ราชวงศ์ชาง
ชาง (อิน) 商 (殷) | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ประมาณ 1600 ก่อนคริสตกาล–ประมาณ 1046 ก่อนคริสตกาล | |||||||||
![]() ที่ตั้งของราชวงศ์ซาง | |||||||||
สถานะ | อาณาจักร | ||||||||
เมืองหลวง | อินซฺวี | ||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาจีนเก่า | ||||||||
ศาสนา | ศาสนาพื้นบ้านจีน | ||||||||
การปกครอง | ราชาธิปไตย | ||||||||
พระมหากษัตริย์ | |||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | ยุคสัมฤทธิ์ | ||||||||
• ก่อตั้ง | ประมาณ 1600 ก่อนคริสตกาล | ||||||||
ประมาณ 1046 ก่อนคริสตกาล | |||||||||
• สิ้นสุด | ประมาณ 1046 ก่อนคริสตกาล | ||||||||
สกุลเงิน | เบี้ย, เหรียญจีน | ||||||||
|
สมัยโบราณ | |||
ยุคหินใหม่ ประมาณ 8500 – ประมาณ 2070 BCE | |||
เซี่ย ประมาณ 2070 – ประมาณ 1600 BCE | |||
ชาง ประมาณ 1600 – ประมาณ 1046 BCE | |||
โจว ประมาณ 1046 – 256 BCE | |||
โจวตะวันตก | |||
โจวตะวันออก | |||
วสันตสารท | |||
รณรัฐ | |||
สมัยจักรวรรดิ | |||
ฉิน 221–207 BCE | |||
ฮั่น 202 BCE – 220 CE | |||
ฮั่นตะวันตก | |||
ซิน | |||
ฮั่นตะวันออก | |||
ยุคสามก๊ก 220–280 | |||
เว่ย์, ฉู่ และอู๋ | |||
จิ้น 266–420 | |||
จิ้นตะวันตก | |||
จิ้นตะวันออก | สิบหกรัฐ | ||
ราชวงศ์เหนือ-ใต้ 420–589 | |||
สุย 581–618 | |||
ถัง 618–907 | |||
ห้าวงศ์สิบรัฐ 907–979 |
เหลียว 916–1125 เซี่ยตะวันตก 1038–1227 จิน 1115–1234 | ||
ซ่ง 960–1279 | |||
ซ่งเหนือ | |||
ซ่งใต้ | |||
หยวน 1271–1368 | |||
หมิง 1368–1644 | |||
ชิง 1636–1912 | |||
สมัยใหม่ | |||
สาธารณรัฐจีน บนแผ่นดินใหญ่ 1912–1949 | |||
สาธารณรัฐประชาชนจีน 1949–ปัจจุบัน | |||
สาธารณรัฐจีน ในไต้หวัน 1949–ปัจจุบัน | |||
ราชวงศ์ชาง (จีน: 商朝; พินอิน: Shāng cháo; อังกฤษ: Shang dynasty) เป็นราชวงศ์จีนที่ปกครองต่อจากราชวงศ์เซี่ย ปกครองดินแดนแถบแม่น้ำเหลืองเมื่อประมาณ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล บางครั้งเรียกว่า "ราชวงศ์อิน" (Yin Dynasty) ราชวงศ์นี้เป็นยุคแห่งไสยศาสตร์โดยแท้ นิยมการเสี่ยงทายด้วยกระดองเต่ากันมาก จากหลักฐานที่ขุดได้ พบเป็นแผ่นจารึกตัวอักษรโบราณ และเศษกระดองเต่า มีรอยแตกอยู่ทั่วไป แสดงถึงความเชื่อในอำนาจแห่งสวรรค์ ถือว่าทุกสิ่ง สวรรค์เป็นผู้กำหนด ราชวงศ์ชางมีกษัตริย์ 30 องค์ กษัตริย์องค์สุดท้ายชื่อ พระเจ้าอินโจวหรือ โจ้ว (ติวอ๋อง) ซึ่งในประวัติศาสตร์ประณามไว้ว่า เป็นคนโหดร้ายทารุณมาก นิยมการสงคราม และหลงใหลในอิสตรี โดยเฉพาะสนมเอกชื่อ ต๋าจี หรือขันกี ซึ่งเป็นคนวิปริตผิดมนุษย์ คอยยุยงให้โจ้วฆ่าคนเป็นผักปลา สร้างสระเหล้าดงเนื้อขึ้น (เอาน้ำเหล้ามาใส่ในสระ แล้วเอาเนื้อสัตว์มาห้อยไว้ตามต้นไม้) ต่อมาโจวอู่หวัง เจ้าผู้ครองแคว้นโจวทางตะวันตก ได้ยกทัพมาปราบโจ้วอ๋อง โดยอ้างว่า ได้รับ "อาณัติ" หรือ "เทียนมิ่ง" จากสวรรค์ให้มาปราบ และได้ชัยชนะ โจ้วอ๋องจึงฆ่าตัวตายโดยกระโดดลงกองไฟ แต่จริง ๆ แล้ว นักประวัติศาสตร์ยังไม่แน่ใจนัก ว่าโจ้วอ๋องจะโหดร้ายเช่นนั้นจริงหรือไม่ เพราะไม่มีหลักฐานชัดเจน รวมทั้งเรื่องเกี่ยวกับต๋าจีด้วย
เรื่องราวในตอนท้ายราชวงศ์ชางนี้ ได้มีการนำไปแต่งเป็นนิยายหลายเรื่อง หนึ่งในเรื่องนั้นก็คือ "นาจา" และ "เทพประยุทธ์พิชิตฟ้า" นั่นเอง และหนังสือพงศาวดารชื่อว่า "ห้องสิน" โดยจะเน้นหนักไปทางอิทธิปาฏิหาริย์เสียมาก
อ้างอิง[แก้]
ก่อนหน้า | ราชวงศ์ชาง | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
ราชวงศ์เซี่ย | ![]() |
ราชวงศ์ในประวัติศาสตร์จีน (ประมาณ 1600 ปี-ประมาณ 1047 ปีก่อนคริสตกาล) |
![]() |
ราชวงศ์โจว |