483 พระองค์[[บรรพชา]]เป็น[[สามเณร]] ณ [[วัดสัตตนารถปริวัตรวรวิหาร]] [[ตำบลหน้าเมือง]] [[อำเภอเมือง]] [[จังหวัดราชบุรี]] โดยมี'''พระธรรมเสนานี (เงิน นนฺโท)''' เป็นพระอุปัชฌาย์<ref name="เรื่องตั้ง 2">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = กรมศิลปากร|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 450|หน้า = 248-9}}</ref> แล้วย้ายไปอยู่วัดตรีญาติเพื่อศึกษาพระปริยัติธรรม


บรรทัด 45: บรรทัด 46:
=== สมเด็จพระสังฆราช ===
=== สมเด็จพระสังฆราช ===
[[ไฟล์:The Establish Ceremony of 20th Sangharaja of Thailand.jpg|thumb|250px| สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงประกอบพระราชพิธีสมณุตตมาภิเษกสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]
[[ไฟล์:The Establish Ceremony of 20th Sangharaja of Thailand.jpg|thumb|250px| สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงประกอบพระราชพิธีสมณุตตมาภิเษกสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]

วันอังคารที่ [[7 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2560]] พลโท [[สรรเสริญ แก้วกำเนิด]] [[โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี]] แถลงว่า [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] มีพระราชโองการโปรดสถาปนาสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ขึ้นเป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]พระองค์ที่ 20 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] และได้เสด็จไปประกอบพระราชพิธีสถาปนาเมื่อวันที่ [[12 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2560]] ณ [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] มีพระนามจารึกใน[[พระสุพรรณบัฎ]]ดังนี้<ref>{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/B/005/1.PDF|title=พระราชโองการ ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช [สมเด็จพระมหามุนีวงศ์]|publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|date=12 กุมภาพันธ์ 2560|accessdate=12 กุมภาพันธ์ 2560}}</ref>
วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 พลโท [[สรรเสริญ แก้วกำเนิด]] [[โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี]] แถลงว่า [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร]] มีพระราชโองการโปรดสถาปนาสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ขึ้นเป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]พระองค์ที่ 20 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] และได้เสด็จไปประกอบพระราชพิธีสถาปนาเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] มีพระนามจารึกใน[[พระสุพรรณบัฎ]]ดังนี้<ref>{{Cite web|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/B/005/1.PDF|title=พระราชโองการ ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช [สมเด็จพระมหามุนีวงศ์]|publisher=[[ราชกิจจานุเบกษา]]|date=12 กุมภาพันธ์ 2560|accessdate=12 กุมภาพันธ์ 2560}}</ref>


