ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิชา มหาคุณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 23: บรรทัด 23:


== การศึกษา ==
== การศึกษา ==
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}
- ปริญญาตรี นิติศาสตร์ [[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]
วิชาจบการศึกษาปริญญาตรี และปริญญาโทจาก[[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เนติบัณฑิตไทย[[สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา]] ปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิต [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ปริญญาบัตรการป้องกันราชอาณาจักร[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] รุ่นที่ 41 ประกาศนียบัตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 ([[สถาบันพระปกเกล้า]]) ประกาศนียบัตรวิทยาลัยตลาดทุน (วตท.รุ่นที่ 10) หลักสูตรนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 3 นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]] รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] (นิด้า) และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์พิเศษแห่งคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยได้รับทุนจาก มูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การเผยแพร่ความรู้กฎหมายไปสู่ชนบท" ณ ศูนย์ศึกษาเบลลาจิโอ ประเทศอิตาลี กับได้รับทุน 9 จากองค์การอนุเคราะห์เด็กแห่งนอร์เวย์ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การทารุณกรรมเด็ก" รวมทั้งได้รับทุนฝึกอบรมด้านบำบัดผู้ติดยาเสพติด ณ นครนิวยอร์ก จากองค์การเดท็อปแห่งสหรัฐอเมริกา และผ่านการศึกษาหลักสูตร Cambridge-Thammasat Executive Education Programme ณ [[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] ประเทศอังกฤษ

- ปริญญาโท นิติศาสตร์ [[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]

- ปริญญาโท รัฐศาสตรมหาบัณฑิต [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]

- เนติบัณฑิตไทย [[สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา]]

- ปริญญาบัตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 41[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]]

- ประกาศนียบัตรการเมืองการปกครองในระบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 ([[สถาบันพระปกเกล้า]])

- ประกาศนียบัตรวิทยาลัยตลาดทุน (รุ่นที่10)

- หลักสูตรนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย (รุ่นที่ 3)

- นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]]

- รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] (นิด้า)

และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์พิเศษ แห่งคณะนิติศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เคยได้รับทุนจาก มูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การเผยแพร่ความรู้กฎหมายไปสู่ชนบท" ณ ศูนย์ศึกษาเบลลาจิโอ ประเทศอิตาลี กับ

เคยได้รับทุนจาก องค์การอนุเคราะห์เด็กแห่งนอรเวย์ ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การทารุณกรรมเด็ก"

รวมทั้งได้รับทุนฝึกอบรมด้านบำบัดผู้ติดยาเสพติด ณ. นครนิวยอร์ก จากองค์การเดท็อปแห่งสหรัฐอเมริกา

และผ่านการศึกษาหลักสูตร Cambridge-Thammasat Executive Education Programme ณ [[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] ประเทศอังกฤษ{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}
วิชาจบการศึกษาปริญญาตรี และปริญญาโทจาก[[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] เนติบัณฑิตไทย[[สำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา]] ปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิต [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] ปริญญาบัตรการป้องกันราชอาณาจักร[[วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร]] รุ่นที่ 41 ประกาศนียบัตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 ([[สถาบันพระปกเกล้า]]) ประกาศนียบัตรวิทยาลัยตลาดทุน (วตท.รุ่นที่10) หลักสูตรนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่3 นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [[มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ]] รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ [[สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์]] (นิด้า) และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์พิเศษแห่งคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยได้รับทุนจาก มูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การเผยแพร่ความรู้กฎหมายไปสู่ชนบท" ณ ศูนย์ศึกษาเบลลาจิโอ ประเทศอิตาลี กับได้รับทุน9จากองค์การอนุเคราะห์เด็กแห่งนอรเวย์ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การทารุณกรรมเด็ก" รวมทั้งได้รับทุนฝึกอบรมด้านบำบัดผู้ติดยาเสพติด ณ นครนิวยอร์ก จากองค์การเดท็อปแห่งสหรัฐอเมริกา และผ่านการศึกษาหลักสูตร Cambridge-Thammasat Executive Education Programme ณ [[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] ประเทศอังกฤษ


== การทำงาน ==
== การทำงาน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:56, 12 พฤษภาคม 2564

วิชา มหาคุณ
กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
ดำรงตำแหน่ง
22 กันยายน 2549 – 30 ธันวาคม 2558
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด8 มีนาคม พ.ศ. 2489 (78 ปี)

ศาสตราจารย์พิเศษ วิชา มหาคุณ (เกิด 8 มีนาคม พ.ศ. 2489) คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และ ผู้อำนวยการหลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต[1] อดีตกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) และอดีตประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลฎีกา

การศึกษา

วิชาจบการศึกษาปริญญาตรี และปริญญาโทจากคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนติบัณฑิตไทยสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาบัตรการป้องกันราชอาณาจักรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 41 ประกาศนียบัตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 (สถาบันพระปกเกล้า) ประกาศนียบัตรวิทยาลัยตลาดทุน (วตท.รุ่นที่ 10) หลักสูตรนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่ 3 นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์พิเศษแห่งคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยได้รับทุนจาก มูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การเผยแพร่ความรู้กฎหมายไปสู่ชนบท" ณ ศูนย์ศึกษาเบลลาจิโอ ประเทศอิตาลี กับได้รับทุน 9 จากองค์การอนุเคราะห์เด็กแห่งนอร์เวย์ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การทารุณกรรมเด็ก" รวมทั้งได้รับทุนฝึกอบรมด้านบำบัดผู้ติดยาเสพติด ณ นครนิวยอร์ก จากองค์การเดท็อปแห่งสหรัฐอเมริกา และผ่านการศึกษาหลักสูตร Cambridge-Thammasat Executive Education Programme ณ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ

