ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศไต้หวัน"
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
ข้อมูลที่ถูกต้องของเขตบริหารพิเศษไต้หวันในปัจจุบัน |
||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}} |
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}} |
||
{{hatnote|สำหรับความหมายอื่น ดู [[ไต้หวัน (แก้ความกำกวม)]] และ[[สาธารณรัฐจีน (แก้ความกำกวม)]]}} |
{{hatnote|สำหรับความหมายอื่น ดู [[ไต้หวัน (แก้ความกำกวม)]] และ[[สาธารณรัฐจีน (แก้ความกำกวม)]]}} |
||
{{ธงชาติ และธงประจำเขตปกครอง|เขตบริหารพิเศษไต้หวัน แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน=}} |
|||
{{กล่องข้อมูล ประเทศ |
|||
| native_name = 中華民國 |
|||
| conventional_long_name = สาธารณรัฐจีน |
|||
| common_name = ไต้หวัน |
|||
| image_flag = Flag of the Republic of China.svg |
|||
| image_coat = National Emblem of the Republic of China.svg |
|||
| symbol_type = [[ตราแผ่นดินของสาธารณรัฐจีน|ตราแผ่นดิน]] |
|||
| image_map = Locator map of the ROC Taiwan.svg |
|||
| naitonal_motto = |
|||
|national_anthem = {{lang|zh-hant|《中華民國國歌》}}<br/>{{small|''[[เพลงชาติสาธารณรัฐจีน]]''}} [[ไฟล์:National anthem of the Republic of China (Taiwan) 中華民國國歌(演奏版).ogg|center]] |
|||
<div style="padding-top:0.5em;">{{lang|zh-hant|《中華民國國旗歌》}}<br/>{{small|''[[เพลงธงชาติสาธารณรัฐจีน]]''}}</div> [[ไฟล์:National_Flag_Anthem_of_the_Republic_of_China中華民國國旗歌_(演奏版).oga|center]] |
|||
| official_languages = [[ภาษาจีนมาตรฐาน]]<ref>{{cite web|url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/580902/Taiwan |title=Taiwan (self-governing island, Asia)|publisher=Britannica Online Encyclopedia |date=1975-04-05 |accessdate=2009-05-07}}</ref> |
|||
| languages_type = อักษรทางการ |
|||
| languages = [[อักษรจีนตัวเต็ม]] |
|||
| regional_languages = รับรองตามรัฐธรรมนูญ {{bulleted list |
|||
|[[ภาษาจีนกลางสำเนียงไต้หวัน]]{{efn|name=NatLang|Not designated but meets legal definition}} |
|||
|[[ภาษาแคะ|ภาษาจีนฮากกา (แคะ)]]<ref>{{cite web |title=Hakka Basic Act |url=https://law.moj.gov.tw/ENG/LawClass/LawAll.aspx?pcode=D0140005 |website=law.moj.gov.tw |accessdate=22 May 2019}}</ref> |
|||
|[[ภาษาฮกเกี้ยน]]<ref>{{cite web |title=Indigenous Languages Development Act |url=https://law.moj.gov.tw/ENG/LawClass/LawAll.aspx?pcode=D0130037 |website=law.moj.gov.tw |
|||
|accessdate=22 May 2019}}</ref> |
|||
|[[กลุ่มภาษาเกาะฟอร์โมซา]]<ref>{{cite web|url=http://www.gio.gov.tw/taiwan-website/5-gp/yearbook/ch02.html|title=The Republic of China Yearbook 2009. Chapter 2 – People and Language|date=2009|publisher=Government Information Office|accessdate=2 May 2010}}</ref>}} |
|||
| capital = [[ไทเป]] |
|||
| latd = 25 |latm=02 |latNS=N |longd=121 |longm=38 |longEW=E |
|||
| largest_city = [[ซินเป่ย์]] |
|||
| government_type = [[สาธารณรัฐ]], [[ประชาธิปไตย]] |
|||
*[[ระบบกึ่งประธานาธิบดี]] |
|||
| legislature = [[สภานิติบัญญัติ (ไต้หวัน)|สภานิติบัญญัติหยวน]] |
|||
| leader_title1 = [[รายนามประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน|ประธานาธิบดี]] |
|||
| leader_title2 = [[รายนามรองประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน|รองประธานาธิบดี]] |
|||
| leader_title3 = [[รายนามนายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐจีน|นายกรัฐมนตรี]] |
|||
| leader_name1 = [[ไช่ อิงเหวิน]] |
|||
| leader_name2 = [[เฉิน เจี้ยนเหริน]] |
|||
| leader_name3 = [[ซู เจินชาง]] |
|||
| area_rank = 135 |
|||
| area_magnitude = 1 E10 |
|||
| area_km2 = 35,980 |
|||
| area_sq_mi = 13,892 |
|||
| percent_water = 2.8 |
|||
| population_estimate = 25,341,602 |
|||
| population_estimate_rank = 47 <sup>2</sup> |
|||
| population_estimate_year = ก.ค. 2551 |
|||
| population_census = |
|||
| population_census_year = |
|||
| population_density_km2 = 640 |
|||
| population_density_sq_mi = 1,658 |
|||
| population_density_rank = 14 <sup>2</sup> |
|||
| GDP_PPP = {{increase}} 1.306 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref name="IMFWEOTW">{{cite web |url=https://www.imf.org/external/pubs/ft/weo/2019/01/weodata/weorept.aspx?pr.x=43&pr.y=13&sy=2017&ey=2021&scsm=1&ssd=1&sort=country&ds=.&br=1&c=528&s=NGDPD%2CPPPGDP%2CNGDPDPC%2CPPPPC&grp=0&a= |title=World Economic Outlook Database, April 2019 |publisher=[[International Monetary Fund]] |website=IMF.org |access-date=19 August 2019}}</ref> |
|||
| GDP_PPP_year = 2019 |
|||
| GDP_PPP_rank = |
|||
| GDP_PPP_per_capita = {{increase}} 55,244 ดอลลาร์สหรัฐ<ref name="IMFWEOTW"/> |
|||
| GDP_PPP_per_capita_rank = |
|||
| GDP_nominal = {{increase}} 601.431 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref name="IMFWEOTW"/> |
|||
| GDP_nominal_year = 2019 |
|||
| GDP_nominal_rank = |
|||
| GDP_nominal_per_capita = {{increase}} 25,447 ดอลลาร์สหรัฐ<ref name="IMFWEOTW"/> |
|||
| GDP_nominal_per_capita_rank = |
|||
| sovereignty_type = [[ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐจีน|การสถาปนา]] |
|||
| sovereignty_note = [[การปฏิวัติซินไฮ่]] |
|||
| established_date1 = [[10 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2454]] |
|||
| established_date2 = [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2455]] |
|||
| established_date3 = [[7 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2492]] |
|||
| established_event1 = ประกาศวันชาติ |
|||
| established_event2 = สถาปนา |
|||
| established_event3 = ย้ายสู่เกาะไต้หวัน |
|||
| Gini = {{DecreasePositive}} 28.1 |
|||
| Gini_rank = |
|||
| Gini_year = 2018 |
|||
| Gini_category = <font color="green">ต่ำ</font> |
|||
| HDI_year = 2017 |
|||
| HDI = {{Increase}} 0.907 |
|||
<font color="green">สูงมาก</font>{{efn |name="HDI-1" |เนื่องจากทาง[[องค์การสหประชาชาติ]]ไม่ได้ให้การรับรองประเทศสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เป็น[[รัฐเอกราช]] รายงานผลการประเมิน[[ดัชนีการพัฒนามนุษย์]] (HDI) จึงไม่ประเมินไต้หวัน โดยถือว่าไต้หวันเป็นส่วนหนึ่งของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] เมื่อคำนวณตัวเลขของจีน.<ref name="HDI-2">{{cite web|url=http://hdr.undp.org/en/media/HDR_2010_EN_Readers_reprint.pdf|title=- Human Development Reports|website=hdr.undp.org}}</ref> ทางรัฐบาลไต้หวันได้ประเมินระดับดัชนีการพัฒนามนุษย์มีค่า 0.907 โดยยึดหลักระเบียบวิธีของ UNDP ในปี ค.ศ. 2010 ซึ่งจะจัดอยู่ในอันดับที่ 21 ระหว่าง[[ออสเตรีย]]กับ[[ลักเซมเบิร์ก]]ในรายการการประเมินของสหประชาชาติลงวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 2018<ref name="HDI-3">{{cite |
|||
web|url=http://eng.stat.gov.tw/public/data/dgbas03/bs2/gender/International%20Gender/%E4%BA%BA%E9%A1%9E%E7%99%BC%E5%B1%95%E6%8C%87%E6%95%B8.xls|format=Excel |script-title=zh:2018中華民國人類發展指數(HDI)|accessdate=2018-11-12|year=2018|publisher=Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, R.O.C.|language=zh-hant}}</ref><ref name="HDI-4">{{cite web |title=Human Development Indices and Indicators: 2018 Statistical Update |url=http://hdr.undp.org/sites/default/files/2018_human_development_statistical_update.pdf |publisher=[[United Nations Development Programme]] |oclc=1061292121 |accessdate=9 December 2018 |format=PDF |date=14 September 2018}}</ref> |group="nb"}} |
|||
| HDI_rank = ที่ 21 |
|||
| HDI_category = |
|||
| currency = [[ดอลลาร์ไต้หวันใหม่]] ('''NT$''') |
|||
| currency_code = TWD |
|||
| country_code = TPE |
|||
| time_zone = [[เวลามาตรฐานจีน|CST]] |
|||
| utc_offset = [[UTC+8|+8]] |
|||
| time_zone_DST = ไม่มี |
|||
| utc_offset_DST = |
|||
| date_format = {{unbulleted list |ปี-เดือน-วัน |{{longitem|style=line-height:1.1em; |{{nowrap|yyyy年m月d日<br />{{small|([[Common Era|CE]]; [[Chinese calendar|CE+2697]])}}}}}} |[[ปฏิทินหมินกั๋ว|ปีหมินกั๋ว/ปีสาธารณรัฐ (民國年) เดือน (月) วัน (日)]] {{small|([[Common Era|CE]]−1911)}}}} |
|||
| drives_on = ขวา |
|||
| cctld = [[.tw]] |
|||
| calling_code = 886 |
|||
}} |
|||
{{มีอักษรจีน}} |
{{มีอักษรจีน}} |
||
'''เกาะไต้หวัน''' ([[:en:Pe̍h-ōe-jī|แป่ะเอ๋ยี้]]: Tâi-oân; ''ไต่อวัน'') หรือ '''ไถวาน''' ({{lang-roman|Taiwan}}; {{zh-all|t=臺灣/台灣|s=台湾|p=Táiwān}}; ''ไถวาน'') เป็นเขตปกครองตนเองพิเศษ แห่งสาธารณะรัฐประชาชนจีน |
|||