{{คำพูด|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สุขุมธรรมวิธานธำรง สกลมหาสงฆปริณายก ตรีปิฎกธราจารยอัมพราภิธานสังฆวิสุต ปาพจนุตตมสาสนโสภณ กิตตินิรมลคุรุฐานียบัณฑิต วชิราลงกรณนริศรปสันนาภิสิตประกาศ วิสารทนาถธรรมภูตาภิวุฒ ทศมินทรสมมุติปฐมคณาธิเบศร ปวิธเนตโยภาสวาสนวงศวิวัฒ พุทธบริษัทคารวสถาน วิบูลสีลสมาจารวัตรวิปัสนสุนทร ชินวรมหามุนีวงศานุศิษฎ บวรธรรมบพิตร สมเด็จพระสังฆราช}}
{{คำพูด|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สุขุมธรรมวิธานธำรง สกลมหาสงฆปริณายก ตรีปิฎกธราจารยอัมพราภิธานสังฆวิสุต ปาพจนุตตมสาสนโสภณ กิตตินิรมลคุรุฐานียบัณฑิต วชิราลงกรณนริศรปสันนาภิสิตประกาศ วิสารทนาถธรรมภูตาภิวุฒ ทศมินทรสมมุติปฐมคณาธิเบศร ปวิธเนตโยภาสวาสนวงศวิวัฒ พุทธบริษัทคารวสถาน วิบูลสีลสมาจารวัตรวิปัสนสุนทร ชินวรมหามุนีวงศานุศิษฎ บวรธรรมบพิตร สมเด็จพระสังฆราช}}
บรรทัด 74: บรรทัด 76:
* พ.ศ. 2543 ทรงเป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]]ที่ ''[[พระสาสนโสภณ]] วิมลญาณอดุลสุนทรนายก ตรีปิฎกธรรมาลังการภูษิต ธรรมนิตยสาทร ศาสนกิจจานุกร ธรรมยุติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/B/028/4.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], เล่ม 117, ตอนที่ 28 ข, 28 ธันวาคม 2543, หน้า 7-9</ref>
* พ.ศ. 2543 ทรงเป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]]ที่ ''[[พระสาสนโสภณ]] วิมลญาณอดุลสุนทรนายก ตรีปิฎกธรรมาลังการภูษิต ธรรมนิตยสาทร ศาสนกิจจานุกร ธรรมยุติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/B/028/4.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], เล่ม 117, ตอนที่ 28 ข, 28 ธันวาคม 2543, หน้า 7-9</ref>
* พ.ศ. 2552 ทรงเป็น[[สมเด็จพระราชาคณะ]]ที่ ''[[สมเด็จพระมหามุนีวงศ์]] พิพัฒนพงศ์วิสุต พุทธปาพจนานุศาสน์ วาสนวรางกูร วิบูลศีลสมาจารวัตรสุนทร ตรีปิฎกธรรมวราลงกรณวิภูษิต ธรรมยุตติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี''<ref name="ratchakitcha01">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/B/007/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], เล่ม 127, ตอนที่ 7 ข, 9 กรกฎาคม 2553, หน้า 1-3</ref>
* พ.ศ. 2552 ทรงเป็น[[สมเด็จพระราชาคณะ]]ที่ ''[[สมเด็จพระมหามุนีวงศ์]] พิพัฒนพงศ์วิสุต พุทธปาพจนานุศาสน์ วาสนวรางกูร วิบูลศีลสมาจารวัตรสุนทร ตรีปิฎกธรรมวราลงกรณวิภูษิต ธรรมยุตติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี''<ref name="ratchakitcha01">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/B/007/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], เล่ม 127, ตอนที่ 7 ข, 9 กรกฎาคม 2553, หน้า 1-3</ref>
* พ.ศ. 2560 ทรงได้รับพระราชทานโปรดสถาปนาเป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]] ที่ ''[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ]] สุขุมธรรมวิธานธำรง สกลมหาสงฆปริณายก ตรีปิฎกธราจารย อัมพราภิธานสังฆวิสุต ปาพจนุตตมสาสนโสภณ กิตตินิรมลคุรุฐานียบัณฑิต วชิราลงกรณนริศรปสันนาภิสิตประกาศ วิสารทนาถธรรมทูตาภิวุฒ ทศมินทรสมมุติปฐมสกลคณาธิเบศร ปวิธเนตโยภาสวาสนวงศวิวัฒ พุทธบริษัทคารวสถาน วิบูลสีลสมาจารวัตรวิปัสสนสุนทร บวรธรรมบพิตร สมเด็จพระสังฆราช'' <ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/B/005/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนา สมเด็จพระสังฆราช], เล่ม 134, ตอนที่ 5 ข, 6 กุมภาพันธ์ 2560, หน้า 1-3</ref>
* พ.ศ. 2560 ทรงเป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]] ที่ ''[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ]] สุขุมธรรมวิธานธำรง สกลมหาสงฆปริณายก ตรีปิฎกธราจารย อัมพราภิธานสังฆวิสุต ปาพจนุตตมสาสนโสภณ กิตตินิรมลคุรุฐานียบัณฑิต วชิราลงกรณนริศรปสันนาภิสิตประกาศ วิสารทนาถธรรมทูตาภิวุฒ ทศมินทรสมมุติปฐมสกลคณาธิเบศร ปวิธเนตโยภาสวาสนวงศวิวัฒ พุทธบริษัทคารวสถาน วิบูลสีลสมาจารวัตรวิปัสสนสุนทร บวรธรรมบพิตร สมเด็จพระสังฆราช''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/B/005/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนา สมเด็จพระสังฆราช], เล่ม 134, ตอนที่ 5 ข, 6 กุมภาพันธ์ 2560, หน้า 1-3</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:11, 13 กุมภาพันธ์ 2560