การทำงาน

วิชาเริ่มรับราชการในตำแหน่งเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ ต่อมาได้โอนไปรับราชการเป็นพนักงานอัยการ จนเป็นอัยการจังหวัดผู้ช่วยจังหวัดกำแพงเพชร ต่อด้วยผู้พิพากษาศาลจังหวัดแพร่ ผู้พิพากษาประจำกระทรวงช่วยทำงานทำเนียบนายกรัฐมนตรี ทำหน้าที่เลขานุการส่วนตัวนายกรัฐมนตรี (ธานินทร์ กรัยวิเชียร) ผู้อำนวยการกองพิทักษ์ทรัพย์ ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลคดีเด็กและเยาวชนจังหวัดอุบลราชธานี ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจังหวัดอุบลราชธานี เลขานุการศาลฎีกา ขณะดำรงตำแหน่งเลขานุการศาลฎีกาได้ถูกคำสั่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมให้ออกจากราชการ เมื่อ พ.ศ. 2535 ด้วยข้อหาขัดคำสั่งรัฐมนตรี เมื่อครั้งเกิดกรณี "วิกฤตตุลาการ"[ต้องการอ้างอิง] แต่ได้ทูลเกล้าถวายฎีกาคัดค้านคำสั่งดังกล่าว[ต้องการอ้างอิง] ในที่สุดพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชกระแสว่า ไม่สมควรออกจากราชการ[ต้องการอ้างอิง] รัฐมนตรีจึงมีคำสั่งยกเลิกคำสั่งที่ให้ออกจากราชการ[ต้องการอ้างอิง] ดังนั้นวิชาจึงยังดำรงตำแหน่งตุลาการ[ต้องการอ้างอิง]

ต่อมาจึงได้รับโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ รองอธิบดีผู้พิพากษาภาค1 รองอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลาง ผู้พิพากษาศาลฎีกา ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะในศาลฎีกา ประธานศาลอุทธรณ์ภาค 2 และภาค 1 ตามลำดับ กับได้รับเลือกตั้งให้เป็นกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม ผู้ทรงคุณวุฒิสองสมัย และเป็นศาสตราจารย์พิเศษแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิชา มหาคุณดำรงตำแหน่งสุดท้ายในราชการศาลยุติธรรม คือ ประธานแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลฎีกา ก่อนจะถูกเสนอชื่อจากที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาให้เป็นกรรมการการเลือกตั้ง] และได้รับการคาดหมายว่าจะได้รับเลือกเป็น กกต.เพราะได้รับคะแนนเสียงเป็นอันดับหนึ่ง แต่ปรากฏว่าไม่ได้รับการคัดเลือกจากที่ประชุมวุฒิสภา เมื่อวันที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2549[2]

วิชา มหาคุณได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ป.ป.ช.เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2549-22 กันยายน 2558 ตามประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 19 ลงวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2549[3] ต่อมาได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ และได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550 โดยได้รับการคัดเลือกให้เป็นรองประธานกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ คนที่ 3 ประธานอนุกรรมการยกร่างรัฐธรรมนูญกรอบที่ 3 ว่าด้วยองค์กรอิสระและศาล เป็นกรรมการที่ปรึกษาอาวุโส สถาบันระหว่างประเทศว่าด้วยการต่อต้านทุจริต (IACA) ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย (2556-2562) เป็นประธานมูลนิธิต่อต้านการทุจริต ตั้งแต่ปี 2558 เป็น ประธานคณะกรรมการจริยธรรม ประจำกรมศุลกากร ตั้งแต่ ปี 2559

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. รายชื่อบุคลากร
  2. http://www.parliament.go.th/news/news_detail.php?prid=28734
  3. ประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ฉบับที่ 19 เรื่อง ให้พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญบางฉบับมีผลใช้บังคับต่อไป
  4. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (ชั้นสายสะพาย จำนวน ๕,๐๑๖ ราย ในวโรกาสพระราชพิธีฉัตรมงคล วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๔๑)
  5. ราชกิจจานุเบกษา,แจ้งสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ฉบับพิเศษ หน้า ๗ เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๒๐๐, ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๖
  6. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนกนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เข็มศิลปวิทยา ประจำปี๒๕๖๐ หน้า ๓ เล่ม ๑๓๔, ตอนที่ ๑๘ ข, ๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๐
  7. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา หน้า ๔๔๙ เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๔ ข, ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๙
  8. ราชกิจจานุเบกษา,ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี หน้า ๑๘ เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๔ ข, ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

http://kc.hri.tu.ac.th/index.php?title=%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C_(%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9)_%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2_%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93#.E0.B8.9C.E0.B8.A5.E0.B8.87.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B9.80.E0.B8.94.E0.B9.88.E0.B8.99.2F.E0.B8.9C.E0.B8.A5.E0.B8.87.E0.B8.B2.E0.B8.99.E0.B8.AA.E0.B8.A3.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.87.E0.B8.AA.E0.B8.A3.E0.B8.A3.E0.B8.84.E0.B9.8C.E0.B8.94.E0.B9.89.E0.B8.B2.E0.B8.99_HR_.E0.B9.83.E0.B8.AB.E0.B9.89.E0.B8.81.E0.B8.B1.E0.B8.9A.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.84.E0.B9.8C.E0.B8.81.E0.B8.A3.2F.E0.B8.AA.E0.B8.B1.E0.B8.87.E0.B8.84.E0.B8.A1