'''ไต้หวัน''' ([[:en:Pe̍h-ōe-jī|แป่ะเอ๋ยี้]]: Tâi-oân; ''ไต่อวัน'') หรือ '''ไถวาน''' ({{lang-roman|Taiwan}}; {{zh-all|t=臺灣/台灣|s=台湾|p=Táiwān}}; ''ไถวาน'') หรือชื่อทางการว่า '''สาธารณรัฐจีน''' ({{lang-en|Republic of China}}; {{zh-all|t=中華民國|s=中华民国|p=Zhōnghuá Mínguó}}) เป็นรัฐในทวีป[[เอเชียตะวันออก]]<ref name="fell">{{cite book|last1=Fell|first1=Dafydd|title=Government and Politics in Taiwan|date=2018|publisher=Routledge|location=London|isbn=978-1317285069|page=305|url=https://books.google.com/books?id=i8hHDwAAQBAJ|quote=Moreover, its status as a vibrant democratic state has earned it huge international sympathy and a generally positive image.}}</ref><ref name="French">{{cite book|last1=French|first1=Duncan|title=Statehood and Self-Determination: Reconciling Tradition and Modernity in International Law |date=2013|publisher=[[Cambridge University Press]]|location=[[Cambridge]]|isbn=978-1107311275|page=26|url=https://books.google.com/books?id=YYogAwAAQBAJ&pg=PA26|quote= The population on the islands of Formosa and the Pescadores is governed by an effective government to the exclusion of others, but Taiwan is not generally considered a state.}}</ref><ref>{{cite web|last1=Albert|first1=Eleanor|title=China-Taiwan Relations|url=https://www.cfr.org/backgrounder/china-taiwan-relations|website=[[Council on Foreign Relations]]|accessdate=30 March 2018|date=7 December 2016|quote=The People’s Republic of China (PRC) views the island as a province, while in Taiwan—a territory with its own democratically elected government—leading political voices have differing views on the island’s status and relations with the mainland. Some observe the principle that there is “one China” comprising the island and the mainland, but in their eyes this is the Republic of China (ROC) based in Taipei; others advocate for a de jure independent Taiwan.}}</ref> ปัจจุบันประกอบด้วยเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ [[จินเหมิน]] (金門), [[เกาะไต้หวัน|ไต้หวัน]], [[เผิงหู]] (澎湖), [[หมู่เกาะหมาจู่|หมาจู่]] (馬祖), และ[[อูชิว]] (烏坵) กับทั้ง[[รายชื่อเกาะในประเทศไต้หวัน|เกาะเล็กเกาะน้อย]]อีกจำนวนหนึ่ง ท้องที่ดังกล่าวเรียกรวมกันว่า "[[พื้นที่ไต้หวัน]]" (臺灣地區) |
|||
ไต้หวันด้านตะวันตกติดกับ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน|จีนแผ่นดินใหญ่]] ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] และด้านใต้ติดกับ[[ประเทศฟิลิปปินส์|ฟิลิปปินส์]] กรุง[[ไทเป]]เป็น |
เกาะไต้หวันด้านตะวันตกติดกับ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน|จีนแผ่นดินใหญ่]] ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับ[[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]] และด้านใต้ติดกับ[[ประเทศฟิลิปปินส์|ฟิลิปปินส์]] กรุง[[ไทเป]]เป็นเมืองหลักของเกาะ |
||
เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของ |
เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชาวจีนจนกระทั่งชาว[[ดัชต์ฟอร์โมซา|วิลันดา]]และ[[สเปนฟอร์โมซา|สเปน]]เดินทางเข้ามาใน[[ยุคสำรวจ]]เมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 [[ราชวงศ์หมิง]]ในแผ่นดินใหญ่ถูก[[ราชวงศ์ชิง]]แทนที่ [[Koxinga|เจิ้ง เฉิงกง]] (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้ง[[ราชอาณาจักรตงหนิง]] (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "[[Anti-Qing sentiment|โค่นชิงฟื้นหมิง]]" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและ[[ไต้หวันในความปกครองของราชวงศ์ชิง|เข้าครอบครอง]]ไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน [[พรรคก๊กมินตั๋ง]] (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]] (共产党) [[พรรคก๊กมินตั๋ง]]จึงหนีมายัง[[เกาะไต้หวัน]]และสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหาก ส่วนฝ่ายคอมมิวนิสต์จีนที่เป็นฝ่ายได้รับชัยชนะได้สถาปนา[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]บนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้ |
||
ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวัน[[Taiwan Miracle|งอกงามอย่างรวดเร็ว]] ไต้หวันจึงกลายเป็น[[เขตพัฒนาแล้ว|เขตที่พัฒนาแล้ว]] ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน[[สี่เสือแห่งเอเชีย]] มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็น[[รายชื่อประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)|อันดับ]]ที่ 19 ของโลก<ref>[[CIA]] [[World Factbook]]- [https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/rankorder/2001rank.html?countryName=Taiwan&countryCode=tw®ionCode=eas&rank=20#tw GDP (PPP)]</ref> |
|||
== ภูมิศาสตร์ == |
== ภูมิศาสตร์ == |
||
{{บทความหลัก|ภูมิศาสตร์ไต้หวัน}} |
{{บทความหลัก|ภูมิศาสตร์ไต้หวัน}} |
||
''' |
'''เกาะไต้หวัน''' มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ ทำให้ภูมิประเทศติดกับทะเล และอยู่ห่างจากจีนแผ่นดินใหญ่ไม่ใกล้มากนัก |
||
== ประวัติศาสตร์ == |
== ประวัติศาสตร์ == |
||
{{บทความหลัก}} |
|||
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์ไต้หวัน|ประวัติศาสตร์สาธารณรัฐจีน}} |
|||
=== ก่อนประวัติศาสตร์ === |
=== ก่อนประวัติศาสตร์ === |
||
{{บทความหลัก |
{{บทความหลัก}} |
||
{{โครง-ส่วน}} |
{{โครง-ส่วน}} |
||
บรรทัด 113: | บรรทัด 29: | ||
ในปี [[พ.ศ. 2169]] (ค.ศ. 1626) ชาวสเปนเดินทางมาถึงและได้เข้ายึดครองบริเวณทางตอนเหนือของไต้หวัน ที่ท่าเรือของ[[นครจีหลง]]และบริเวณชายฝั่งของ[[นครซินเป่ย์]]ในปัจจุบัน เพื่อเป็นฐานในการขยายการค้า กลายเป็นยุคอาณานิคมของสเปนอยู่ 16 ปีจนกระทั่ง [[พ.ศ. 2185]] (ค.ศ. 1642) เมื่อป้อมปราการสุดท้ายของสเปนถูกกองทัพเนเธอร์แลนด์เข้าตีได้สำเร็จ |
ในปี [[พ.ศ. 2169]] (ค.ศ. 1626) ชาวสเปนเดินทางมาถึงและได้เข้ายึดครองบริเวณทางตอนเหนือของไต้หวัน ที่ท่าเรือของ[[นครจีหลง]]และบริเวณชายฝั่งของ[[นครซินเป่ย์]]ในปัจจุบัน เพื่อเป็นฐานในการขยายการค้า กลายเป็นยุคอาณานิคมของสเปนอยู่ 16 ปีจนกระทั่ง [[พ.ศ. 2185]] (ค.ศ. 1642) เมื่อป้อมปราการสุดท้ายของสเปนถูกกองทัพเนเธอร์แลนด์เข้าตีได้สำเร็จ |
||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
=== ราชวงศ์ชิง === |
=== ราชวงศ์ชิง === |
||
บรรทัด 124: | บรรทัด 38: | ||
=== จักรวรรดิญี่ปุ่น === |
=== จักรวรรดิญี่ปุ่น === |
||
{{บทความหลัก|สาธารณรัฐฟอร์โมซา|ไต้หวันในความปกครองของญี่ปุ่น}} |
{{บทความหลัก|สาธารณรัฐฟอร์โมซา|ไต้หวันในความปกครองของญี่ปุ่น}} |
||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
=== หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 === |
=== หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 === |
||
{{บทความหลัก|ไต้หวันภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2}} |
{{บทความหลัก|ไต้หวันภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2}} |
||
บรรทัด 140: | บรรทัด 52: | ||
=== พรรคก๊กมินตั๋งเรืองอำนาจ === |
=== พรรคก๊กมินตั๋งเรืองอำนาจ === |
||
{{บทความหลัก|สงครามกลางเมืองจีน|การปฏิวัติคอมมิวนิสต์จีน||}} |
{{บทความหลัก|สงครามกลางเมืองจีน|การปฏิวัติคอมมิวนิสต์จีน||}} |
||
ในปี [[พ.ศ. 2514]] (ค.ศ. 1971) ก่อนที่นายพล [[เจียง ไคเช็ก]] (General Chiang Kaishek) ([[ภาษาจีน]]:蔣中正) จะถึงอสัญกรรมไม่กี่ปี สาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นประเทศที่ร่วมก่อตั้ง[[องค์การสหประชาชาติ]]ได้สูญเสียสมาชิกภาพในฐานะตัวแทนชาวจีนให้กับสาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี [[พ.ศ. 2521]] (ค.ศ. 1978) สหประชาชาติก็ประกาศรับรองจีนเดียวคือจีนแผ่นดินใหญ่และตัดสัมพันธ์ทางการเมืองกับสาธารณรัฐจีน ทั้งสหรัฐอเมริกาก็ได้ถอนการรับรองว่าสาธารณรัฐจีนมีฐานะเป็นรัฐ ไต้หวันจึงกลายเป็นเพียงดินแดน |
ในปี [[พ.ศ. 2514]] (ค.ศ. 1971) ก่อนที่นายพล [[เจียง ไคเช็ก]] (General Chiang Kaishek) ([[ภาษาจีน]]:蔣中正) จะถึงอสัญกรรมไม่กี่ปี สาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นประเทศที่ร่วมก่อตั้ง[[องค์การสหประชาชาติ]]ได้สูญเสียสมาชิกภาพในฐานะตัวแทนชาวจีนให้กับสาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี [[พ.ศ. 2521]] (ค.ศ. 1978) สหประชาชาติก็ประกาศรับรองจีนเดียวคือจีนแผ่นดินใหญ่และตัดสัมพันธ์ทางการเมืองกับสาธารณรัฐจีน ทั้งสหรัฐอเมริกาก็ได้ถอนการรับรองว่าสาธารณรัฐจีนมีฐานะเป็นรัฐ ไต้หวันจึงกลายเป็นเพียงดินแดนของสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างสมบูรณ์ |
||
เมื่อเจียง ไคเช็ก ถึงแก่อสัญกรรมในปี [[พ.ศ. 2518]] (ค.ศ. 1975) ลูกชายที่ชื่อ [[เจี่ยง จิงกั๋ว]] (Chiang Chingkuo) ได้เป็นผู้สืบทอดการปกครองไต้หวันต่อและเริ่มกระบวนการ วางรากฐานไปสู่ประชาธิปไตย |
|||
=== ปฏิรูปประชาธิปไตย === |
|||
{{บทความหลัก|การปฏิรูปประชาธิปไตยไต้หวัน|การเลือกตั้งในไต้หวัน}} |
|||
[[ไฟล์:President Lee teng hui.png|thumb|right|180px|ในปี ค.ศ. 1988 [[หลี่ เติงฮุย]] ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีที่เป็นชาวพื้นเมืองไต้หวันคนแรกของสาธารณรัฐจีนและได้รับการเลือกตั้งตามระบอบประชาธิปไตยในปี ค.ศ. 1996]] |
|||
หลังจากที่ประธานาธิบดี เจียง จิงกั๋ว เสียชีวิต ไต้หวันจึงได้เข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ประธานาธิบดีคนใหม่ ซึ่งเกิดในไต้หวัน ชื่อ [[หลี่ เติงฮุย]] (Lee Tenghui) ขึ้นบริหารประเทศ โดยการสนับสนุนของ[[เจี่ยง จิงกั๋ว]] (Chiang Chingkuo) ทั้งที่ หลี่ เติงฮุย (Lee Tenghui) นั้นเคลื่อนไหวสนับสนุนเอกราชไต้หวัน นาย รัฐบาลจีนที่ปักกิ่งได้ตั้งฉายาประธานาธิบดีไต้หวันคนใหม่ว่า "จิ้งจกปากหวาน" (A sweet-Talking Chameleon) ช่วงเวลาที่นายหลี่ เติงฮุย เป็นประธานาธิบดี การเมืองของไต้หวันเกิดการแตกแยกออกเป็น 3 ฝ่ายคือ 1) พวกก๊กมินตั๋ง ที่ต้องการกลับไปรวมประเทศกับจีนแผ่นดินใหญ่ (รวมจีนแผ่นดินใหญ่ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐจีน) 2) พวกที่ต้องการให้ไต้หวันเป็นประเทศอิสระไม่เกี่ยวข้องกับจีนแผ่นดินใหญ่ และ 3) พวกที่ต้องการดำรงฐานะของประเทศไว้ดังเดิมต่อไป |
|||
ไต้หวันกับจีนแผ่นดินใหญ่นัดเจรจาหาทางออกของข้อขัดแย้งทางการเมืองครั้งแรกที่สิงคโปร์เมื่อปี [[พ.ศ. 2536]] (ค.ศ. 1993) แต่ปรากฏว่าจีนแผ่นดินใหญ่ประวิงเวลาการลงนามในสัญญาหลายฉบับที่เป็นข้อตกลงร่วมกัน ทำให้ผลของการเจรจาคราวนั้นไม่ก้าวหน้าไปถึงไหน ความสัมพันธ์ระหว่างสองจีนเลวร้ายลงทุกที เมื่อประธานาธิบดี หลี่ เติงฮุย เดินทางไปเยือนสหรัฐอเมริกาและได้รับการยอมรับอย่างเอิกเกริก ทำให้จีนแผ่นดินใหญ่ไม่พอใจเป็นอย่างมาก จึงกระทำการข่มขวัญไต้หวันกับประเทศที่ให้การสนับสนุนไต้หวัน ด้วยการทำการซ้อมรบขึ้นใกล้ ๆ เกาะไต้หวัน สหรัฐอเมริกาออกมาแสดงอาการปกป้องคุ้มครองไต้หวันด้วยการส่งกำลังกองเรือรบของสหรัฐฯ มาป้วนเปี้ยนอยู่ในน่านน้ำที่จีนซ้อมรบ |
|||
ขณะที่โลกกำลังล่อแหลมกับสถานการณ์ที่ตึงเครียดในน่านน้ำจีนมากขึ้นทุกทีนั้น ไต้หวันก็จัดให้มีการเลือกตั้งครั้งใหม่ และในการเลือกตั้งครั้งใหม่นั้นเอง ไต้หวันก็ได้นายหลี่ เติงฮุย เป็นประธานาธิบดีอีกครั้ง |
|||