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ไฟล์:สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร).jpg
สมเด็จพระสังฆราช พระองค์ที่ 20
ดำรงพระยศ12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน
สมณุตตมาภิเษก12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
ก่อนหน้าสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
พรรษา75 พรรษา
สถิตวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
นิกายธรรมยุติกนิกาย
ประสูติ26 มิถุนายน พ.ศ. 2470 (พระชันษา ข้อผิดพลาดนิพจน์: "ป" เป็นอักขระเครื่องหมายวรรคตอนที่ไม่รู้จัก)
พระชนกนับ ประสัตถพงศ์
พระชนนีตาล ประสัตถพงศ์

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก พระนามเดิม อัมพร ประสัตถพงศ์ ฉายา อมฺพโร ทรงเป็น สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์[1] โดยทรงเริ่มดำรงตำแหน่งในวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 และทรงเป็นเจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร กรรมการมหาเถรสมาคม[2] แม่กองงานพระธรรมทูต

พระประวัติ

ชาติกำเนิด

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก มีพระนามเดิมว่า อัมพร ประสัตถพงศ์ ประสูติเมื่อวันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2470 ตรงกับแรม 12 ค่ำ เดือน 7 ปีเถาะ ณ ตำบลบางป่า อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี พระชนกชื่อคุณนับ ประสัตถพงศ์ พระชนนีชื่อคุณตาล ประสัตถพงศ์ เป็นบุตรคนที่ 2 จากพี่น้องทั้งหมด 9 คน มีพระน้องชายคือ พระเทพสุเมธี (ไสว วฑฺฒโน) เจ้าอาวาสวัดศรีสุริยวงศาราม จังหวัดราชบุรี ครอบครัวประกอบอาชีพค้าขาย เรียนชั้นประถมศึกษาที่โรงเรียนเทวานุเคราะห์ กองบินน้อยที่ 4 ตำบลโคกกระเทียม อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี จนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 แล้วมาศึกษาต่อที่โรงเรียนประชาบาลวัดพเนินพลูจนจบชั้น ป. 4 ในปี พ.ศ. 2480

การบรรพชาอุปสมบท

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ขณะยังเป็นพระมหาอัมพร อมฺพโร
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ขณะยังเป็นพระมหาอัมพร อมฺพโร ออกบิณฑบาตติดตามพระมหาบัว ญาณสมฺปนฺโน ที่บ้านตาด จังหวัดอุดรธานี เมื่อ พ.ศ. 2508

เมื่อ พ.ศ. 2483 พระองค์บรรพชาเป็นสามเณรวัดสัตตนารถปริวัตรวรวิหาร ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี โดยมีพระธรรมเสนานี (เงิน นนฺโท) เป็นพระอุปัชฌาย์[3] แล้วย้ายไปอยู่วัดตรีญาติเพื่อศึกษาพระปริยัติธรรม

ต่อมาได้ทรงเข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2491 ณ พัทธสีมาวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยมีสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) เป็นพระอุปัชฌาย์ และพระจินดากรมุนี (ทองเจือ จินฺตากโร) เป็นพระกรรมวาจาจารย์

การศึกษาพระปริยัติธรรม

ขณะจำพรรษาที่วัดตรีญาติ ต.พงสวาย สามเณรอัมพร ประสัตถพงศ์ สามารถสอบได้นักธรรมชั้นตรีในปี พ.ศ. 2483 สอบได้นักธรรมชั้นโทในปีต่อมา ถึงปี พ.ศ. 2486 สามารถสอบได้นักธรรมชั้นเอกและเปรียญธรรม 3 ประโยค และสอบได้เปรียญธรรม 4 ประโยคในปี พ.ศ. 2488

