จิกเล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จิกเล
ดอกและใบที่ประเทศบังกลาเทศ
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: พืช
เคลด: พืชมีท่อลำเลียง
เคลด: พืชดอก
เคลด: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
เคลด: แอสเทอริด
อันดับ: อันดับกุหลาบป่า
วงศ์: วงศ์จิก
สกุล: จิก
(L.) Kurz[2]
สปีชีส์: Barringtonia asiatica
ชื่อทวินาม
Barringtonia asiatica
(L.) Kurz[2]
ชื่อพ้อง[3]
  • Agasta asiatica (L.) Miers
  • Agasta indica Miers
  • Agasta splendida Miers
  • Barringtonia butonica J.R.Forst. & G.Forst.
  • Barringtonia levequii Jard. [Invalid]
  • Barringtonia littorea Oken [Illegitimate]
  • Barringtonia senequei Jard.
  • Barringtonia speciosa J.R.Forst. & G.Forst.
  • Barringtonia speciosa L. f.
  • Butonica speciosa (J.R.Forst. & G.Forst.) Lam.
  • Huttum speciosum (J.R.Forst. & G.Forst.) Britten
  • Mammea asiatica L. Sy
  • Michelia asiatica (L.) Kuntze
  • Mitraria commersonia J.F.Gmel.

จิกเล หรือ จิกทะเล (ชื่อวิทยาศาสตร์: Barringtonia asiatica; อังกฤษ: fish poison tree,[4][5] putat,[4] sea poison tree)[4] เป็นสายพันธุ์ของ Barringtonia พื้นเมืองที่อยู่อาศัยป่าชายเลนบนชายฝั่งในเขตร้อนชื้นและหมู่เกาะในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก จากแซนซิบาร์ทางทิศตะวันออกไปจนถึงไต้หวัน, ฟิลิปปินส์, ฟีจี, นิวแคลิโดเนีย, หมู่เกาะคุก, วาลิสและฟูตูนา และเฟรนช์โปลินีเซีย มักปลูกตามถนนเพื่อการตกแต่งและร่มเงาในบางส่วนของอินเดีย

จิกเลเป็นต้นไม้ใหญ่ สูงราว 20 เมตร ใบขนาดใหญ่ มันวาว มีความหนา ป้องกันการสูญเสียน้ำ ดอกขนาดใหญ่ สีขาว เกสรตัวผู้เป็นพู่ยาวเห็นได้ชัดเจน สีขาว ปลายชมพู ดอกมีกลิ่นหอมแรง บานตอนค่ำและโรยตอนเช้า ผสมเกสรด้วยผีเสื้อกลางคืนและค้างคาว ผลขนาดใหญ่ ทรงคล้ายลูกข่าง มีกากเหนียวหุ้มทำให้ลอยน้ำได้ดีคล้ายผลมะพร้าว[6]

ในเมล็ดและลำต้นมีสารซาโปนิน ใช้ทำยาเบื่อปลาและยานอนหลับ[4]

สัญลักษณ์[แก้]

จิกเลเป็นทั้งพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานและดอกไม้ประจำจังหวัดสมุทรสงคราม

ภาพ[แก้]

ภาพวาดจาก Flora de Filipinas โดย Francisco Manuel Blanco
ภาพวาดจาก Flora de Filipinas โดย Francisco Manuel Blanco 
ผลที่ยังไม่แก่ (ขนาดประมาณกำปั้น)
ผลที่ยังไม่แก่ (ขนาดประมาณกำปั้น) 
ดอก
ดอก 

อ้างอิง[แก้]

  1. Razafiniary, V. (2021). "Barringtonia asiatica". IUCN Red List of Threatened Species. 2021: e.T31339A166509744. doi:10.2305/IUCN.UK.2021-1.RLTS.T31339A166509744.en. สืบค้นเมื่อ 19 November 2021.
  2.  Under its treatment as Barringtonia asiatica (from its basionym Mammea asiatica L.), this species was published in Preliminary Report on the Forest and other Vegetation of Pegu App. A: 65. 1875. "Name - Barringtonia asiatica (L.) Kurz". Tropicos. Saint Louis, Missouri: Missouri Botanical Garden. สืบค้นเมื่อ November 1, 2011.
  3. "Barringtonia asiatica (L.) Kurz". World Checklist of Selected Plant Families (WCSP). Royal Botanic Gardens, Kew. สืบค้นเมื่อ 23 Mar 2016 – โดยทาง The Plant List.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 Ria Tan (2001). "Sea Poison Tree". Mangrove and wetland wildlife at Sungei Buloh Nature Park. Singapore. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-12-02. สืบค้นเมื่อ November 1, 2011.
  5. GRIN (October 1, 2010). "Barringtonia asiatica information from NPGS/GRIN". Taxonomy for Plants. National Germplasm Resources Laboratory, Beltsville, Maryland: USDA, ARS, National Genetic Resources Program. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-05. สืบค้นเมื่อ November 1, 2011.
  6. Tsou, C-H., and Mori, S.A. "Seed coat anatomy and its relationship to seed dispersal in subfamily Lecythidoideae of the Lecythidaceae (The Brazil Nut Family)." Botanical Bulletin of Academia Sinica. Vol. 43, 37-56. 2002. Accessed 2009-05-31.