ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
== เสียง ==
== เสียง ==
อักษร "ร" ตรงกับตัวเทวนาครี "र" ภาษามคธและภาษาสันสฤกตเป็น[[เสียงเปิด ปลายลิ้นม้วน|เสียงเปิดปลายลิ้นม้วน]] {{IPA|[ɻ]}} แต่ปัจจุบันภาษาฮินดีกลายเป็น[[เสียงกระดกลิ้น ปุ่มเหงือก|เสียงกระดกลิ้นปุ่มเหงือก]] {{IPA|[ɾ]}} สำหรับ[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]]และ[[ภาษาไทยถิ่นใต้|ภาษาไทยใต้]]มีความผันผวนไปตามภาษาถิ่นหลายที่ตามตารางดังนี้
อักษร "ร" ตรงกับตัวเทวนาครี "र" ภาษามคธและภาษาสันสฤกตเป็น[[เสียงเปิด ปลายลิ้นม้วน|เสียงเปิดปลายลิ้นม้วน]] {{IPA|[ɻ]}} แต่ปัจจุบันภาษาฮินดีกลายเป็น[[เสียงกระดกลิ้น ปุ่มเหงือก|เสียงกระดกลิ้นปุ่มเหงือก]] {{IPA|[ɾ]}} สำหรับ[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]]และ[[ภาษาไทยถิ่นใต้|ภาษาไทยใต้]]มีความผันผวนไปตามภาษาถิ่นหลายที่ตามตารางดังนี้

{| class="wikitable"
!colspan=2| ภาษาถิ่น !! พยัญชนะต้น !! พยัญชนะตัวสะกด !! หมายเหตุ
|-
|rowspan=3| ไทยที่ราบภาคกลาง || อยุธยา-ปทุมธานี (มาตรฐาน)<br/>สุพรรณบุรี || [r] || [n] ||
|-
| ธนบุรี || [r]~[ɾ] || [n] || เอา [ɾ] มาจากภาษาโปรตุเกส
|-
| ภาคตะวันออก (จันทบุรี-ปราจีนบุรี)<br/>ระยอง || [r]~[ɹ] || [n] || [ɹ] ที่จริงคือเสียง "ล" และ "ฬ"
|-
|rowspan=3| ไทยเมืองหลวง || กรุงเทพ || [ɹ]~[ɻ]~[l] || [n] || เอา [ɻ] มาจากภาษาอังกฤษและ [l] จากภาษาแต้จิ๋ว
|-
| ชลบุรี-แปดริ้ว || [ɹ]~[l] || [n] || เอา [l] มาจากภาษาแต้จิ๋ว
|-
| โพธาราม<br/>อำเภอนางรอง<br/>หาดใหญ่<br/>บ้านดอน<br/>เบตง || [ɹ]~[ɻ] || [n] || เอา [ɻ] มาจากภาษาอังกฤษ
|-
|colspan=2| ไทยกลางภาคกลางตอนบน || [r]~[h] || [n] || เหมือนภาษาไทยเหนือ
|-
|rowspan=2| ไทยกลางตะวันตกเฉียงใต้ || พริบพรี || [r] || [n] ||
|-
| ประจวบคีรีขันธ์ || [r]~[ɹ] || [n] ||
|-
|colspan=2| ไทยโคราช || [r]~[ɹ] || [n] ||
|-
|colspan=2| ไทยใต้ตะวันตกเฉียงเหนือ || [r]~[ɹ] || [n] ||
|-
|colspan=2| ไทยใต้มาตรฐาน || [r]~[ɹ] || [n] ||
|-
|colspan=2| ไทยใต้ตากใบ || [r]~[ɹ] || [n] ||
|-
|}


==ร หัน==
==ร หัน==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:01, 1 สิงหาคม 2562

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

(เรือ) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 35 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก (ยักษ์) และก่อนหน้า (ลิง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรต่ำ ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ร เรือ”