ไต้หวันเข้าสู่สภาวะวิกฤต เมื่อเกิดแผ่นดินไหวครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ในเดือนกันยายน [[พ.ศ. 2542]] (ค.ศ. 1999) ทำให้ประชากรส่วนมากที่เป็นชาวพื้นเมืองเสียชีวิตไป 2,000 คน ทั้งเมืองมีแต่เศษซากสิ่งปรักหักพังที่เกิดจากภัยธรรมชาติ และช่วงนี้ไต้หวันต้องเผชิญความยากลำบากจากภัยธรรมชาติร้ายแรง จีนแผ่นดินใหญ่ก็เพิ่มความกดดันไม่ให้นานาชาติเข้ามายุ่งเกี่ยวกับไต้หวันแม้ในยามคับขันเช่นนี้ โดยออกมาประกาศว่า หากมีประเทศใดจะเข้าไปให้ความช่วยเหลือไต้หวัน จะต้องได้รับอนุญาตจากจีนก่อน ซึ่งคำประกาศของจีนแผ่นดินใหญ่สวนทางกับเมตตาธรรมของประเทศทั่วโลกที่ต้องการให้ความช่วยเหลือไต้หวัน |
|||
เดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2543]] (ค.ศ. 2000) มีการเลือกตั้งใหม่ในไต้หวัน ชาวไต้หวันเลือกผู้แทนจากพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า คือ นาย[[เฉิน สุยเปี่ยน]] (Chen Shui-bian) เป็นประธานาธิบดีคนใหม่ของไต้หวัน ผู้ประกาศนโยบายการเมืองแข็งกร้าวว่าไต้หวันต้องการแยกตัวเป็นอิสระจากจีนแผ่นดินใหญ่ ยุติยุคของพรรคชาตินิยมที่ยังฝักใฝ่แผ่นดินใหญ่อยู่ จีนแผ่นดินใหญ่จึงถือว่าเป็นกบฏต่อการปกครองของจีน เพราะแต่ไหนแต่ไรมา ไต้หวันไม่เคยประกาศอย่างเป็นทางการว่าไต้หวันเป็นประเทศอิสระแยกจากจีน และจีนพูดอยู่เสมอว่าไต้หวันเป็นเด็กในปกครองที่ค่อนข้างจะหัวดื้อและเกเร หากไต้หวันประกาศว่าเป็นอิสระจากจีนเมื่อใด จีนก็จะยกกำลังจัดการกับไต้หวันทันที |
|||
ในขณะที่ความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างสองจีนในสายตาชาวโลกเลวร้ายลง จีนทั้งสองกลับมีการติดต่อทางการค้ากันมากขึ้น มีการผ่อนปรนอนุญาตให้ชาวไต้หวันเดินทางไปจีนแผ่นดินใหญ่เพื่อเยี่ยมญาติได้ เกิดปรากฏการสำคัญคือนักธุรกิจไต้หวันหอบเงินทุนมากกว่า 20,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ไปลงทุนดำเนินธุรกิจทางตอนใต้ของจีนแผ่นดินใหญ่ จนกระทั่งขณะนี้ชาวไต้หวันกลายเป็นนักลงทุนรายใหญ่เป็นลำดับ 2 ของจีน |
|||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2560 ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ากฎหมายสมรสปัจจุบันในเวลานั้นละเมิดรัฐธรรมนูญโดยปฏิเสธสิทธิสมรสของคู่รักเพศเดียวกันชาวไต้หวัน ศาลวินิจฉัยว่าหากสภานิติบัญญัติไม่ผ่านการแก้ไขกฎหมายที่เพียงพอต่อกฎหมายสมรสของไต้หวันภายในสองปี [[การสมรสเพศเดียวกันในประเทศไต้หวัน|การสมรสเพศเดียวกัน]]จะชอบด้วยกฎหมายโดยอัตโนมัติในไต้หวัน<ref>{{cite news|last1=Wu|first1=J. R.|title=Taiwan court rules in favor of same-sex marriage, first in Asia|url=https://www.reuters.com/article/us-taiwan-lgbt-marriage/taiwan-court-rules-in-favor-of-same-sex-marriage-first-in-asia-idUSKBN18K0UN|accessdate=11 October 2017|publisher=Reuters|date=24 May 2017}}</ref> วันที่ 17 พฤษภาคม 2562 สภานิติบัญญัติไต้หวันอนุมัติร่างกฎหมายทำให้การสมรสเพศเดียวกันชอบด้วยกฎหมาย ทำให้เป็นประเทศแรกในทวีปเอเชียที่ผ่านกฎหมายดังกล่าว<ref>{{cite web|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-48305708|title=Taiwan gay marriage: Parliament legalises same-sex unions|date=2019-05-17|website=bbc.com|language=en|access-date=2019-05-17|archiveurl=http://web.archive.org/web/20190517061353/https://www.bbc.com/news/world-asia-48305708|archivedate=2019-05-17}}</ref><ref>{{cite web|url=https://edition.cnn.com/2019/05/17/asia/taiwan-same-sex-marriage-intl/index.html|title=Taiwan legalizes same-sex marriage in historic first for Asia|date=2019-05-17|website=edition.cnn.com|language=en|access-date=2019-05-17}}</ref> |
|||
== การปกครอง == |
== การปกครอง == |
||
การปกครอง |
การปกครองเกาะไต้หวันนั้นสถาปนาขึ้นตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีน|รัฐธรรมนูญ]]และ[[ลัทธิไตรราษฎร์]]ซึ่งระบุว่า สาธารณรัฐจีน "เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยของประชาชน ปกครองโดยประชาชน และเป็นไปเพื่อประชาชน"<ref name="yb:government">{{cite book |title=The Republic of China Yearbook |url=http://www.gio.gov.tw/taiwan-website/5-gp/yearbook/ |chapter=Chapter 4: Government |chapterurl=http://www.gio.gov.tw/taiwan-website/5-gp/yearbook/docs/ch04.pdf |pages=55–65 |publisher=Government Information Office, Republic of China (Taiwan) |year=2011}}</ref> |
||
การปกครองนั้นแบ่งออกเป็น 5 ฝ่าย เรียกว่า "สภา" (yuan) คือ [[สภาบริหาร]] (Executive Yuan) ได้แก่ คณะรัฐมนตรีและฝ่ายบริหารทั้งสิ้น, [[สภานิติบัญญัติไต้หวัน|สภานิติบัญญัติ]] (Legislative Yuan), [[สภาตุลาการ]] (Judicial Yuan), [[สภาควบคุม]] (Control Yuan) เป็นฝ่ายตรวจสอบ, และ[[สภาสอบคัดเลือก]] (Examination Yuan) มีหน้าที่จัดสอบคัดเลือกข้าราชการ |
การปกครองนั้นแบ่งออกเป็น 5 ฝ่าย เรียกว่า "สภา" (yuan) คือ [[สภาบริหาร]] (Executive Yuan) ได้แก่ คณะรัฐมนตรีและฝ่ายบริหารทั้งสิ้น, [[สภานิติบัญญัติไต้หวัน|สภานิติบัญญัติ]] (Legislative Yuan), [[สภาตุลาการ]] (Judicial Yuan), [[สภาควบคุม]] (Control Yuan) เป็นฝ่ายตรวจสอบ, และ[[สภาสอบคัดเลือก]] (Examination Yuan) มีหน้าที่จัดสอบคัดเลือกข้าราชการ |
||
=== บริหาร === |
=== บริหาร === |
||
ผู้ว่าเกาะไต้หวัน(เขตปกครองตนเองพิเศษ) มาจากการเลือกตั้ง อยู่ในตำแหน่งวาระ 4 ปี ไม่เกิน 2 วาระ มาและไปพร้อมกับรองผู้ว่า ผู้ว่าเขตปกครองคนปัจจุบัน คือ [[ไช่ อิงเหวิน]] เธอเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (民主進步黨) คนปัจจุบัน และเป็นตัวแทนของพรรคเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในการเลือกตั้งเมื่อปี 2016 ตำแหน่งซึ่งเธอพลาดไปในการเลือกตั้งปีเมื่อปี 2012 นอกจากนี้ เธอยังเคยเป็นหัวหน้าพรรคมาแล้วหนึ่งสมัยในช่วงปี 2008 ถึง 2012 |
|||
[[ไฟล์:蔡英文官方元首肖像照.png|thumb|right|250px|[[ไช่ อิงเหวิน]] ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน]] |
|||
[[ประธานาธิบดีไต้หวัน|ประธานาธิบดี]]เป็น[[ประมุขแห่งรัฐ]]และเป็นจอมทัพ[[กองทัพสาธารณรัฐจีน|กองทัพสาธารณรัฐจีน]] (ไต้หวัน) มาจากการเลือกตั้งของประชาชน อยู่ในตำแหน่งวาระ 4 ปี ไม่เกิน 2 วาระ มาและไปพร้อมกับรองประธานาธิบดี ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน คือ [[ไช่ อิงเหวิน]] เธอเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (民主進步黨) คนปัจจุบัน และเป็นตัวแทนของพรรคเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในการเลือกตั้งเมื่อปี 2016 ตำแหน่งซึ่งเธอพลาดไปในการเลือกตั้งปีเมื่อปี 2012 นอกจากนี้ เธอยังเคยเป็นหัวหน้าพรรคมาแล้วหนึ่งสมัยในช่วงปี 2008 ถึง 2012 |
|||
ผู้ว่าเขตปกครองมีอำนาจเหนือสภาบริหาร เพราะแต่งตั้งสมาชิกสภาบริหาร ซึ่งรวมถึง [[นายกรัฐมนตรีไต้หวัน|นายกรัฐมนตรี]] ผู้เป็นประธานสภาบริหารโดยตำแหน่ง ส่วนสมาชิกสภาบริหารนั้นรับผิดชอบนโยบายและการบริหารราชการแผ่นดิน<ref name="yb:government"/> |
|||
=== นิติบัญญัติ === |
=== นิติบัญญัติ === |
||
สภานิติบัญญัตินั้นใช้ระบบสภาเดียว มีสมาชิก 113 คน 73 คนมาจากการเลือกตั้งของประชาชนด้วยระบบแบ่งเขต 34 คนมาจากการเลือกตั้งของพรรคการเมืองตามระบบสัดส่วน ที่เหลือ 6 คนนั้นมาจากการเลือกตั้งตามเขตชนพื้นเมือง 23 เขต สมาชิกสภานิติบัญญัติอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี แต่ก่อนยังมี[[สมัชชาแห่งชาติ (ไต้หวัน)|สมัชชาแห่งชาติ]]ทำหน้าที่เป็น[[คณะผู้เลือกตั้ง]]และ[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ]] ทั้งยังมีอำนาจนิติบัญญัติบางประการด้วย แต่ภายหลังสมัชชานี้ยุบเลิกไปในปี 2005 อำนาจหน้าที่ของสมัชชาก็โอนต่อไปยังสภานิติบัญญัติและผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งแสดงออกด้วยประชามติแทน<ref name="yb:government"/> |
สภานิติบัญญัตินั้นใช้ระบบสภาเดียว มีสมาชิก 113 คน 73 คนมาจากการเลือกตั้งของประชาชนด้วยระบบแบ่งเขต 34 คนมาจากการเลือกตั้งของพรรคการเมืองตามระบบสัดส่วน ที่เหลือ 6 คนนั้นมาจากการเลือกตั้งตามเขตชนพื้นเมือง 23 เขต สมาชิกสภานิติบัญญัติอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี แต่ก่อนยังมี[[สมัชชาแห่งชาติ (ไต้หวัน)|สมัชชาแห่งชาติ]]ทำหน้าที่เป็น[[คณะผู้เลือกตั้ง]]และ[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ]] ทั้งยังมีอำนาจนิติบัญญัติบางประการด้วย แต่ภายหลังสมัชชานี้ยุบเลิกไปในปี 2005 อำนาจหน้าที่ของสมัชชาก็โอนต่อไปยังสภานิติบัญญัติและผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งแสดงออกด้วยประชามติแทน<ref name="yb:government"/> |
||
นายกรัฐมนตรีมาจากการสรรหาของ |
นายกรัฐมนตรีมาจากการสรรหาของผู้ว่าเขตปกครอง โดยไม่จำต้องได้รับความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติ ขณะเดียวกัน สภานิติบัญญัติสามารถออกกฎหมายโดยไม่ต้องคำนึงผู้ว่าเขตปกครอง ส่วนผู้ว่าเขตปกครองก็ดี นายกรัฐมนตรีก็ดี ไม่มีอำนาจยับยั้งร่างกฎหมายทั้งสิ้น<ref name="yb:government"/> ฉะนั้น จึงมีน้อยครั้งที่ประธานาธิบดีและสภานิติบัญญัติจะเจรจากันเกี่ยวกับร่างกฎหมายในยามที่เห็นแย้งกัน<ref>{{cite news |last=Huang |first=Jei-hsuan |url=http://www.taipeitimes.com/News/editorials/archives/2006/09/14/2003327608 |title=Letter: KMT holds the key|newspaper=Taipei Times |date=14 September 2006 |page=8 |accessdate=28 May 2009}}</ref> |
||
<br /> |
|||
ตามประวัติศาสตร์แล้ว สาธารณรัฐจีนมีผู้ปกครองจากพรรคการเมืองที่เข้มแข็งอยู่พรรคเดียวมาตลอด ทั้งรัฐธรรมนูญก็มิได้จำกัดอำนาจของประธานาธิบดีได้โดยแจ้งชัด เป็นเหตุให้อำนาจบริหารตกอยู่ในเงื้อมมือของประธานาธิบดียิ่งกว่านายกรัฐมนตรี<ref>{{Cite book|last=Jayasuriya|first=Kanishka|title=Law, capitalism and power in Asia|publisher=Routledge|year=1999|page=217|url=https://books.google.com/?id=OqGSrD9QhXcC&pg=PA217|isbn=978-0-415-19743-4}}</ref> |
|||
=== ตุลาการ<ref>{{Cite book|last=Jayasuriya|first=Kanishka|title=Law, capitalism and power in Asia|publisher=Routledge|year=1999|page=217|url=https://books.google.com/?id=OqGSrD9QhXcC&pg=PA217|isbn=978-0-415-19743-4}}</ref> === |
|||
=== ตุลาการ === |
|||
