ข้ามไปเนื้อหา

อาณานิคมสิงคโปร์

พิกัด: 1°22′N 103°48′E / 1.367°N 103.800°E / 1.367; 103.800
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาณานิคมสิงคโปร์
(1946–1959)
รัฐสิงคโปร์
(1959–1963)

1946–1963
คำขวัญDieu et mon droit (ฝรั่งเศส)
(1946–1959)
Majulah Singapura (มลายู)
(1959–1963)
สถานะคราวน์โคโลนี
เมืองหลวงนครสิงคโปร์
ภาษาราชการ
และภาษาประจำชาติ
อังกฤษ
ภาษาทั่วไป
การปกครองราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
พระมหากษัตริย์ 
• 1946–1952
จอร์จที่ 6
• 1952–1963
เอลิซาเบธที่ 2
ผู้ว่าราชการ 
• 1946–1952
เซอร์ แฟรงคลิน กิมสัน
• 1952–1955
เซอร์ จอห์น เฟียร์นส์ นิโคลล์
• 1955–1957
เซอร์ รอเบิร์ต แบล็ก
• 1957–1959
เซอร์ วิลเลียม กูด
มุขมนตรี 
• 1955–1956
เดวิด มาร์แชลล์
• 1956–1959
Lim Yew Hock
ยุคประวัติศาสตร์จักรวรรดิบริติช
1 เมษายน 1946
15 กรกฎาคม 1946
23 พฤศจิกายน 1955
1 ตุลาคม 1958
• สิทธิปกครองตนเองในจักรวรรดิบริติช
1959
• เข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐมาเลเซีย
16 กันยายน 1963
สกุลเงิน
เขตเวลาUTC+07:30
ขับรถด้านซ้ายมือ
รหัส ISO 3166SG
ก่อนหน้า
ถัดไป
British Military Administration (Malaya)
สเตรตส์เซตเทิลเมนต์
โชนัน
รัฐสิงคโปร์ (มาเลเซีย)
คราวน์โคโลนีแห่งบอร์เนียวเหนือ
หมู่เกาะโคโคส (คีลิง)
เกาะคริสต์มาส
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของสิงคโปร์
ออสเตรเลีย
มาเลเซีย

สิงคโปร์เคยเป็นอาณานิคมอังกฤษเป็นเวลา 144 ปี ยกเว้นในช่วงที่จักรวรรดิญี่ปุ่นครอบครองใน ค.ศ. 1942 ถึง 1945 ในช่วงสงครามแปซิฟิก

เมื่อจักรวรรดิญี่ปุ่นยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตรใน ค.ศ. 1945 ณ ช่วงสิ้นสุดของสงครามโลกครั้งที่สอง สิงคโปร์จึงถูกคืนให้กับอังกฤษ ภายหลังได้ยุบสเตรตส์เซตเทิลเมนต์ใน ค.ศ. 1946 และกลายเป็นคราวน์โคโลนีร่วมกับหมู่เกาะโคโคส (คีลิง) กับเกาะคริสต์มาส[2]

คราวน์โคโลนีได้รับการบริหารจากสหราชอาณาจักรจนกระทั่งร์ได้รับสิทธิปกครองตนเองภายในบางส่วนใน ค.ศ. 1955.[3] จากนั้นจึงได้รับสิทธิปกครองตนเองอย่างเต็มตัวในวันที่ 3 มิถุนายน ค.ศ. 1959 ทำให้กลายเป็น รัฐสิงคโปร์

สิงคโปร์ได้รวมดินแดนกับสหพันธรัฐมาลายา ซาราวัก และบอร์เนียวเหนือ กลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศมาเลเซีย เมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 1963 จึงทำให้การปกครองสิงคโปร์ของสหราชอาณาจักร สิ้นสุดลงเป็นการถาวรในวันดังกล่าว จากนั้นในวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1965 สิงคโปร์ถูกแยกออกจากมาเลเซีย กลายเป็นรัฐเอกราช เนื่องจากความแตกต่างทางการเมือง เศรษฐกิจ และชาติพันธุ์

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ส่วนใหญ่ร้องเฉพาะบทแรก[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Berry, Ciara (15 January 2016). "National Anthem". The Royal Family. สืบค้นเมื่อ 4 June 2016.
  2. Colony of Singapore. Government Gazette. (1946, April 1). The Singapore Colony Order in Council, 1946 (G.N. 2, pp. 2–3). Singapore: [s.n.]. Call no.: RCLOS 959.57 SGG; White paper on Malaya (1946, January 26). The Straits Times, p. 2. Retrieved from NewspaperSG; Tan, K. Y. L. (Ed.). (1999). The Singapore legal system (pp. 232–233). Singapore: Singapore University Press. Call no.: RSING 349.5957 SIN.
  3. "Singapore : History | The Commonwealth". thecommonwealth.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 September 2019. สืบค้นเมื่อ 6 May 2019.

หนังสืออ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Bose, Romen, "THE END OF THE WAR: The Liberation of Singapore and the aftermath of the Second World War", Marshall Cavendish, Singapore, 2005

1°22′N 103°48′E / 1.367°N 103.800°E / 1.367; 103.800