อักษร ร เป็นได้ทั้งพยัญชนะต้น ให้เสียง /r/ และพยัญชนะสะกด ให้เสียง /n/

ร ที่เป็นพยัญชนะสะกดซึ่งตามหลังสระ ออ จะไม่ปรากฏตัวออ ให้ใช้ ร ต่อท้ายพยัญชนะต้นไปได้เลย เช่น กร (กอน) พร (พอน) ละคร (ละ-คอน) เป็นต้น

เสียง

อักษร "ร" ตรงกับตัวเทวนาครี "र" ภาษามคธและภาษาสันสฤกตเป็นเสียงเปิดปลายลิ้นม้วน [ɻ] แต่ปัจจุบันภาษาฮินดีกลายเป็นเสียงกระดกลิ้นปุ่มเหงือก [ɾ] สำหรับภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้มีความผันผวนไปตามภาษาถิ่นหลายที่ตามตารางดังนี้

ภาษาถิ่น พยัญชนะต้น พยัญชนะตัวสะกด หมายเหตุ
ไทยที่ราบภาคกลาง อยุธยา-ปทุมธานี (มาตรฐาน)
สุพรรณบุรี
[r] [n]
ธนบุรี [r]~[ɾ] [n] เอา [ɾ] มาจากภาษาโปรตุเกส
ภาคตะวันออก (จันทบุรี-ปราจีนบุรี)
ระยอง
[r]~[ɹ] [n] [ɹ] ที่จริงคือเสียง "ล" และ "ฬ"
ไทยเมืองหลวง กรุงเทพ [ɹ]~[ɻ]~[l] [n] เอา [ɻ] มาจากภาษาอังกฤษและ [l] จากภาษาแต้จิ๋ว
ชลบุรี-แปดริ้ว [ɹ]~[l] [n] เอา [l] มาจากภาษาแต้จิ๋ว
โพธาราม
อำเภอนางรอง
หาดใหญ่
บ้านดอน
เบตง
[ɹ]~[ɻ] [n] เอา [ɻ] มาจากภาษาอังกฤษ
ไทยกลางภาคกลางตอนบน [r]~[h] [n] เหมือนภาษาไทยเหนือ
ไทยกลางตะวันตกเฉียงใต้ พริบพรี [r] [n]
ประจวบคีรีขันธ์ [r]~[ɹ] [n]
ไทยโคราช [r]~[ɹ] [n]
ไทยใต้ตะวันตกเฉียงเหนือ [r]~[ɹ] [n]
ไทยใต้มาตรฐาน [r]~[ɹ] [n]
ไทยใต้ตากใบ [r]~[ɹ] [n]

ร หัน

คำไทยบางคำที่ยืมมาจากภาษาเขมรและภาษาสันสกฤต จะมี ร ซ้อนกันสองตัวเรียกว่า ร หัน (รร) เมื่อตามหลังพยัญชนะต้นจะออกเสียงคล้ายมีสระ อะ และสะกดด้วยแม่กนหรือพยัญชนะตัวถัดไป เช่น บรรพชา (บัน-พะ-ชา) สรรพ (สับ) ธรรมะ (ทัม-มะ) เป็นต้น โดยมีหลัก หรือความนิยมในการใช้ ร หัน ดังนี้

  1. ใช้ในคำแผลงที่แผลงมาจาก ประ คระ กระ เช่น บรรทม บรรจุ ครรไล บรรจง กรรชิง
  2. ใช้ในคำแผลงที่แผลงมาจากคำที่มีตัวสะกดเป็นอย่างอื่น เช่น ภรรยา (บาลี ภริยา, สันสกฤต ภารยา) มรรค (บาลี มคฺค, สันสกฤต มารฺค) บรรยาย บรรษัท ฯลฯ
  3. ใช้เขียนคำที่รับมาจากภาษาสันสกฤต ซึ่งมีรูปศัพท์เดิม เป็น ร เรผะ เช่น กรรม (กรฺม) ธรรม (ธรฺม) วรรค (วรฺค) ฯลฯ