สำหรับฝ่ายตุลาการนั้น สภาตุลาการเป็นองค์กรสูงสุด มีอำนาจตีความรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และกฎ กับทั้งพิจารณาคดีทุกประเภท ไม่ว่าคดีปกครอง คดีรัฐธรรมนูญ หรือคดีอื่น ๆ ประธานสภาตุลาการ รองประธานสภาตุลาการ และตุลาการอื่นอีก 13 คน ประกอบกันเป็น "ที่ประชุมใหญ่ตุลาการ" (Council of Grand Justices)<ref>{{cite wikisource |title=Additional Articles of the Constitution of the Republic of China (2005) |at=Article 5}}</ref> ตุลาการ ณ ที่ประชุมใหญ่เหล่านี้มาจากการเสนอชื่อและแต่งตั้งของประธานาธิบดีเมื่อได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติ<ref name="yb:government"/> |
สำหรับฝ่ายตุลาการนั้น สภาตุลาการเป็นองค์กรสูงสุด มีอำนาจตีความรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และกฎ กับทั้งพิจารณาคดีทุกประเภท ไม่ว่าคดีปกครอง คดีรัฐธรรมนูญ หรือคดีอื่น ๆ ประธานสภาตุลาการ รองประธานสภาตุลาการ และตุลาการอื่นอีก 13 คน ประกอบกันเป็น "ที่ประชุมใหญ่ตุลาการ" (Council of Grand Justices)<ref>{{cite wikisource |title=Additional Articles of the Constitution of the Republic of China (2005) |at=Article 5}}</ref> ตุลาการ ณ ที่ประชุมใหญ่เหล่านี้มาจากการเสนอชื่อและแต่งตั้งของประธานาธิบดีเมื่อได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติ<ref name="yb:government"/> |
||
บรรทัด 198: | บรรทัด 88: | ||
== การแบ่งเขตการปกครอง == |
== การแบ่งเขตการปกครอง == |
||
{{บทความหลัก|เขตการปกครองสาธารณรัฐจีน}} |
{{บทความหลัก|เขตการปกครองสาธารณรัฐจีน}} |
||
{{แผนที่ป้ายกำกับของไต้หวัน}}ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1949 รัฐบาลได้ทำการเปลี่ยนแปลงการแบ่งเขตการปกครองในพื้นที่ภายใต้การบริหารควบคุมของรัฐบาล การกำหนดเขตการปกครองได้กำหนดให้[[ไทเป]]กลายเป็นเทศบาลพิเศษในปี ค.ศ. 1967 และรวมถึง[[เกาสฺยง]] ในปี ค.ศ. 1979 รัฐบาลท้องถิ่นทั้งสองมี "ความคล่องตัว" โดยมีหน้าที่ถ่ายโอนไปยังรัฐบาลกลาง (มณฑลฝูเจี้ยนในปี ค.ศ. 1956 และมณฑลไต้หวันในปี ค.ศ. 1998)<ref>{{cite news | url=http://taiwanreview.nat.gov.tw/ct.asp?xItem=1465&CtNode=1347 | work=Taiwan Review | title=Gone with the Times | date=1 October 1999 | accessdate=13 April 2012 | last=Hwang | first=Jim | deadurl=yes | archiveurl=https://web.archive.org/web/20120226030251/http://taiwanreview.nat.gov.tw/ct.asp?xItem=1465&CtNode=1347 | archivedate=26 February 2012 | df=dmy-all }}</ref> ในปีค.ศ. 2010 [[ซินเป่ย์]], [[ไถจง]] และ[[ไถหนาน]]ได้รับการยกระดับเป็น[[เทศบาลพิเศษ (ไต้หวัน)|เทศบาลพิเศษ]] และในปี ค.ศ. 2014 มณฑล[[เถา-ยฺเหวียน]]ก็ได้รับการยกระดับเป็นเทศบาลพิเศษด้วย การยกระดับครั้งนี้ทำให้เขตการปกครองระดับบนสุดเข้าสู่สถานะปัจจุบัน<ref name="GIO-government">{{cite web|url=http://info.gio.gov.tw/ct.asp?xItem=19878&ctNode=2840&mp=21 |title=中華民國國情簡介 政府組織 |publisher=Government Information Office |location=Taipei |accessdate=13 April 2012 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20120514012002/http://info.gio.gov.tw/ct.asp?xItem=19878&ctNode=2840&mp=21 |archivedate=14 May 2012 |df= }}</ref> |
|||
{{แผนที่ป้ายกำกับของไต้หวัน}} |
|||
ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีน]]ปี ค.ศ. 1947 อาณาเขตของสาธารณรัฐจีนเป็นไปตาม "ขอบเขตของประเทศที่มีอยู่<ref name=constitution>{{cite web|url=http://law.moj.gov.tw/Eng/LawClass/LawAll.aspx?PCode=A0000001|title=Laws & Regulations Database of The Republic of China|website=law.moj.gov.tw}}</ref> |
|||
เมื่อรัฐบาลสาธารณรัฐจีนลี้ภัยถอยไปไต้หวันในปี ค.ศ. 1949 ดินแดนที่อ้างสิทธิ์ประกอบด้วย 35 จังหวัดเขตเทศบาลพิเศษ 12 เขตปกครองพิเศษ 1 เขตและเขตปกครองตนเอง 2 เขต อย่างไรก็ตามตั้งแต่การล่าถอยของสาธารณรัฐจีนได้ควบคุม [[มณฑลไต้หวัน]]และเกาะบางแห่งของ[[มณฑลฝูเจี้ยน (สาธารณรัฐจีน)|มณฑลฝูเจี้ยน]] สาธารณรัฐจีนยังปกครอง[[หมู่เกาะปราตัส]]และ[[เกาะไท่ผิง]]ใน[[หมู่เกาะสแปรตลี]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้ง[[ข้อพิพาทดินแดนในทะเลจีนใต้]]เป็นผลให้สาธารณรัฐเข้ามามีส่วนในการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดังกล่าวใน[[ทะเลจีนใต้]] บรรดาเกาะดังกล่าวรัฐบาลสาธารณรัฐจีนได้จัดให้อยู่ภายใต้การบริหารของเขตเทศบาล[[เกาสฺยง]] หลังจากการล่าถอยไปไต้หวัน<ref>{{Cite news|title=World: Asia-Pacific Analysis: Flashpoint Spratly |date=14 February 1999 |publisher=BBC |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/279170.stm}}</ref> |
|||
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1949 รัฐบาลได้ทำการเปลี่ยนแปลงการแบ่งเขตการปกครองในพื้นที่ภายใต้การบริหารควบคุมของรัฐบาล การกำหนดเขตการปกครองได้กำหนดให้[[ไทเป]]กลายเป็นเทศบาลพิเศษในปี ค.ศ. 1967 และรวมถึง[[เกาสฺยง]] ในปี ค.ศ. 1979 รัฐบาลท้องถิ่นทั้งสองมี "ความคล่องตัว" โดยมีหน้าที่ถ่ายโอนไปยังรัฐบาลกลาง (มณฑลฝูเจี้ยนในปี ค.ศ. 1956 และมณฑลไต้หวันในปี ค.ศ. 1998)<ref>{{cite news | url=http://taiwanreview.nat.gov.tw/ct.asp?xItem=1465&CtNode=1347 | work=Taiwan Review | title=Gone with the Times | date=1 October 1999 | accessdate=13 April 2012 | last=Hwang | first=Jim | deadurl=yes | archiveurl=https://web.archive.org/web/20120226030251/http://taiwanreview.nat.gov.tw/ct.asp?xItem=1465&CtNode=1347 | archivedate=26 February 2012 | df=dmy-all }}</ref> ในปีค.ศ. 2010 [[ซินเป่ย์]], [[ไถจง]] และ[[ไถหนาน]]ได้รับการยกระดับเป็น[[เทศบาลพิเศษ (ไต้หวัน)|เทศบาลพิเศษ]] และในปี ค.ศ. 2014 มณฑล[[เถา-ยฺเหวียน]]ก็ได้รับการยกระดับเป็นเทศบาลพิเศษด้วย การยกระดับครั้งนี้ทำให้เขตการปกครองระดับบนสุดเข้าสู่สถานะปัจจุบัน<ref name="GIO-government">{{cite web|url=http://info.gio.gov.tw/ct.asp?xItem=19878&ctNode=2840&mp=21 |title=中華民國國情簡介 政府組織 |publisher=Government Information Office |location=Taipei |accessdate=13 April 2012 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20120514012002/http://info.gio.gov.tw/ct.asp?xItem=19878&ctNode=2840&mp=21 |archivedate=14 May 2012 |df= }}</ref> |
|||
{|class=wikitable |
{|class=wikitable |
||
บรรทัด 230: | บรรทัด 115: | ||
ตามมาตรา 4 ของบัญญัติการปกครองส่วนท้องถิ่นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเขตเทศบาลพิเศษยังมีผลบังคับใช้กับมณฑลที่มีประชากรเกิน 2 ล้านคน บทบัญญัตินี้ไม่ได้ใช้กับเขตใด ๆ แม้ว่าก่อนหน้านี้จะใช้กับเขต[[ไทเป]] (ปัจจุบันคือ [[ซินเป่ย์]]) และมณฑลเถา-ยฺเหวียน (ปัจจุบันคือ เทศบาลพิเศษ[[เถา-ยฺเหวียน]]) |
ตามมาตรา 4 ของบัญญัติการปกครองส่วนท้องถิ่นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเขตเทศบาลพิเศษยังมีผลบังคับใช้กับมณฑลที่มีประชากรเกิน 2 ล้านคน บทบัญญัตินี้ไม่ได้ใช้กับเขตใด ๆ แม้ว่าก่อนหน้านี้จะใช้กับเขต[[ไทเป]] (ปัจจุบันคือ [[ซินเป่ย์]]) และมณฑลเถา-ยฺเหวียน (ปัจจุบันคือ เทศบาลพิเศษ[[เถา-ยฺเหวียน]]) |
||
===การอ้างสิทธิ์เหนือดินแดน=== |
|||
[[ไฟล์:Republic of China (orthographic projection).svg|thumb|right|250px|การอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนของสาธารณรัฐจีน อ้างสิทธิ์จาก[[สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)|สมัยที่สาธารณรัฐจีนปกครองแผ่นดินใหญ่]]<br />{{Legend|#346633|(พื้นที่สีเขียวเข้ม) พื้นที่ที่ควบคุมอยู่ในปัจจุบันหรือ([[พื้นที่ไต้หวัน]])}}{{Legend|#49c746|(พื้นที่สีเขียวอ่อน) พื้นที่ของสาธารณรัฐจีนเคยปกครองเมื่อครั้งอยู่ที่แผ่นดินใหญ่ ปัจจุบันเป็นพื้นที่ที่สาธารณรัฐจีนอ้างสิทธิ์อธิปไตยเหนือดินแดน}}]] |
|||
[[ไฟล์:ROC Administrative and Claims.svg|thumb|right|200px|ดินแดนที่สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) อ้างสิทธิ์]] |
|||
แม้ว่าตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีนจะยึดถือ ขอบเขตของประเทศที่เป็นไปอยู่ในปัจจุบัน แต่ก็ได้แบ่งเป็น 2 อาณาเขตบริเวณด้วยกันคือ |
|||
*เขตเสรี ([[เกาะไต้หวัน]]) เป็นเขตที่เป็นไปได้ของสาธารณรัฐจีนตามหลักความเป็นจริงในปัจจุบัน อาณาเขตครอบคลุมเกาะใหญ่ 5 แห่ง คือ [[จินเหมิน]] (金門), [[เกาะไต้หวัน|ไต้หวัน]], [[เผิงหู]] (澎湖), [[หมู่เกาะหมาจู่|หมาจู่]] (馬祖), และ[[อูชิว]] (烏坵) รวมกับบรรดาหมู่เกาะใน[[หมู่เกาะสแปรตลี]] อีก 2 แห่งคือ [[หมู่เกาะปราตัส]]และ[[เกาะไท่ผิง]] ที่ยังคงเป็นบริเวณที่มีความขัดแย้ง[[ข้อพิพาทดินแดนในทะเลจีนใต้]] แต่สาธารณรัฐจีนได้เข้ามาบริหารมีส่วนในการอ้างสิทธิ์เหนือดินแดนดังกล่าวใน[[ทะเลจีนใต้]] เมื่อรวมอาณาบริเวณหมู่เกาะทั้งหมดเรียกรวมกันว่า "[[พื้นที่ไต้หวัน]]" (臺灣地區) ส่วนอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับ[[ญี่ปุ่น]], [[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] (จีนแผ่นดินใหญ่) และ[[ฟิลิปปินส์]] |
|||
*บริเวณแผ่นดินใหญ่ ([[จีนแผ่นดินใหญ่]]): เป็นอาณาเขตดินแดนเขตนอกเขตเสรี (พื้นที่ไต้หวัน) ที่สาธารณรัฐจีนอ้างสิทธิ์เรียกร้องอธิปไตยเหนือดินแดน โดยอ้างสิทธิ์ยึดตามเขตแดนที่[[สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)|สาธารณรัฐจีนปกครองแผ่นดินใหญ่]] เป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ที่ตั้งบนจีนแผ่นดินใหญ่ พื้นที่ดังกล่าวควบคุมโดยรัฐบาล[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] รวมเขตบริหารพิเศษ[[ฮ่องกง]]และ[[มาเก๊า]], สาธารณรัฐจีนยังมีการเรียกร้องสิทธิ์เหนือดินแดนของภูมิภาคอื่นๆดังไปต่อไปนี้โดยถือเป็นดินแดนที่ถูกต้องตามหลักนิตินัยตามรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐจีน |
|||
** [[มองโกเลีย|มองโกเลียนอก]] (ปัจจุบันคือ[[ประเทศมองโกเลีย]]และ[[สาธารณรัฐตูวา]]ใน[[ประเทศรัสเซีย]] |
|||
** [[ที่ราบสูงปามีร์]] (Pamir Plateau) (ปัจจุบันคือดินแดนของประเทศ[[ทาจิกิสถาน]] [[ปากีสถาน]]และ[[อัฟกานิสถาน]]) |
|||
** [[รัฐอรุณาจัลประเทศ]]ของ[[ประเทศอินเดีย]] |
|||
** [[รัฐกะชีน]]ใน[[ประเทศเมียนมาร์]] |
|||
** บางส่วนทางด้านตะวันออกของ[[ประเทศภูฏาน]] |
|||
** [[หมู่เกาะเซ็งกะกุ]]ใน[[ทะเลจีนตะวันออก]] ปัจจุบันเป็น[[กรณีพิพาทหมู่เกาะเซ็งกะกุ]]กับ[[ประเทศญี่ปุ่น]] |
|||
** บรรดาหมู่เกาะใน[[ทะเลจีนใต้]]ทั้งหมด (รวมอาณาเขตทางทะเล) |
|||
== นโยบายต่างประเทศ == |
|||
