แอปเปิลเพย์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Apple Pay)
แอปเปิลเพย์
นักพัฒนาบริษัทแอปเปิล
วันที่เปิดตัว20 ตุลาคม 2014; 9 ปีก่อน (2014-10-20)
ระบบปฏิบัติการiOS 8.1 หรือรุ่นถัดมา
(iOS 10 หรือรุ่นถัดมาสำหรับแอปเปิลเพย์บนเว็บ)
(iOS 11.2 หรือรุ่นถัดมาสำหรับแอปเปิลเพย์แคช)
watchOS ทุกรุ่น
macOS Sierra หรือรุ่นถัดม
แพลตฟอร์ม
  • ในร้าน:
    iPhone 6 หรือใหม่กว่า
    Apple Watch คู่กับ iPhone, หรือ Series 3 หรือรุ่นใหม่กว่าพร้อม cellular
  • บนเว็บ (ซาฟารี):
    iPhone 6 หรือรุ่นใหม่กว่าด้วย iOS 10 หรือรุ่นถัดมา
    2014 iPads (Air 2, Mini 3) หรือรุ่นใหม่กว่าด้วย iOS 10 หรือรุ่นถัดมา
    2016 MacBook Pro with Touch ID or newer
    2018 MacBook Air or newer
    Macs based on Apple silicon paired with a Magic Keyboard with Touch ID
    Macs supporting Handoff running macOS Sierra or later paired with an Apple Watch or iPhone 6 or newer
  • บนเว็บ (เบราว์เซอร์บุคคลที่สาม):
    iPhone 8 หรือใหม่กว่ากับ iOS 16 หรือรุ่นถัดมา
สัญญาอนุญาตจำกัดสิทธิ์
เว็บไซต์apple.com/apple-pay/

แอปเปิลเพย์ (อังกฤษ: Apple Pay) เป็นบริการชำระเงินผ่านมือถือและกระเป๋าเงินดิจิทัลของบริษัทแอปเปิล ที่เปิดให้ผู้ใช้บริการสามารถชำระเงินได้ด้วยตนเองในแอป iOS และบนเว็บโดยใช้ ซาฟารี รองรับบน ไอโฟน, แอปเปิลวอตช์, ไอแพด และ แมค โดยแปลงเป็นดิจิทัลและสามารถแทนที่ชิปบัตรเครดิตหรือบัตรเดบิตและธุรกรรม chip and PIN ได้ที่จุดขายแบบไร้สัมผัสได้ ซึ่งไม่ต้องใช้เครื่องชำระเงินแบบไร้สัมผัสเฉพาะของ Apple Pay ทั้งนี้สามารถใช้งานได้กับร้านค้าที่ยอมรับการชำระเงินแบบไร้ต้องสัมผัส[1] เพิ่มการรับรองความถูกต้องด้วยสองปัจจัยผ่าน Touch ID, Face ID, PIN หรือรหัสผ่าน อุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายกับระบบจุดขายโดยใช้การสื่อสารสนามใกล้ (NFC) พร้อมด้วยองค์ประกอบความปลอดภัยในตัว (eSE) เพื่อจัดเก็บข้อมูลการชำระเงินอย่างปลอดภัยและใช้ฟังก์ชันการเข้ารหัสและ Touch ID และ Face ID ของแอปเปิล สำหรับการตรวจสอบความถูกต้องทางชีวมิติ

การบริการ[แก้]

อุปกรณ์รองรับ[แก้]

บริการนี้ใช้ได้กับ iPhone 6และรุ่นที่ใหม่กว่า, iPad Air 2และรุ่นที่ใหม่กว่า, Mac ที่มีTouch IDและApple Watch Series 1และรุ่นที่ใหม่กว่า ที่สามารถจัดเก็บบัตรได้ระหว่าง 8 ถึง 16 ใบ[2]

พื้นที่ให้บริการแอปเปิลเพย์[แก้]

ความพร้อมใช้งานของแอปเปิลเพย์ทั่วโลก
  เปิดให้บริการแอปเปิลเพย์ 83 ประเทศ)
  ปิดให้บริการ (รัสเซีย)

ประเทศที่รองรับ[แก้]

แอปเปิลเพย์สามารถใช้ได้บัตรรวมกับสถาบันการเงินที่ออกใน 83 ประเทศทั่วโลก[3] นอกจากนี้ยังสามารถใช้ได้ในบางประเทศที่ "ไม่รองรับแอปเปิลเพย์" แม้ว่าจะมีเฉพาะบัตรต่างประเทศเท่านั้น

