เฉลิมพล เอกอุรุ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เฉลิมพล เอกอุรุ
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญไทย
ดำรงตำแหน่ง
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 – 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด19 สิงหาคม พ.ศ. 2488
เสียชีวิต4 มีนาคม พ.ศ. 2559 (70 ปี)

นายเฉลิมพล เอกอุรุ (19 สิงหาคม พ.ศ. 2488 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2559[1]) อดีตตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

ประวัติการศึกษา[แก้]

  • นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • Master of Arts (M.A.) International Law and Relations, Columbia University, New York ประเทศสหรัฐอเมริกา
  • Diploma in International Relations, Institute of Social Studies, The Hague ประเทศเนเธอร์แลนด์
  • ประกาศนียบัตรชั้นสูงทางรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ประวัติการทำงาน[แก้]

  • อัครราชทูต (เจ้าหน้าที่การทูต 9) สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น (ถึงปี พ.ศ. 2537)[2]
  • เอกอัครราชทูต (เจ้าหน้าที่การทูต 10) สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงฮานอย สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2537)[2]
  • เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มประจำสาธารณรัฐฮังการี (เจ้าหน้าที่การทูต 10)[3] สาธารณรัฐโครเอเชีย[4] และบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา[5] ตามลำดับ โดยมีถิ่นพำนัก ณ กรุงบูดาเปสต์ สาธารณรัฐฮังการี
  • รองปลัดกระทรวงกระทรวงต่างประเทศ (นักบริหาร 10) สำนักงานปลัดกระทรวงต่างประเทศ[6]
  • กรรมการมูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์[7]
  • ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ (28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551[8] - 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558[9])
  • สมาชิกฝ่ายไทยในศาลประจำอนุญาโตตุลาการ ณ กรุงเฮก[10]

ถึงแก่อนิจกรรม[แก้]

นายเฉลิมพล เอกอุรุ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2559[1] เนื่องจากหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน และมีพิธีพระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2559 ณ วัดโสมนัสวิหาร[11]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "สิ้น 'เฉลิมพล' อดีต ตลก.ศาลรัฐธรรมนูญ ล้มหมดสติในบ้านย่านนครปฐม". ไทยรัฐ. 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2022-03-05.
  2. 2.0 2.1 ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือน [ระดับ ๑๐ กระทรวงการต่างประเทศ นายรังสรรค์ พหลโยธิน นายบุญทัน มันกลาง นายเฉลิมพล เอกอุรุ] , เล่ม ๑๑๑ ตอนพิเศษ ๔๘ ง หน้า ๑, ๒๐ ต.ค. ๒๕๓๗
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การแต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ (ระดับ ๑๐ กระทรวงการต่างประเทศ นายเฉลิมพล เอกอุรุ นายเกรียงศักดิ์ ดีศรีสุข นายพงศ์ศักดิ์ ดิษยทัต นายวศิน ธีรเวชญาณ นายปรีชา ปิติสันต์ นายเผ่าเทพ วรรณจินดา นายสุริยะ โรจนพุทธิ นายธนรัตน์ ธนพุทธิ นายสุพจน์ ธีรเกาศัลย์) , เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๒๕ ง หน้า ๖, ๒๘ มี.ค. ๒๕๔๓
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การแต่งตั้งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มประจำสาธารณรัฐโครเอเซีย (นายเฉลิมพล เอกอุรุ) , เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๖๙ ง หน้า ๒, ๒๙ ส.ค. ๒๕๔๓
  5. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การแต่งตั้งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มประจำบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา [นายเฉลิมพล เอกอุรุ], เล่ม ๑๑๙ ตอนที่ ๔๑ ง หน้า ๔, ๒๑ พ.ค. ๒๕๔๕
  6. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการพลเรือน [นายเฉลิมพล เอกอุรุ, นายอุ้ม เมาลานนท์, นางลักษณาจันทร เลาหพันธุ์, นายชัยยงค์ สัจจิพานนท์, นางนวลพรรณ มหาคุณ ระดับ ๑๐ กระทรวงการต่างประเทศ], เล่ม ๑๒๐ ตอนที่ ๙๘ ง หน้า ๓, ๙ ธ.ค. ๒๕๔๖
  7. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศนายทะเบียนมูลนิธิ กรุงเทพมหานคร เรื่อง จดทะเบียนจัดตั้ง \"มูลนิธิสถาบันการต่างประเทศสราญรมย์\" , เล่ม ๑๒๑ ตอนที่ ๑๐๕ ง หน้า ๗๘, ๙ ธ.ค. ๒๕๔๗
  8. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานศาลรัฐธรรมนูญและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ, เล่ม ๑๒๕ ตอนพิเศษ ๑๐๘ ง หน้า ๑, ๒๗ มิ.ย. ๒๕๕๑
  9. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ [นายนครินทร์ เมฆไตรรัตน์] , เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๓๑๐ ง หน้า ๑, ๒๕ พ.ย. ๒๕๕๘
  10. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศ เรื่อง แต่งตั้งสมาชิกฝ่ายไทยในศาลประจำอนุญาโตตุลาการ ณ กรุงเฮก [นายเฉลิมพล เอกอุรุ], เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๐๓ ง หน้า ๒, ๓ ก.ย. ๒๕๕๘
  11. "สิ้น'เฉลิมพล เอกอุรุ' อดีตตุลาการศาล รธน. เกิดอุบัติเหตุเสียชีวิต". สำนักข่าวอิศรา. 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2022-03-05.
  12. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยิ่งมงกุฎไทย ในโอกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๔๗ รวม ๗,๒๕๖ ราย, เล่ม ๑๒๑ ตอนที่ ๒๓ ข หน้า ๕, ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
  13. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย (ชั้นสายสะพาย ในวโรกาสพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ จำนวน ๔,๘๙๖ ราย), เล่ม ๑๑๖ ตอนที่ ๒๐ ข หน้า ๑๓, ๒ ธันวาคม ๒๕๔๒
  14. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๐๙ ตอนที่ ๗๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๘๓, ๑๐ มิถุนายน ๒๕๓๕
  1. [[1]]
  2. [[2]]
  3. [[3]]