ปัจจุบันสาธารณรัฐจีนยังคงมีความสัมพันธ์ทางการทูตกับ 20 [[ประเทศ]] ([[เบลีซ]] [[เอลซัลวาดอร์]] [[เฮติ]] [[นิการากัว]] [[เซนต์คิตส์และเนวิส]] [[เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์]] [[สาธารณรัฐโดมินิกัน]] [[กัวเตมาลา]] [[ปารากวัย]] [[ฮอนดูรัส]] [[เซนต์ลูเชีย]] [[บูร์กินาฟาโซ]] [[สวาซิแลนด์]] [[นครรัฐวาติกัน]] [[คิริบาติ|คิริบาส]] [[นาอูรู]] [[หมู่เกาะโซโลมอน]] [[ตูวาลู]] [[หมู่เกาะมาร์แชลล์]] และ [[ปาเลา]])<ref>www.bbc.com/thai/international-40260519</ref> [[สาธารณรัฐจีน|ไต้หวัน]]มีข้อจำกัดในการดำเนินนโยบายต่างประเทศ เนื่องจากกรอบนโยบายจีนเดียว [[สาธารณรัฐจีน|ไต้หวัน]]จึงให้ความสำคัญกับการกระชับความสัมพันธ์ในกรอบเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการให้ความช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยีกับ[[ประเทศ]]ต่าง ๆ ที่ไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] (จีนแผ่นดินใหญ่) |
|||
สำหรับนโยบายต่างประเทศของไต้หวันต่อประเทศใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]]นั้น ไต้หวันได้ดำเนิน “นโยบายมุ่งสู่ใต้” (Go South Policy) เป็นนโยบายส่งเสริมให้ชาว[[ไต้หวัน]]มีการลงทุนกับประเทศใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] เพื่อลดความเสี่ยงที่เศรษฐกิจ[[ไต้หวัน]]ต้องพึ่งพา[[จีน]]และใช้เศรษฐกิจเป็นช่องทางกระชับความสัมพันธ์กับภูมิภาคนี้ |
|||
กรอบเวทีระหว่างประเทศที่[[ไต้หวัน]]เป็นสมาชิก ได้แก่ [[ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก]] (Asia Pacific Economic Cooperartion - [[APEC]]) ซึ่งเป็นสมาชิกในฐานะเขตเศรษฐกิจ (economy) และ[[องค์การการค้าโลก]] (World Trade Organization - [[WTO]]) โดยเป็นการเข้าร่วมในฐานะที่เป็นเขตศุลกากรพิเศษ (custom territory) การเข้าร่วมในเวทีทั้งสองของ[[ไต้หวัน]]จึงเป็นการเข้าร่วมในสถานะที่ไม่ใช่รัฐ |
|||
== ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ == |
|||
{{บทความหลัก|ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของสาธารณรัฐจีน}} |
|||
[[ไฟล์:RC (Taiwan).png|thumb|right|ประเทศที่มีการรับรองสาธารณรัฐจีนอย่างเป็นทางการ{{legend|#008000|มีความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ}} |
[[ไฟล์:RC (Taiwan).png|thumb|right|ประเทศที่มีการรับรองสาธารณรัฐจีนอย่างเป็นทางการ{{legend|#008000|มีความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการ}} |
||
{{legend|#0080ff|มีความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการ}}|alt=A map of the world showing countries which have relations with the Republic of China. Only a few small countries recognize the ROC, mainly in Central, South America and Africa.]] |
{{legend|#0080ff|มีความสัมพันธ์อย่างไม่เป็นทางการ}}|alt=A map of the world showing countries which have relations with the Republic of China. Only a few small countries recognize the ROC, mainly in Central, South America and Africa.]] |
||
=== |
=== เขตบริหารพิเศษเกาะไต้หวัน พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) - ปัจจุบัน === |
||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
=== สาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวัน พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) - ปัจจุบัน === |
|||
หลังจาก[[พรรคก๊กมินตั๋ง]]ถอยหนีมาอยู่บนเกาะ[[ไต้หวัน]] ประเทศส่วนใหญ่ยังคงรักษาความสัมพันธ์กับรัฐบาลสาธารณรัฐจีนเอาไว้ แต่การรับรองสถานะก็ลดลงเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่องเมื่อในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 มีหลายประเทศได้เปลี่ยนไปรับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]แทน ในปัจจุบัน สาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันยังคงได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจาก 17 รัฐ จาก 193 รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งนอกจากทำเนียบสันตะปาปาแล้ว ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศเล็ก ๆ ในแถบอเมริกากลางและแอฟริกา ทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]มีนโยบายที่จะไม่สานสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศที่รับรองสถานะของ'''สาธารณรัฐจีน''' และทุก[[ประเทศ]]ที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตด้วยจะต้องมีแถลงการณ์รับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]เหนือ[[ไต้หวัน]] |
หลังจาก[[พรรคก๊กมินตั๋ง]]ถอยหนีมาอยู่บนเกาะ[[ไต้หวัน]] ประเทศส่วนใหญ่ยังคงรักษาความสัมพันธ์กับรัฐบาลสาธารณรัฐจีนเอาไว้ แต่การรับรองสถานะก็ลดลงเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่องเมื่อในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 มีหลายประเทศได้เปลี่ยนไปรับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]แทน ในปัจจุบัน สาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันยังคงได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจาก 17 รัฐ จาก 193 รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งนอกจากทำเนียบสันตะปาปาแล้ว ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศเล็ก ๆ ในแถบอเมริกากลางและแอฟริกา ทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]มีนโยบายที่จะไม่สานสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศที่รับรองสถานะของ'''สาธารณรัฐจีน''' และทุก[[ประเทศ]]ที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตด้วยจะต้องมีแถลงการณ์รับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]เหนือ[[ไต้หวัน]] |
||
ในทางปฏิบัติแล้ว ถึงแม้ว่า[[ประเทศ]]ส่วนใหญ่จะไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับ[[ไต้หวัน]] และแถลงการณ์ที่ทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ต้องการนั้นก็ได้เขียนขึ้นโดยใช้คำกำกวมอย่างยิ่ง [[ประเทศ]]สำคัญ ๆ บาง[[ประเทศ]]ที่ไม่ได้รับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐจีน]]ก็จะมี "[[สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป]]" หรือ "สำนักงานตัวแทนไทเป" ซึ่งปฏิบัติงานต่าง ๆ ในลักษณะเดียวกับ[[สถานทูต]] เช่น การออกวีซ่า เป็นต้น และในทำนองเดียวกัน หลาย[[ประเทศ]]ก็ได้จัดตั้งสำนักงานการค้าและเศรษฐกิจขึ้นใน''' |
ในทางปฏิบัติแล้ว ถึงแม้ว่า[[ประเทศ]]ส่วนใหญ่จะไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับ[[ไต้หวัน]] และแถลงการณ์ที่ทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ต้องการนั้นก็ได้เขียนขึ้นโดยใช้คำกำกวมอย่างยิ่ง [[ประเทศ]]สำคัญ ๆ บาง[[ประเทศ]]ที่ไม่ได้รับรองสถานะของ[[สาธารณรัฐจีน]]ก็จะมี "[[สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป]]" หรือ "สำนักงานตัวแทนไทเป" ซึ่งปฏิบัติงานต่าง ๆ ในลักษณะเดียวกับ[[สถานทูต]] เช่น การออกวีซ่า เป็นต้น และในทำนองเดียวกัน หลาย[[ประเทศ]]ก็ได้จัดตั้งสำนักงานการค้าและเศรษฐกิจขึ้นใน'''เกาะไต้หวัน'''เช่น [[สำนักงานการค้าและเศรษฐกิจไทย]] และ[[สถาบันอเมริกาในไต้หวัน]] ซึ่งโดยพฤตินัยแล้วก็คือ[[สถานทูต]]ของประเทศต่าง ๆ นั่นเอง |
||
'''สาธารณรัฐจีน'''เคยเป็นสมาชิกขององค์การ[[สหประชาชาติ]]ในฐานะสมาชิกก่อตั้ง โดยได้อยู่ในตำแหน่งของประเทศจีนใน[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ|คณะมนตรีความมั่นคง]]จนกระทั่งถึงปี [[พ.ศ. 2514]] (ค.ศ. 1971) ที่ถูกขับออกโดย "มติสมัชชาสหประชาชาติที่ 2758 (General Assembly Resolution 2758)" และตำแหน่งทั้งหมดในองค์การ[[สหประชาชาติ]]ก็ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] |
'''สาธารณรัฐจีน'''เคยเป็นสมาชิกขององค์การ[[สหประชาชาติ]]ในฐานะสมาชิกก่อตั้ง โดยได้อยู่ในตำแหน่งของประเทศจีนใน[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ|คณะมนตรีความมั่นคง]]จนกระทั่งถึงปี [[พ.ศ. 2514]] (ค.ศ. 1971) ที่ถูกขับออกโดย "มติสมัชชาสหประชาชาติที่ 2758 (General Assembly Resolution 2758)" และตำแหน่งทั้งหมดในองค์การ[[สหประชาชาติ]]ก็ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]] เนื่องจากการล่มสลาบของสาธาณรัฐจีน |
||
<br /> |
|||
นอกจากความขัดแย้งกับ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]เหนือดินแดนบนแผ่นดินใหญ่แล้ว '''สาธารณรัฐจีน'''ยังมีความขัดแย้งกับ[[มองโกเลีย]]อีกด้วย จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2488]] (ค.ศ. 1945) ที่'''สาธารณรัฐจีน'''ได้อ้างสิทธิเหนือพื้นที่[[มองโกเลีย]] แต่ก็ถูกกดดันจาก[[สหภาพโซเวียต]]จนกระทั่งยอมรับรองอิสรภาพของ[[มองโกเลีย]]ในที่สุด หลังจากนั้นไม่นาน ก็ได้กลับคำรับรองนั้น และกล่าวอ้างสิทธิเหนือ[[มองโกเลีย]]อีกครั้งจนกระทั่งถึงเมื่อไม่นานนี้ นับจากช่วงปลาย[[คริสต์ทศวรรษ 1990]] เป็นต้นมา ความสัมพันธ์กับ[[มองโกเลีย]]ได้กลายมาเป็นหัวข้อที่สร้างความขัดแย้ง ความเคลื่อนไหวใด ๆ ในการยกเลิกอำนาจอธิปไตยเหนือ[[มองโกเลีย]]จะเกิดการโต้แย้งทันที เนื่องจากทาง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ได้อ้างว่า นั่นเป็นจุดเริ่มต้นของการประกาศอิสรภาพไต้หวัน |
|||
== กองทัพ == |
== กองทัพไม่มี == |
||
{{บทความหลัก|กองทัพสาธารณรัฐจีน}} |
{{บทความหลัก|กองทัพสาธารณรัฐจีน}} |
||
[[ไฟล์:Thunderbolt 2000 MLRS Side View 20111105a.jpg|thumb|เครื่องยิงจรวด[[Thunderbolt-2000]]แห่ง[[กองทัพบกสาธารณรัฐจีน]]]] |
|||
[[ไฟล์:IDF Pre-production.jpg|thumb|เครื่องบินรบ [[AIDC F-CK-1 Ching-kuo]]แห่ง[[กองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน]]]] |
[[ไฟล์:IDF Pre-production.jpg|thumb|เครื่องบินรบ [[AIDC F-CK-1 Ching-kuo]]แห่ง[[กองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน]]]] |
||
[[ไฟล์:ROCMP Guard at Hsinchu AFB 20120602.jpg|thumb|left|สารวัตรทหารแห่งสาธารณรัฐจีนขณะคุ้มกันสนามบิน]] |
|||
[[กองทัพสาธารณรัฐจีน]]มีรากฐานมาจาก[[กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน]] ซึ่งก่อตั้งโดยดร.[[ซุน ยัตเซ็น]] ในปี ค.ศ. 1925 ใน[[มณฑลกวางตุ้ง]]โดยมีเป้าหมายในการรวมประเทศจีนภายใต้[[พรรคก๊กมินตั๋ง]] จนกระทั่งเมื่อ[[กองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน]]ของ[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]ชนะ[[สงครามกลางเมืองจีน]] กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจำนวนมากได้ถอยกลับมายังไต้หวันพร้อมกับรัฐบาลคณะชาติ ซึ่งต่อมาถูกปรับปรุงเป็นกองทัพสาธารณรัฐจีน หน่วยที่ยอมจำนนและยังคงอยู่ในจีนแผ่นดินใหญ่ถูกยุบหรือรวมเข้ากับกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน |
