ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (วัชโรทัย)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: '''เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4''' (สกุลเดิม '''วัชโรทัย''') เป็นธิดาค...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4''' (สกุลเดิม '''วัชโรทัย''') เป็นธิดาคนหนึ่งของพระจำนงภูษิต (อยู่ วัชโรทัย)<ref name="ancestry">[[ส.พลายน้อย]]. ''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม''. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์, 2554. หน้า 321</ref> สืบเชื้อสายมาแต่ข้าหลวงเดิมในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ซึ่ง[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ตรัสเล่าถึงต้นสกุลวัชโรทัยว่า เป็นผู้เชิญพระกลดกั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าพระยาจักรีเมื่อครั้งศึกอะแซหวุ่นกี้ขอดูตัวคราวสงครามไทย-พม่า [[พ.ศ. 2318]]
'''เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4''' (สกุลเดิม '''วัชโรทัย''') เป็นธิดาคนหนึ่งของพระจำนงภูษิต (อยู่ วัชโรทัย)<ref name="ancestry">[[ส.พลายน้อย]]. ''พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม''. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์, 2554. หน้า 321</ref> สืบเชื้อสายมาแต่ข้าหลวงเดิมในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] ซึ่ง[[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ตรัสเล่าถึงต้นสกุลวัชโรทัยว่า เป็นผู้เชิญพระกลดกั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าพระยาจักรีเมื่อครั้งศึกอะแซหวุ่นกี้ขอดูตัวคราวสงครามไทย-พม่า [[พ.ศ. 2318]] <ref name= "an">ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. ''ลูกท่านหลานเธอ ที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จในราชสำนัก''. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:มติชน. 2555, หน้า 233</ref>


พระจำนงภูษิตผู้เป็นบิดาเป็นข้าราชการสำนักกรมพระภูษามาลา ได้ถวายธิดาชื่อ ''ทับทิม'' เข้ารับราชการเป็นเจ้าจอมใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และดำรงชีวิตอย่างปกติตลอดจนสิ้นอายุขัย<ref name= "an"/>
พระจำนงภูษิตผู้เป็นบิดาเป็นข้าราชการสำนักกรมพระภูษามาลา ได้ถวายธิดาชื่อ ''ทับทิม'' เข้ารับราชการเป็นเจ้าจอมใน[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และดำรงชีวิตอย่างปกติตลอดจนสิ้นอายุขัย<ref name= "an"/>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:04, 28 กันยายน 2555

เจ้าจอมทับทิม ในรัชกาลที่ 4 (สกุลเดิม วัชโรทัย) เป็นธิดาคนหนึ่งของพระจำนงภูษิต (อยู่ วัชโรทัย)[1] สืบเชื้อสายมาแต่ข้าหลวงเดิมในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ซึ่งกรมพระยาดำรงราชานุภาพตรัสเล่าถึงต้นสกุลวัชโรทัยว่า เป็นผู้เชิญพระกลดกั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกขณะดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าพระยาจักรีเมื่อครั้งศึกอะแซหวุ่นกี้ขอดูตัวคราวสงครามไทย-พม่า พ.ศ. 2318 [2]

พระจำนงภูษิตผู้เป็นบิดาเป็นข้าราชการสำนักกรมพระภูษามาลา ได้ถวายธิดาชื่อ ทับทิม เข้ารับราชการเป็นเจ้าจอมในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และดำรงชีวิตอย่างปกติตลอดจนสิ้นอายุขัย[2]

อ้างอิง

  1. ส.พลายน้อย. พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ:ฐานบุ๊คส์, 2554. หน้า 321
  2. 2.0 2.1 ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. ลูกท่านหลานเธอ ที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จในราชสำนัก. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ:มติชน. 2555, หน้า 233