เมื่อ พ.ศ. 2490 ทรงย้ายมาอยู่จำพรรษา ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม โดยสมเด็จพระพุทธปาพจนบดี (ทองเจือ จินฺตากโร) เมื่อครั้งดำรงสมณศักดิ์ที่พระจินดากรมุนี นำมาฝากกับสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) สกลมหาสังฆปริณายก ภายหลังอุปสมบท ท่านศึกษาพระปริยัติธรรมต่อในสำนักเรียนวัดราชบพิธฯ จน พ.ศ. 2491 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 5 ประโยค และ พ.ศ. 2493 สามารถสอบได้เปรียญธรรม 6 ประโยค

หลังเป็นเปรียญ 5 ประโยค พระองค์ได้ศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นนักศึกษารุ่นที่ 5 จบศาสนศาสตรบัณฑิต เมื่อปี พ.ศ. 2500 และได้เดินทางไปศึกษาต่อระดับปริญญาโท ณ มหาวิทยาลัยพาราณสี (Banaras Hindu University) ประเทศอินเดีย จบการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2512 ด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดี

ปี พ.ศ. 2552 สภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ถวายศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาพุทธศาสตร์

ปี พ.ศ. 2553 สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถวายปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาธรรมนิเทศ[4]

สมเด็จพระสังฆราช

ไฟล์:The Establish Ceremony of 20th Sangharaja of Thailand.jpg
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงประกอบพระราชพิธีสมณุตตมาภิเษกสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม

วันอังคารที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 พลโท สรรเสริญ แก้วกำเนิด โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี แถลงว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดสถาปนาสมเด็จพระมหามุนีวงศ์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชพระองค์ที่ 20 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และได้เสด็จไปประกอบพระราชพิธีสถาปนาเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม มีพระนามจารึกในพระสุพรรณบัฎดังนี้[5]

สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สุขุมธรรมวิธานธำรง สกลมหาสงฆปริณายก ตรีปิฎกธราจารยอัมพราภิธานสังฆวิสุต ปาพจนุตตมสาสนโสภณ กิตตินิรมลคุรุฐานียบัณฑิต วชิราลงกรณนริศรปสันนาภิสิตประกาศ วิสารทนาถธรรมภูตาภิวุฒ ทศมินทรสมมุติปฐมคณาธิเบศร ปวิธเนตโยภาสวาสนวงศวิวัฒ พุทธบริษัทคารวสถาน วิบูลสีลสมาจารวัตรวิปัสนสุนทร ชินวรมหามุนีวงศานุศิษฎ บวรธรรมบพิตร สมเด็จพระสังฆราช

ตำแหน่งปัจจุบัน

  • สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
  • เจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร[6]
  • กรรมการมหาเถรสมาคม
  • กรรมการคณะธรรมยุต
  • กรรมการเถรสมาคมคณะธรรมยุต
  • ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 14-15 (ธรรมยุต)[7]
  • แม่กองงานพระธรรมทูต