|||
ในปัจจุบันไต้หวันได้ดำรงรักษากองทัพขนาดใหญ่และมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีซึ่งส่วนใหญ่เป็นการป้องกันการคุกคามอย่างต่อเนื่องของการบุกรุกโดยกองทัพปลดปล่อยประชาชนจีน |
|||
[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]ที่ปกครอง[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ได้บังคับใช้ "[[กฎหมายต่อต้านการแบ่งแยกดินแดน]]" (Anti-Secession Law) กฎหมายฉบับนี้ซึ่งผ่านรัฐสภาของจีนในปี 2005 ได้ปฏิเสธความเป็นรัฐเอกราชของไต้หวัน ให้ถือ[[นโยบายจีนเดียว]] และได้กำหนดวิธีการต่างๆในการรวมชาติของสองแผ่นดินจีนให้เกิดขึ้นได้จริง กฎหมายฉบับนี้ยังได้ระบุถึง "การดำเนินการที่ไม่ใช่สันติวิธี" (ซึ่งก็คือการทำสงคราม) เอาไว้ด้วย หากจีนเชื่อว่ามีความเป็นไปได้ที่การรวมชาติโดยไม่เสียเลือดเนื้อประสบความล้มเหลว |
|||
จากปี ค.ศ.1949 ถึงปี ค.ศ. 1970 ภารกิจหลักของกองทัพสาธารณรัฐจีนคือ "ทวงคืนเอาจีนแผ่นดินใหญ่กลับคืนมา" ผ่าน[[ภารกิจเกียรติยศแห่งชาติ]] เนื่องจากภารกิจนี้ถูกเลื่อนและยกเลิกไปชั่วคราว เนื่องจากความแข็งแกร่งทางการทหารของ[[สาธารณรัฐประชาชนจีน]]ที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก กองทัพสาธารณรัฐจีนเปลี่ยนนโยบายไปเป็นเน้นการป้องกันแทน |
|||
นโยบายดังกล่าวเริ่มเปลี่ยนการเน้นจากกองทัพที่โดดเด่นตามแบบดั้งเดิมมาเป็น[[กองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน|กองทัพอากาศ]]และ[[กองทัพเรือสาธารณรัฐจีน|กองทัพเรือ]] |
|||
รัฐบาลสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ตระหนักถึงความสำคัญของประชาธิปไตยในการทหารจึงได้เน้นการริเริ่มจัดให้มี[[การควบคุมโดยพลเรือน]]ทำให้การควบคุมกองทัพสาธารณรัฐจีนก็เปลี่ยนผ่านเข้ามาอยู่ในการบริหารของรัฐบาลพลเรือน<ref name=towards>{{cite journal|last=Fravel|first=M. Taylor|title=Towards Civilian Supremacy: Civil-Military Relations in Taiwans's Democratization|journal=Armed Forces & Society|year=2002|volume=29|issue=1|pages=57–84|doi=10.1177/0095327X0202900104|url=http://afs.sagepub.com/content/29/1/57}}</ref><ref>{{Cite news|url=https://www.wsj.com/articles/SB988242686540854310?mod=googlewsj |title=Committed to Taiwan |newspaper=The Wall Street Journal|date= 26 April 2001|accessdate=28 May 2009}}</ref> |
|||
ในขณะที่ทหารสาธารณรัฐจีนมีส่วนร่วมทางประวัติศาสตร์กับพรรคก๊กมินตั๋ง เจ้าหน้าที่ระดับสูงรุ่นเก่าจึงมีความเห็นอกเห็นใจแนวคิดสนับสนุนพรรค อย่างไรก็ตามมีคนจำนวนมากที่เกษียณอายุราชการและมีผู้ที่ไม่ใช่ชาวแผ่นดินใหญ่เข้าร่วมในกองทัพในรุ่นต่อมาดังนั้นความเอนเอียงทางการเมืองของกองทัพจึงเข้ามาใกล้กับบรรทัดฐานของประชาชนในไต้หวัน{{sfn|Swaine|Mulvenon|2001|p=65|ps=: "[...]the ROC military functioned until very recently as an instrument of KMT rule [...] the bulk of the officer corps is still composed of Mainlanders, many of whom allegedly continue to support the values and outlook of more conservative KMT and New Party members. This is viewed as especially the case among the senior officers of the ROC Army. Hence, many DPP leaders insist that the first step to building a more secure Taiwan is to bring the military more fully under civilian control, to remove the dominant influence of conservative KMT elements, and to reduce what is regarded as an excessive emphasis on the maintenance of inappropriate ground force capabilities, as opposed to more appropriate air and naval capabilities."}} |
|||
กองทัพสาธารณรัฐจีนได้เริ่มโครงการลดจำนวนกำลังพล หรือ "จิงฉืออัน" (Jingshi An) (เป็นโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพ) เพื่อลดระดับกองทัพจากจำนวน 450,000 นาย ในปี ค.ศ. 1997 เป็น 380,000 นาย ในปี ค.ศ. 2001<ref>{{cite web|url=http://www.gio.gov.tw/ct.asp?xItem=28601&ctNode=3389|title=Women Take Command|last=Bishop|first=Mac William|date=1 January 2004|publisher=Government Information Office, Republic of China|accessdate=5 June 2009|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20110428091100/http://www.gio.gov.tw/ct.asp?xItem=28601&ctNode=3389|archivedate=28 April 2011}}</ref> การเกณฑ์ทหารในไต้หวันยังคงมีผลบังคับใช้สำหรับผู้ชายที่มีคุณสมบัติเริ่มตั้งแต่อายุสิบแปด แต่เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามในการลดจำนวนมากเพื่อที่จะให้ได้รับโอกาสในการปฏิบัติราชการรับใช้ชาติตามข้อกำหนดร่างผ่านการรับใช้ราชการชาติทางเลือกและถูกส่งไปยังหน่วยงานราชการหรืออุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันประเทศ<ref>{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/729500.stm |title=ASIA-PACIFIC | Military alternative in Taiwan |publisher=BBC News |date=1 May 2000 |accessdate=28 May 2009}}</ref> |
|||
== เศรษฐกิจ == |
== เศรษฐกิจ == |
||
{{บทความหลัก|เศรษฐกิจของไต้หวัน|ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไต้หวัน}} |
{{บทความหลัก|เศรษฐกิจของไต้หวัน|ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไต้หวัน}} |
||
=== ศักยภาพทางเศรษฐกิจ === |
=== ศักยภาพทางเศรษฐกิจ === |
||
[[ไฟล์:Taipei, Taiwan CBD Skyline.jpg|thumb|250px|ตึก[[ไทเป 101]] ในกรุง[[ไทเป]] |
[[ไฟล์:Taipei, Taiwan CBD Skyline.jpg|thumb|250px|ตึก[[ไทเป 101]] ในกรุง[[ไทเป]]เมืองหลักของเกาะและศูนย์กลางทางการเงินของไต้หวัน]] |
||
[[ไฟล์:Taipei_skyline_cityscape_at_night_with_full_moon.jpg|thumb|เขตการค้าธุรกิจ[[ย่านซินยี่]] กรุงไทเป ยามค่ำคืน]] |
[[ไฟล์:Taipei_skyline_cityscape_at_night_with_full_moon.jpg|thumb|เขตการค้าธุรกิจ[[ย่านซินยี่]] กรุงไทเป ยามค่ำคืน]] |
||
[[ไฟล์:New Taipei City Skyline Night View Landscape.jpg|thumb|250px|เขตธุรกิจในเมือง[[ซินเป่ย์]]]] |
[[ไฟล์:New Taipei City Skyline Night View Landscape.jpg|thumb|250px|เขตธุรกิจในเมือง[[ซินเป่ย์]]]] |
||
'''สาธารณรัฐจีน''' |
'''เกาะไต้หวันมสาธารณรัฐประชาชนจีน'''มี[[เศรษฐกิจ]]ใหญ่เป็นอันดับที่14ของ[[โลก]] หน่วยเงินตราที่ใช้ คือ [[ดอลลาร์ไต้หวัน]] |
||
[[ทรัพยากรธรรมชาติ]]ส่วนใหญ่มีจำนวนน้อย แต่เป็น[[ประเทศอุตสาหกรรม]]ชั้นสูง[[อุตสาหกรรม]]นั้นเป็นเน้นไปที่การผลิต มีการนำเข้า[[น้ำมันดิบ]]และแร่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ ส่งออกไปจำหน่าย ถือเป็นการค้าโดยการผลิต ในปัจจุบันมีการนำเข้าชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ |
[[ทรัพยากรธรรมชาติ]]ส่วนใหญ่มีจำนวนน้อย แต่เป็น[[ประเทศอุตสาหกรรม]]ชั้นสูง[[อุตสาหกรรม]]นั้นเป็นเน้นไปที่การผลิต มีการนำเข้า[[น้ำมันดิบ]]และแร่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ ส่งออกไปจำหน่าย ถือเป็นการค้าโดยการผลิต ในปัจจุบันมีการนำเข้าชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ |
||
อุตสาหกรรมที่รวดเร็วและการเติบโตอย่างรวดเร็วของไต้หวันในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 ได้รับการขนานนามว่า "[[ความมหัศจรรย์แห่งไต้หวัน]]" ไต้หวันถือเป็น |
อุตสาหกรรมที่รวดเร็วและการเติบโตอย่างรวดเร็วของไต้หวันในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 ได้รับการขนานนามว่า "[[ความมหัศจรรย์แห่งไต้หวัน]]" เกาะไต้หวันถือเป็นหนึ่งที่ได้รับการจัดอันดับขนานนามว่าเป็น "[[สี่เสือแห่งเอเชีย]]" เคียงคู่ไปกับฮ่องกง,เกาหลีใต้และสิงคโปร์ |
||
ภายใต้การปกครองไต้หวันแบบอาณานิคมของญี่ปุ่นก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองนำการเปลี่ยนแปลงในภาครัฐและเอกชน, สิ่งที่เป็นที่รับรู้และมีชื่อเสียงที่สุดคือ พื้นที่ของงานสาธารณะซึ่งเปิดใช้งานการสื่อสารที่รวดเร็วและอำนวยความสะดวกการขนส่งทั่วเกาะไต้หวัน ญี่ปุ่นยังปรับปรุงการศึกษาของรัฐและทำให้เกิดการศึกษาบังคับสำหรับชาวไต้หวันทุกคน ในปี ค.ศ. 1945 เมื่อญี่ปุ่นได้แพ้สงครามโลกครั้งที่สองและได้คืนเกาะไต้หวันให้กับสาธารณรัฐจีน ได้เกิด[[ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวด]]ขึ้นในจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวันอันเป็นผลมาจากสงครามกับญี่ปุ่น เพื่อแยกไต้หวันออกจากปัญหาเศรษฐกิจในแผ่นดินใหญ่นั้น รัฐบาลจีนคณะชาติของ |
ภายใต้การปกครองไต้หวันแบบอาณานิคมของญี่ปุ่นก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองนำการเปลี่ยนแปลงในภาครัฐและเอกชน, สิ่งที่เป็นที่รับรู้และมีชื่อเสียงที่สุดคือ พื้นที่ของงานสาธารณะซึ่งเปิดใช้งานการสื่อสารที่รวดเร็วและอำนวยความสะดวกการขนส่งทั่วเกาะไต้หวัน ญี่ปุ่นยังปรับปรุงการศึกษาของรัฐและทำให้เกิดการศึกษาบังคับสำหรับชาวไต้หวันทุกคน ในปี ค.ศ. 1945 เมื่อญี่ปุ่นได้แพ้สงครามโลกครั้งที่สองและได้คืนเกาะไต้หวันให้กับสาธารณรัฐจีน ได้เกิด[[ภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวด]]ขึ้นในจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวันอันเป็นผลมาจากสงครามกับญี่ปุ่น เพื่อแยกไต้หวันออกจากปัญหาเศรษฐกิจในแผ่นดินใหญ่นั้น รัฐบาลจีนคณะชาติของสาธารณ'''ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล''' คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้นอันดับแรกๆ ที่เที่ยวไต้หวัน มีเยอะ ทั้งแลนด์มาร์คดังๆ อย่างตึกไทเป 101 (Taipei 101), หมู่บ้านโบราณจิ่วเฟิ่น (Jioufen), ตลาดปลาไทเป (Taipei Fish Market) อีกทั้งยังเป็นดินแดนแห่งสตรีทฟู้ดที่อร่อยอีกด้วย เนื่องจากมีตลาดกลางคืนมากมาย เช่น ตลาดซีเหมินติง (Ximending), ตลาดซื่อหลิน (Shilin Night Market) เป็นต้น |
||
รายชื่อเมืองใหญ่ใน'''เขตปกครองบริหารพิเศษไต้หวัน'''เรียงตาม[[ประชากร]] |
|||
