ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาอิตาลี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 37: บรรทัด 37:
{{กลุ่มภาษาโรมานซ์}}
{{กลุ่มภาษาโรมานซ์}}


{{เรียงลำดับ|อิตาลี}}
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาอิตาลิก|อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิตาลี|อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:ภาษาอิตาลี| ]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอิตาลี|อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มภาษาโรมานซ์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิตาลี]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศสวิตเซอร์แลนด์]]

[[หมวดหมู่:ภาษาอิตาลี]]
{{โครงภาษา}}
{{โครงภาษา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:06, 12 สิงหาคม 2562

ภาษาอิตาลี
Italiano
อีตาเลียโน
ภูมิภาคอิตาลี และประเทศอื่น 29 ประเทศ
จำนวนผู้พูด60-80 ล้านคน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรละติน
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการอิตาลี สหภาพยุโรป สวิตเซอร์แลนด์ ซานมารีโน นครรัฐวาติกัน เทศมณฑลอิสเตรีย (โครเอเชีย)ชาด เอริเทรีย ไนเจอร์ บูร์กินาฟาโซ
ผู้วางระเบียบอักกาเดเมียเดลลากรุสกา
รหัสภาษา
ISO 639-1it
ISO 639-2ita
ISO 639-3ita
  ภาษาหลัก
  อดีตภาษาราชการ, ตอนนี้เป็นภาษาที่สอง
  Large Italian-speaking communities

ภาษาอิตาลี (อิตาลี: Italiano หรือ lingua italiana ; อังกฤษ: Italian) เป็นภาษาในกลุ่มภาษาโรมานซ์,โดยส่วนใหญ่ภาษาอิตาลีเป็นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษาละตินมากที่สุดในภาษากลุ่มโรมานซ์ด้วยกัน, ภาษาอิตาลีเป็นภาษาทางการในอิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์, ซานมารีโน, นครรัฐวาติกัน และอิสเตรียตะวันตก (ในสโลวีเนียและโครเอเชีย), เคยมีสถานะเป็นภาษาทางการของแอลเบเนีย, มอลตา และ โมนาโก ซึ่งมีการพูดภาษานี้กันอย่างกว้างขวางรวมทั้งอดีตแอฟริกาะวันออกของอิตาลีและแอฟริกาเหนือของอิตาลี (ปัจจุบันคือประเทศลิเบีย), มีการพูดภาษาอิตาลีในกลุ่มผู้อพยพชาวอิตาเลียนขนาดใหญ่ในอเมริกาและออสเตรเลีย, มีสถานะเป็นภาษาทางการของชนกลุ่มน้อยในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, สโลวีเนีย, โครเอเชีย และ โรมาเนีย

ผู้รู้ภาษาอิตาลีในสหภาพยุโรป

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น