สมณศักดิ์

ธรรมเนียมพระยศของ
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ไฟล์:ตรา ออป.jpg
ตราประจำพระองค์
การทูลใต้ฝ่าพระบาท
การแทนตนเกล้ากระหม่อม/เกล้ากระหม่อมฉัน
การขานรับเกล้ากระหม่อม
พะย่ะค่ะ/เพคะ
  • พ.ศ. 2514 ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระปริยัติกวี[8]
  • พ.ศ. 2524 ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชสารสุธี ศรีปริยัติวราทร ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[9]
  • พ.ศ. 2533 ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพเมธาภรณ์ สุนทรธรรมานุนายก วิสุทธิสาธกสาธุกิจ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[10]
  • พ.ศ. 2538 ทรงเป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมเมธาภรณ์ สุนทรวาสนวงศวิวัฒ ศรีปริยัติกิจจานุกิจ ปาพจนวิภูษิตคุณาลงกรณ์ ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[11]
  • พ.ศ. 2543 ทรงเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองที่ พระสาสนโสภณ วิมลญาณอดุลสุนทรนายก ตรีปิฎกธรรมาลังการภูษิต ธรรมนิตยสาทร ศาสนกิจจานุกร ธรรมยุติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[12]
  • พ.ศ. 2552 ทรงเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระมหามุนีวงศ์ พิพัฒนพงศ์วิสุต พุทธปาพจนานุศาสน์ วาสนวรางกูร วิบูลศีลสมาจารวัตรสุนทร ตรีปิฎกธรรมวราลงกรณวิภูษิต ธรรมยุตติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี[13]
  • พ.ศ. 2560 ทรงเป็นสมเด็จพระสังฆราช ที่ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สุขุมธรรมวิธานธำรง สกลมหาสงฆปริณายก ตรีปิฎกธราจารย อัมพราภิธานสังฆวิสุต ปาพจนุตตมสาสนโสภณ กิตตินิรมลคุรุฐานียบัณฑิต วชิราลงกรณนริศรปสันนาภิสิตประกาศ วิสารทนาถธรรมทูตาภิวุฒ ทศมินทรสมมุติปฐมสกลคณาธิเบศร ปวิธเนตโยภาสวาสนวงศวิวัฒ พุทธบริษัทคารวสถาน วิบูลสีลสมาจารวัตรวิปัสสนสุนทร บวรธรรมบพิตร สมเด็จพระสังฆราช[14]

อ้างอิง

  1. โปรดเกล้าฯ “สมเด็จพระมหามุนีวงศ์” เป็นสังฆราช องค์ที่ 20
  2. "กรรมการมหาเถรสมาคม". มหาเถรสมาคม. 25 สิงหาคม 2553. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. กรมศิลปากร. เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545. 450 หน้า. หน้า 248-9. ISBN 974-417-530-3
  4. "พิธีบำเพ็ญกุศลสมโภชสุพรรณบัฏและถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แด่ สมเด็จพระมหามุนีวงศ์". มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 25 สิงหาคม 2553. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "พระราชโองการ ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช [สมเด็จพระมหามุนีวงศ์]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 12 กุมภาพันธ์ 2560. สืบค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "เสนอแต่งตั้ง พระสาสนโสภณ ให้ดำรงตำแหน่ง เจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม" (PDF). มหาเถรสมาคม. 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2552. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  7. "เสนอขอแต่งตั้ง พระสาสนโสภณ ให้เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค ๑๔ - ๑๕ (ธรรมยุต)" (PDF). มหาเถรสมาคม. 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2550. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม 88, ตอนที่ 151, วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2514, หน้า 7
  9. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม 98, ตอนที่ 206, วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2524, หน้า 3
  10. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม 107, ตอนที่ 242, วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2533, หน้า 2-3
  11. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์, เล่ม 112, ตอนพิเศษ 47ง, 13 ธันวาคม 2538, หน้า 3
  12. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม 117, ตอนที่ 28 ข, 28 ธันวาคม 2543, หน้า 7-9
  13. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม 127, ตอนที่ 7 ข, 9 กรกฎาคม 2553, หน้า 1-3
  14. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนา สมเด็จพระสังฆราช, เล่ม 134, ตอนที่ 5 ข, 6 กุมภาพันธ์ 2560, หน้า 1-3

แหล่งข้อมูลอื่น

ก่อนหน้า สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) ถัดไป
สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)
ไฟล์:ฉัตรสามชั้น.jpg
สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
(พ.ศ. 2560–ปัจจุบัน)
อยู่ในตำแหน่ง
สมเด็จพระพุทธปาพจนบดี (ทองเจือ จินฺตากโร)
เจ้าอาวาสวัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร
(พ.ศ. 2551–ปัจจุบัน)
ยังอยู่ในตำแหน่ง