เมื่อรัฐบาลจีนคณะชาติของพรรคก๊กมินตั๋งได้หนีไปไต้หวัน ได้มีการโอนและขนย้าย[[ทองคำแท่ง]]มานับล้าน[[ตำลึง]] (ขณะนั้นมูลค่าอยู่ที่ 1 ตำลึง = 37.5 กรัม หรือ ~1.2 [[ทรอยออนซ์]]) ของ[[ทองคำ]] และเงินทุนสำรองเงินตราต่างประเทศของจีนแผ่นดินใหญ่ ซึ่งตามรายงานพรรคก๊กมินตั๋งระบุว่าราคามีเสถียรภาพและช่วยลดปัญหาภาวะเงินเฟ้อได้<ref>{{cite web |date=6 April 2011 |title=Gold Shipped to Taiwan in 1949 Helped Stabilize ROC on Taiwan|url=http://www.kmt.org.tw/english/page.aspx?type=article&mnum=112&anum=9442|archive-url=https://web.archive.org/web/20110927081949/http://www.kmt.org.tw/english/page.aspx?type=article&mnum=112&anum=9442|dead-url=yes|archive-date=27 September 2011|newspaper=Kuomintang News Network|accessdate=14 June 2011}} Translated from {{cite news |author=王銘義 |date=5 April 2011 |script-title=zh:1949年運台黃金 中華民國保命本 |newspaper=China Times |url=http://forums.chinatimes.com/report/goldfile/series-cnt0405ct02.htm |accessdate=21 February 2015}}</ref> |
|||
บางทีที่สำคัญกว่านั้นในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของการหลบหนีไปยังไต้หวัน พรรคก๊กมินตั๋งได้นำปัญญาชนและนักธุรกิจจากจีนแผ่นดินใหญ่มายังเกาะไต้หวันด้วย จึงอาจสันนิษฐานได้ว่ามีส่วนช่วยให้เศรษฐกิจไต้หวันเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว<ref>{{cite book | last =Roy | first =Denny | title =Taiwan: A Political History | publisher =Cornell University Press |year=2003 | location =Ithaca, NY | pages =76, 77 | isbn =978-0-8014-8805-4 }}</ref> รัฐบาลก๊กมินตั๋งได้จัดตั้งกฎหมายอำนวยเศรษฐกิจมากมายและเริ่ม[[การปฏิรูปที่ดิน]] ซึ่งไม่สามารถใช้อย่างมีประสิทธิภาพในจีนแผ่นดินใหญ่มาก่อนเลย รัฐบาลยังดำเนินนโยบาย[[การทดแทนการนำเข้าสินค้าอุตสาหกรรม]] โดยพยายามส่งเสริมการผลิตสินค้าบริโภคภายในประเทศ |
|||
ในปี ค.ศ. 1950 ด้วยการปะทุของ[[สงครามเกาหลี]] เพื่อต้านการขยายตัวของลัทธิคอมมิวนิสต์ทำให้สหรัฐอเมริกาเริ่มโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเฉพาะไต้หวันซึ่งส่งผลให้ราคามีเสถียรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1952<ref>{{harvnb|Makinen|Woodward|1989}}: "มันเป็นการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองการคลังของไต้หวันเช่นเดียวกับในยุโรป ตอนที่ในที่สุดก็นำมาซึ่งความมั่นคงด้านราคา มันเป็นนโยบายความช่วยเหลือที่ทำให้งบประมาณมีความสมดุลและเมื่อนโยบายความช่วยเหลือครบตามสัดส่วนในปี ค.ศ. 1952 ราคามีเสถียรภาพ"</ref> การพัฒนาเศรษฐกิจได้รับการสนับสนุนจากความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจของอเมริกาและการริเริ่ม เช่น [[คณะกรรมาธิการร่วมเพื่อการฟื้นฟูชนบท]] ซึ่งทำให้ภาคเกษตรกรรมกลายเป็นพื้นฐานสำหรับการเติบโตในภายหลัง ภายใต้มาตรการกระตุ้นการรวมตัวของการปฏิรูปที่ดินและแผนพัฒนาการเกษตรการผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยต่อปีร้อยละ 4 จากปี 1952 ถึง 1959 ซึ่งสูงกว่าการเติบโตของประชากร 3.6%<ref>Ralph Clough, "Taiwan under Nationalist Rule, 1949–1982," in Roderick MacFarquar et al., ed., ''Cambridge History of China'', Vol 15, The People's Republic Pt 2 (Cambridge: Cambridge University Press, 1991), p. 837</ref> |
|||
ในปี ค.ศ. 1962 ไต้หวันมี[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ]] (ระดับต่ำ) ต่อหัว (GNP) อยู่ที่ 170 ดอลลาร์สหรัฐ เศรษฐกิจของไต้หวันถือว่าเป็นที่เท่าเทียมเมื่อเทียบกับของ[[สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก]] บน[[ความเท่าเทียมกันของกำลังซื้อ]] (PPP) พื้นฐาน GDP ต่อหัวของประชากรในช่วงต้นทศวรรษ 1960 อยู่ที่ 1,353 ดอลลาร์ (ในราคา 1990) ภายในปี ค.ศ. 2011 GNP ต่อหัวซึ่งปรับสำหรับกำลังซื้อภาค (PPP) เพิ่มขึ้นเป็น 37,000 เหรียญสหรัฐ มีส่วนทำให้ของไต้หวันยกระดับ[[ดัชนีการพัฒนามนุษย์]] (HDI) เทียบเท่ากับประเทศที่พัฒนาแล้วอื่นๆ HDI ของไต้หวันในปี ค.ศ. 2012 อยู่ที่ 0.890 (อันดับที่ 23 ถือว่าอยู่ในระดับสูงมาก) ตามวิธีการคำนวณใหม่ "การปรับความไม่เท่าเทียมกันของ HDI" ของสหประชาชาติ |
|||
ในปี ค.ศ. 1974 ประธานาธิบดี[[เจี่ยง จิงกั๋ว]] ได้ริเริ่มดำเนินการ[[สิบโครงการก่อสร้างสำคัญ]]เป็นการเริ่มต้นวางรากฐานที่ช่วยให้ไต้หวันพัฒนาเปลี่ยนเป็นเศรษฐกิจขับเคลื่อนการส่งออกในปัจจุบัน นับตั้งแต่ทศวรรษ 1990 เป็นต้นมา บริษัท เทคโนโลยีในไต้หวันจำนวนหนึ่งได้ขยายการเข้าถึงไปทั่วโลก บริษัทเทคโนโลยีระหว่างประเทศที่มีชื่อเสียงที่เป็นที่นิยมและรู้จักกัน ซึ่งมีสำนักงานใหญ่ในไต้หวัน ได้แก่ ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล [[เอเซอร์|Acer Inc.]] และ [[Asus]], ผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือ [[HTC]] รวมถึงผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์รายใหญ่ [[Foxconn]] ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์สำหรับ Apple, Amazon และ Microsoft [[งาน Computex Taipei]] เป็นงานแสดงสินค้าคอมพิวเตอร์ที่สำคัญซึ่งจัดขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1981 |
|||
=== การพัฒนาอุตสาหกรรม === |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
=== การท่องเที่ยวไต้หวัน === |
|||
ปัจจุบันที่ไต้หวันเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวไปเที่ยวเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะคนไทย ที่ได้ยกเว้นการขอวีซ่าวีซ่าไต้หวัน และด้วยประเทศไต้หวันเองมีสถานที่เที่ยวมากมาย ทั้งที่เที่ยวในเมืองไทเป หรือจะที่เที่ยวแบบธรรมชาติอย่างเกาสง อีกทั้งค่าครองชีพไม่สูงมากนัก ทำให้นักเดินทางที่ชอบไปเที่ยวด้วยตัวเอง ต่างก็ยกให้ ไต้หวันเป็นประแทศที่เที่ยวด้วยเองได้ง่ายๆ ให้ประเทศไต้หวันเป็นอันดับแรกๆ ที่เที่ยวไต้หวัน มีเยอะ ทั้งแลนด์มาร์คดังๆ อย่างตึกไทเป 101 (Taipei 101), หมู่บ้านโบราณจิ่วเฟิ่น (Jioufen), ตลาดปลาไทเป (Taipei Fish Market) อีกทั้งยังเป็นดินแดนแห่งสตรีทฟู้ดที่อร่อยอีกด้วย เนื่องจากมีตลาดกลางคืนมากมาย เช่น ตลาดซีเหมินติง (Ximending), ตลาดซื่อหลิน (Shilin Night Market) เป็นต้น{{โครง-ส่วน}} |
|||
== โครงสร้างพื้นฐาน == |
|||
=== การคมนาคม และ โทรคมนาคม === |
|||
==== คมนาคม ==== |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
==== โทรคมนาคม ==== |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
=== วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี === |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
=== การศึกษา === |
|||
{{บทความหลัก|การศึกษาในไต้หวัน}} |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
=== สาธารณสุข === |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
== ประชากร == |
|||
=== เชื้อชาติ === |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
=== ศาสนา === |
|||
{{บทความหลัก|ศาสนาในไต้หวัน}} |
|||
[[รัฐธรรมนูญ]]แห่งสาธารณรัฐจีนคุ้มครอง[[เสรีภาพทางศาสนา]]และสิทธิในการปฏิบัติตามความเชื่อของประชาชน<ref>[http://www.taiwandocuments.org/constitution01.htm#C002 Constitution of the Republic of China] – Chapter II, Article 13: "The people shall have freedom of religious belief."</ref> ตามสถิติในปี ค.ศ. 2005 ประเทศไต้หวันมี[[พุทธศาสนิกชน]] 8,086,000 คน (35.1%) [[ลัทธิเต๋า|ศาสนิกชนเต๋า]] 7,600,000 คน (33.0%) [[คริสต์ศาสนิกชน]] 903,000 คน (3.9%) โดยเป็น[[โปรเตสแตนต์]] 605,000 คน (2.6%) และ[[โรมันคาทอลิก]] 298,000 คน (1.3%) และศาสนิกชน[[ลัทธิอนุตตรธรรม]] 810,000 คน (3.5%) เป็นต้น<ref name="moi">{{cite web | title = Taiwan Yearbook 2006 | publisher = Government of Information Office | year= 2006 | url = http://www.gio.gov.tw/taiwan-website/5-gp/yearbook/22Religion.htm | accessdate = 2007-09-01 |archiveurl = http://web.archive.org/web/20070708213510/http://www.gio.gov.tw/taiwan-website/5-gp/yearbook/22Religion.htm <!-- Bot retrieved archive --> |archivedate = 2007-07-08}}</ref><ref>{{cite web | title = 2006 Report on International Religious Freedom | publisher = U.S. Department of State | year= 2006 | url = http://www.state.gov/g/drl/rls/irf/2006/71337.htm | accessdate = 2007-09-01 }}</ref> |
|||
=== ภาษา === |
|||
{{บทความหลัก|ภาษาในไต้หวัน}} |
|||
=== เมืองใหญ่ === |
|||
รายชื่อเมืองใหญ่ใน'''สาธารณรัฐจีน'''เรียงตาม[[ประชากร]] |
|||
{| class="wikitable" |
{| class="wikitable" |
||
บรรทัด 402: | บรรทัด 201: | ||
|} |
|} |
||
<br /> |
|||
=== กีฬา === |
|||
{{บทความหลัก|ไต้หวันในโอลิมปิก|ไต้หวันในพาราลิมปิก}} |
|||
==== ฟุตบอล ==== |
|||
{{บทความหลัก|สมาคมฟุตบอลจีนไทเป|ฟุตบอลทีมชาติจีนไทเป|ฟุตซอลทีมชาติจีนไทเป}} |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
==== มวยสากล ==== |
|||
{{บทความหลัก|สมาคมมวยสากลไต้หวัน|มวยสากลในจีน}} |
|||
{{โครง-ส่วน}} |
|||
== ดูเพิ่ม == |
|||
* [[Index of Taiwan-related articles]] |
|||
* [[Outline of Taiwan]] |
|||
{{portal bar|Geography|Asia|Taiwan|Islands}} |
|||
== เชิงอรรถ == |
|||
{{notelist|30em}} |
|||
== อ้างอิง == |
|||
===Citations=== |
===Citations=== |
||
{{รายการอ้างอิง|30em}} |
{{รายการอ้างอิง|30em}} |
||
บรรทัด 474: | บรรทัด 256: | ||
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
||
{{Sister project links|Republic of China|voy=Taiwan}} |
|||
{{commonscat|Republic of China|ประเทศไต้หวัน}} |
|||
* {{Wikivoyage|Taiwan}} |
* {{Wikivoyage|Taiwan}} |
||
*ที่เที่ยวไต้หวัน ข้อมูลบางส่วน จาก [https://thejourneymoment.com/travel/taiwan-10-destinations/ The journey moment] |
*ที่เที่ยวไต้หวัน ข้อมูลบางส่วน จาก [https://thejourneymoment.com/travel/taiwan-10-destinations/ The journey moment] |
||
{{Navboxes |
|||
|list1= |
|||
{{ไต้หวัน}} |
|||
{{Administrative divisions of Taiwan}} |
|||
{{เอเชีย}} |
|||
{{เอเปค}} |
|||
{{พันธมิตรนอกนาโต}} |
|||
}} |
|||
[[หมวดหมู่:ไต้หวัน| ]] |
[[หมวดหมู่:ไต้หวัน| ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:57, 24 มีนาคม 2563
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
แม่แบบ:ธงชาติ และธงประจำเขตปกครอง
เกาะไต้หวัน (แป่ะเอ๋ยี้: Tâi-oân; ไต่อวัน) หรือ ไถวาน (อักษรโรมัน: Taiwan; จีนตัวย่อ: 台湾; จีนตัวเต็ม: 臺灣/台灣; พินอิน: Táiwān; ไถวาน) เป็นเขตปกครองตนเองพิเศษ แห่งสาธารณะรัฐประชาชนจีน
เกาะไต้หวันด้านตะวันตกติดกับจีนแผ่นดินใหญ่ ด้านตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือติดกับญี่ปุ่น และด้านใต้ติดกับฟิลิปปินส์ กรุงไทเปเป็นเมืองหลักของเกาะ
