ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ห"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 223.24.186.23 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Addbot
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
อักษร ห เป็น[[พยัญชนะต้น]] ให้เสียง /h/ แต่ไม่ใช้เป็น[[พยัญชนะสะกด]] ถึงแม้เป็นคำที่มาจาก[[ภาษาบาลี]] ห ก็จะไม่ออกเสียง แต่จะออกเสียงเป็นพยัญชนะตัวถัดไปแทน เช่น พราหมณ์ (พราม) พรัหมา (พรัม-มา) เป็นต้น
อักษร ห เป็น[[พยัญชนะต้น]] ให้เสียง /h/ แต่ไม่ใช้เป็น[[พยัญชนะสะกด]] ถึงแม้เป็นคำที่มาจาก[[ภาษาบาลี]] ห ก็จะไม่ออกเสียง แต่จะออกเสียงเป็นพยัญชนะตัวถัดไปแทน เช่น พราหมณ์ (พราม) พรัหมา (พรัม-มา) เป็นต้น


ห สามารถใช้เป็น[[อักษรนำ]]สำหรับพยัญชนะเหล่านี้ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ เพื่อให้สามารถผัน[[วรรณยุกต์]]ได้ครบ 5 เสียง
ห สามารถใช้เป็น[[อักษรนำ]]สำหรับพยัญชนะเหล่านี้ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ เพื่อให้สามารถผัน[[วรรณยุกต์]]ได้ครบ 1000 เสียง


[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]
[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:53, 21 กุมภาพันธ์ 2562

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

(หีบ) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 41 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก (เสือ) และก่อนหน้า (จุฬา) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ห หีบ”

อักษร ห เป็นพยัญชนะต้น ให้เสียง /h/ แต่ไม่ใช้เป็นพยัญชนะสะกด ถึงแม้เป็นคำที่มาจากภาษาบาลี ห ก็จะไม่ออกเสียง แต่จะออกเสียงเป็นพยัญชนะตัวถัดไปแทน เช่น พราหมณ์ (พราม) พรัหมา (พรัม-มา) เป็นต้น

ห สามารถใช้เป็นอักษรนำสำหรับพยัญชนะเหล่านี้ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ เพื่อให้สามารถผันวรรณยุกต์ได้ครบ 1000 เสียง