วันที่เปิดตัวให้บริการ ประเทศที่ให้บริการ
20 ตุลาคม 2557  สหรัฐ
(ยกเว้น  ปวยร์โตรีโก และ ดินแดนของสหรัฐ)
14 กรกฎาคม 2558  สหราชอาณาจักร
(ยกเว้น ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน)
17 พฤศจิกายน 2558  แคนาดา
19 พฤศจิกายน 2558  ออสเตรเลีย
18 กุมภาพันธ์ 2559  จีน
19 เมษายน 2559  สิงคโปร์
7 กรกฎาคม 2559  สวิตเซอร์แลนด์
19 กรกฎาคม 2559  ฝรั่งเศส
 โมนาโก
20 กรกฎาคม 2559  ฮ่องกง
4 ตุลาคม 2559  รัสเซีย (ปิดให้บริการเมื่อ 25 มีนาคม 2565)[หมายเหตุ 1]
13 ตุลาคม 2559  นิวซีแลนด์
25 ตุลาคม 2559  ญี่ปุ่น
1 ธันวาคม 2559  สเปน
7 มีนาคม 2560  เกิร์นซีย์
 ไอร์แลนด์
 ไอล์ออฟแมน
 เจอร์ซีย์
29 มีนาคม 2560  ไต้หวัน
17 พฤษภาคม 2560  อิตาลี
 ซานมารีโน
 นครรัฐวาติกัน
24 ตุลาคม 2560  เดนมาร์ก
 กรีนแลนด์
 ฟินแลนด์
 สวีเดน
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
4 เมษายน 2561  บราซิล
17 พฤษภาคม 2561  ยูเครน
19 มิถุนายน 2561  โปแลนด์
20 มิถุนายน 2561  นอร์เวย์
28 พฤศจิกายน 2561  คาซัคสถาน
 เบลเยียม
11 ธันวาคม 2561  เยอรมนี
19 กุมภาพันธ์ 2562  เช็กเกีย
 ซาอุดีอาระเบีย
24 เมษายน 2562  ออสเตรีย
8 พฤษภาคม 2562  ไอซ์แลนด์
21 พฤษภาคม 2562  ฮังการี
 ลักเซมเบิร์ก
11 มิถุนายน 2562  เนเธอร์แลนด์
26 มิถุนายน 2562  สหภาพยุโรป
 บัลแกเรีย
 โครเอเชีย
 ไซปรัส
(ยกเว้น  นอร์เทิร์นไซปรัส)
 เอสโตเนีย
 กรีซ
 ลัตเวีย
 ลีชเทินชไตน์
 ลิทัวเนีย
 มอลตา
 โปรตุเกส
 โรมาเนีย
 สโลวาเกีย
 สโลวีเนีย
2 กรกฎาคม 2562  หมู่เกาะแฟโร
6 สิงหาคม 2562  มาเก๊า
3 กันยายน 2562  จอร์เจีย
19 พฤศจิกายน 2562  เบลารุส
28 มกราคม 2563  มอนเตเนโกร
30 มิถุนายน 2563  เซอร์เบีย
23 กุมภาพันธ์ 2564  เม็กซิโก
30 มีนาคม 2564  แอฟริกาใต้
5 พฤษภาคม 2564  อิสราเอล
17 สิงหาคม 2564  กาตาร์
5 ตุลาคม 2564  บาห์เรน
 ปาเลสไตน์
2 พฤศจิกายน 2564  อาเซอร์ไบจาน
 โคลอมเบีย
 คอสตาริกา
18 มกราคม 2565  อาร์มีเนีย
15 มีนาคม 2565  อาร์เจนตินา
 เปรู[6]
5 เมษายน 2565  มอลโดวา
9 สิงหาคม 2565  มาเลเซีย
6 ธันวาคม 2565  คูเวต
 จอร์แดน
21 มีนาคม 2566  เกาหลีใต้
2 พฤษภาคม 2566  เอลซัลวาดอร์
 กัวเตมาลา
16 พฤษภาคม 2566  ปานามา
 ฮอนดูรัส
18 กรกฎาคม 2566  โมร็อกโก
8 สิงหาคม 2566  ชิลี
 เวียดนาม

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Countries and regions that support Apple Pay". Apple. กรกฎาคม 17, 2019.
  2. "Set up Apple Pay". Apple. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ พฤษภาคม 20, 2023. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน 4, 2018.
  3. "Countries and regions that support Apple Pay". Apple. May 16, 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 24, 2023. สืบค้นเมื่อ May 16, 2023.
  4. "Карты всех платежных систем в России продолжают нормально работать | Банк России". www.cbr.ru. สืบค้นเมื่อ 2022-02-25.
  5. Roth, Emma (2022-03-26). "Apple Pay closes loophole that allowed Russian users to pay with Mir cards". The Verge. สืบค้นเมื่อ 2022-03-26.
  6. "Apple". Apple.com (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-01-27.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "หมายเหตุ" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="หมายเหตุ"/> ที่สอดคล้องกัน