เกาะไต้หวันนั้นเดิมเป็นที่อยู่ของชาวจีนจนกระทั่งชาววิลันดาและสเปนเดินทางเข้ามาในยุคสำรวจเมื่อศตวรรษที่ 17 และมาตั้งบ้านเรือนกลายเป็นนิคมใหญ่โต ต่อมาในปี 1662 ราชวงศ์หมิงในแผ่นดินใหญ่ถูกราชวงศ์ชิงแทนที่ เจิ้ง เฉิงกง (鄭成功) ขุนศึกหมิง รวมกำลังหนีมาถึงเกาะไต้หวัน และเข้ารุกไล่ฝรั่งออกไปได้อย่างราบคาบ เขาจึงตั้งราชอาณาจักรตงหนิง (東寧) ขึ้นบนเกาะเพื่อ "โค่นชิงฟื้นหมิง" (反清復明) แต่ในปี 1683 ราชวงศ์ชิงปราบปรามอาณาจักรตงหนิงและเข้าครอบครองไต้หวันเป็นผลสำเร็จ ไต้หวันจึงกลายเป็นมณฑลหนึ่งของจีน อย่างไรก็ดี ความบาดหมางระหว่างจีนกับญี่ปุ่นเป็นเหตุให้ญี่ปุ่นได้ไต้หวันไปในปี 1895 ก่อนเสียไต้หวันคืนให้แก่จีนหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงนั้น มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในจีน พรรคก๊กมินตั๋ง (國民黨) ได้เป็นใหญ่ แต่ไม่นานก็เสียทีให้แก่พรรคคอมมิวนิสต์จีน (共产党) พรรคก๊กมินตั๋งจึงหนีมายังเกาะไต้หวันและสถาปนาสาธารณรัฐจีนขึ้นบนเกาะไต้หวันแยกต่างหาก ส่วนฝ่ายคอมมิวนิสต์จีนที่เป็นฝ่ายได้รับชัยชนะได้สถาปนาสาธารณรัฐประชาชนจีนบนแผ่นดินใหญ่ อย่างไรก็ดี จีนยังคงถือว่า ไต้หวันเป็นมณฑลหนึ่งของตน และไต้หวันเองก็ยังมิได้รับการยอมรับจากนานาชาติว่าเป็นประเทศเอกราชมาจนบัดนี้
ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 เศรษฐกิจไต้หวันงอกงามอย่างรวดเร็ว ไต้หวันจึงกลายเป็นเขตที่พัฒนาแล้ว ทั้งได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งในสี่เสือแห่งเอเชีย มีอุตสาหกรรมล้ำหน้า และมีเศรษฐกิจใหญ่โตเป็นอันดับที่ 19 ของโลก[1]
ภูมิศาสตร์
เกาะไต้หวัน มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ ทำให้ภูมิประเทศติดกับทะเล และอยู่ห่างจากจีนแผ่นดินใหญ่ไม่ใกล้มากนัก
ประวัติศาสตร์
ข้อผิดพลาด: ไม่ได้ระบุชื่อหน้า (ช่วยเหลือ)
ก่อนประวัติศาสตร์
ข้อผิดพลาด: ไม่ได้ระบุชื่อหน้า (ช่วยเหลือ)
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อาณานิคมในศตวรรษที่ 17
บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ได้เข้ามาจัดตั้งสถานีการค้าขึ้นที่หมู่เกาะเผิงหูในปี พ.ศ. 2165 (ค.ศ. 1622) แต่ในภายหลังเนเธอร์แลนด์ได้แพ้สงครามกับจีนและถูกขับไล่ออกไปโดยราชวงศ์หมิง[2]
ในปี พ.ศ. 2167 (ค.ศ. 1624) บริษัทได้สร้างฐานที่มั่นซึ่งมีชื่อว่าป้อมซีแลนเดียบนเกาะชายฝั่งเถาหยวน ซึ่งปัจจุบันอยู่ในพื้นที่ของเขตอานผิง เมืองไถหนัน และบริษัทได้เริ่มนำเข้าแรงงานมาจากมณฑลฝูเจี้ยนและเผิงหู
ในปี พ.ศ. 2169 (ค.ศ. 1626) ชาวสเปนเดินทางมาถึงและได้เข้ายึดครองบริเวณทางตอนเหนือของไต้หวัน ที่ท่าเรือของนครจีหลงและบริเวณชายฝั่งของนครซินเป่ย์ในปัจจุบัน เพื่อเป็นฐานในการขยายการค้า กลายเป็นยุคอาณานิคมของสเปนอยู่ 16 ปีจนกระทั่ง พ.ศ. 2185 (ค.ศ. 1642) เมื่อป้อมปราการสุดท้ายของสเปนถูกกองทัพเนเธอร์แลนด์เข้าตีได้สำเร็จ
ราชวงศ์ชิง
ในปี ค.ศ. 1638 หลังการพ่ายแพ้ของหลานชายของเจิ้ง เฉิงกง จากการบุกโจมตีทางทัพเรือของราชวงศ์ชิงแมนจูที่นำทัพโดยชื่อ หลางจากทางตอนใต้ของมณฑลฝูเจี้ยน ทำให้ราชวงศ์ชิงผนวกยึดเกาะไต้หวันมาเป็นส่วนหนึ่งได้สำเร็จ และวางไว้ภายใต้เขตอำนาจของมณฑลฝูเจี้ยน ราชสำนักของราชวงศ์ชิงพยายามลดการละเมิดลิขสิทธิ์และความไม่ลงรอยกันในพื้นที่โดยออกกฎหมายเพื่อจัดการตรวจคนเข้าเมืองและเคารพสิทธิในที่ดินของชนพื้นเมืองไต้หวัน ผู้อพยพจากฝูเจี้ยนทางใต้ส่วนใหญ่ยังคงเดินทางไปไต้หวัน เขตแดนระหว่างดินแดนที่เสียภาษีและสิ่งที่ถูกพิจารณาว่าเป็นดินแดน "เขตอันตราย" เปลี่ยนไปทางทิศตะวันออกโดยชาวพื้นเมืองบางคนเข้ารีตรับวัฒนธรรมแบบจีน ในขณะที่คนอื่น ๆ ถอยกลับเข้าไปในภูเขา ในช่วงเวลานี้มีความขัดแย้งจำนวนมากระหว่างกลุ่มชาวจีนฮั่นด้วยกันเองจากภูมิภาคต่าง ๆ ของฝูเจี้ยนทางใต้โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างเฉวียนโจวกับฉางโจว และระหว่างฝูเจี้ยนตอนใต้และชาวพื้นเมืองไต้หวัน
จักรวรรดิญี่ปุ่น
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911) การจลาจลอู่ฮั่นในประเทศจีน เป็นจุดเริ่มต้นการล่มสลายของราชวงศ์ชิง เมื่อพรรคคอมมิวนิสต์จีนเข้ามามีอำนาจในจีนแผ่นดินใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) พรรคก๊กมินตั๋ง พรรคการเมืองเมืองชาตินิยมของจีนที่เป็นฝ่ายแพ้ก็พาผู้คนอพยพหนีออกจากแผ่นดินใหญ่มาตั้งหลักที่ไต้หวัน เพื่อวางแผนกลับไปครองอำนาจในจีนต่อไป
ชาวจีนมากกว่า 1 ล้าน 5 แสนคน อพยพตามมาอยู่ที่เกาะไต้หวันในยุคที่ เหมา เจ๋อตง มีอำนาจเต็มที่ในจีนแผ่นดินใหญ่ ผู้นำของประเทศทั้งสองจีน คือผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์กับผู้นำสาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวัน แย่งกันเป็นกระบอกเสียงของประชาชนจีนในเวทีโลก แต่เสียงของนานาประเทศส่วนใหญ่เกรงอิทธิพลของจีนแผ่นดินใหญ่ จึงให้การยอมรับจีนแผ่นดินใหญ่มากกว่า
พรรคก๊กมินตั๋งเรืองอำนาจ
ในปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) ก่อนที่นายพล เจียง ไคเช็ก (General Chiang Kaishek) (ภาษาจีน:蔣中正) จะถึงอสัญกรรมไม่กี่ปี สาธารณรัฐจีนซึ่งเป็นประเทศที่ร่วมก่อตั้งองค์การสหประชาชาติได้สูญเสียสมาชิกภาพในฐานะตัวแทนชาวจีนให้กับสาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี พ.ศ. 2521 (ค.ศ. 1978) สหประชาชาติก็ประกาศรับรองจีนเดียวคือจีนแผ่นดินใหญ่และตัดสัมพันธ์ทางการเมืองกับสาธารณรัฐจีน ทั้งสหรัฐอเมริกาก็ได้ถอนการรับรองว่าสาธารณรัฐจีนมีฐานะเป็นรัฐ ไต้หวันจึงกลายเป็นเพียงดินแดนของสาธารณรัฐประชาชนจีนอย่างสมบูรณ์
การปกครอง
การปกครองเกาะไต้หวันนั้นสถาปนาขึ้นตามรัฐธรรมนูญและลัทธิไตรราษฎร์ซึ่งระบุว่า สาธารณรัฐจีน "เป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยของประชาชน ปกครองโดยประชาชน และเป็นไปเพื่อประชาชน"[3]
การปกครองนั้นแบ่งออกเป็น 5 ฝ่าย เรียกว่า "สภา" (yuan) คือ สภาบริหาร (Executive Yuan) ได้แก่ คณะรัฐมนตรีและฝ่ายบริหารทั้งสิ้น, สภานิติบัญญัติ (Legislative Yuan), สภาตุลาการ (Judicial Yuan), สภาควบคุม (Control Yuan) เป็นฝ่ายตรวจสอบ, และสภาสอบคัดเลือก (Examination Yuan) มีหน้าที่จัดสอบคัดเลือกข้าราชการ
บริหาร
ผู้ว่าเกาะไต้หวัน(เขตปกครองตนเองพิเศษ) มาจากการเลือกตั้ง อยู่ในตำแหน่งวาระ 4 ปี ไม่เกิน 2 วาระ มาและไปพร้อมกับรองผู้ว่า ผู้ว่าเขตปกครองคนปัจจุบัน คือ ไช่ อิงเหวิน เธอเป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า (民主進步黨) คนปัจจุบัน และเป็นตัวแทนของพรรคเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดีในการเลือกตั้งเมื่อปี 2016 ตำแหน่งซึ่งเธอพลาดไปในการเลือกตั้งปีเมื่อปี 2012 นอกจากนี้ เธอยังเคยเป็นหัวหน้าพรรคมาแล้วหนึ่งสมัยในช่วงปี 2008 ถึง 2012
ผู้ว่าเขตปกครองมีอำนาจเหนือสภาบริหาร เพราะแต่งตั้งสมาชิกสภาบริหาร ซึ่งรวมถึง นายกรัฐมนตรี ผู้เป็นประธานสภาบริหารโดยตำแหน่ง ส่วนสมาชิกสภาบริหารนั้นรับผิดชอบนโยบายและการบริหารราชการแผ่นดิน[3]
นิติบัญญัติ
สภานิติบัญญัตินั้นใช้ระบบสภาเดียว มีสมาชิก 113 คน 73 คนมาจากการเลือกตั้งของประชาชนด้วยระบบแบ่งเขต 34 คนมาจากการเลือกตั้งของพรรคการเมืองตามระบบสัดส่วน ที่เหลือ 6 คนนั้นมาจากการเลือกตั้งตามเขตชนพื้นเมือง 23 เขต สมาชิกสภานิติบัญญัติอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี แต่ก่อนยังมีสมัชชาแห่งชาติทำหน้าที่เป็นคณะผู้เลือกตั้งและสภาร่างรัฐธรรมนูญ ทั้งยังมีอำนาจนิติบัญญัติบางประการด้วย แต่ภายหลังสมัชชานี้ยุบเลิกไปในปี 2005 อำนาจหน้าที่ของสมัชชาก็โอนต่อไปยังสภานิติบัญญัติและผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งแสดงออกด้วยประชามติแทน[3]
นายกรัฐมนตรีมาจากการสรรหาของผู้ว่าเขตปกครอง โดยไม่จำต้องได้รับความเห็นชอบของสภานิติบัญญัติ ขณะเดียวกัน สภานิติบัญญัติสามารถออกกฎหมายโดยไม่ต้องคำนึงผู้ว่าเขตปกครอง ส่วนผู้ว่าเขตปกครองก็ดี นายกรัฐมนตรีก็ดี ไม่มีอำนาจยับยั้งร่างกฎหมายทั้งสิ้น[3] ฉะนั้น จึงมีน้อยครั้งที่ประธานาธิบดีและสภานิติบัญญัติจะเจรจากันเกี่ยวกับร่างกฎหมายในยามที่เห็นแย้งกัน[4]
ตุลาการ[5]
สำหรับฝ่ายตุลาการนั้น สภาตุลาการเป็นองค์กรสูงสุด มีอำนาจตีความรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และกฎ กับทั้งพิจารณาคดีทุกประเภท ไม่ว่าคดีปกครอง คดีรัฐธรรมนูญ หรือคดีอื่น ๆ ประธานสภาตุลาการ รองประธานสภาตุลาการ และตุลาการอื่นอีก 13 คน ประกอบกันเป็น "ที่ประชุมใหญ่ตุลาการ" (Council of Grand Justices)[6] ตุลาการ ณ ที่ประชุมใหญ่เหล่านี้มาจากการเสนอชื่อและแต่งตั้งของประธานาธิบดีเมื่อได้รับความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติ[3]
ศาลชั้นสูงสุดของประเทศ คือ ศาลสูงสุด (Supreme Court) ประกอบด้วย แผนกคดีแพ่งและคดีอาญาจำนวนหนึ่ง แต่ละแผนกมีตุลาการหัวหน้าแผนก 1 คน กับตุลาการสมทบอีก 4 คน ทั้ง 5 คนนี้อยู่ในตำแหน่งโดยไม่มีวาระกำกับ อนึ่ง เคยมีการตั้งศาลรัฐธรรมนูญขึ้นเป็นเอกเทศในปี 1993 เพื่อจัดการข้อพิพาทบางประการในทางรัฐธรรมนูญ รวมถึงจัดระเบียบพรรคการเมือง และเร่งรัดกระบวนการประชาธิปไตย[3]
สาธารณรัฐจีนไม่ใช้ลูกขุน แต่สิทธิของประชาชนในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอันเป็นธรรมนั้นได้รับความคุ้มครองอย่างเคร่งครัดทั้งในทางกฎหมายและทางปฏิบัติ คดีบางประเภทให้ตุลาการมากคนพิจารณาก็มี[3]
โทษประหารยังคงใช้อยู่ในสาธารณรัฐจีน แต่ฝ่ายปกครองพยายามลดการประหารลงให้ได้ กระนั้น ในปี 2006 มีการสำรวจและพบว่า ชาวสาธารณรัฐจีนกว่าร้อยละ 80 ประสงค์ให้รักษาโทษประหารไว้[7]
อื่น ๆ
สำหรับสภาที่เหลือ คือ สภาควบคุม และสภาสอบคัดเลือกนั้น สภาควบคุมมีอำนาจหน้าที่ตรวจสอบสภาอื่น ๆ บางทีทำหน้าที่เป็นองค์คณะไต่สวนคดีปกครองด้วย อาจเทียบได้กับศาลตรวจสอบ (Court of Auditors) ของสหภาพยุโรป หรือสำนักงานเพื่อความน่าเชื่อถือของรัฐบาล (Government Accountability Office) ในสหรัฐอเมริกา[3]
ส่วนสภาสอบคัดเลือกรับผิดชอบการตรวจสอบคุณสมบัติของข้าราชการ วิธีสอบคัดเลือกยังคงเน้นตามการสอบขุนนางของจีนโบราณ สภานี้อาจเทียบได้กับสำนักงานสรรหาบุคลาการยุโรป (European Personnel Selection Office) ของสหภาพยุโรป หรือสำนักงานบริหารจัดการบุคลากร (Office of Personnel Management) ของสหรัฐอเมริกา[3]
การแบ่งเขตการปกครอง
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1949 รัฐบาลได้ทำการเปลี่ยนแปลงการแบ่งเขตการปกครองในพื้นที่ภายใต้การบริหารควบคุมของรัฐบาล การกำหนดเขตการปกครองได้กำหนดให้ไทเปกลายเป็นเทศบาลพิเศษในปี ค.ศ. 1967 และรวมถึงเกาสฺยง ในปี ค.ศ. 1979 รัฐบาลท้องถิ่นทั้งสองมี "ความคล่องตัว" โดยมีหน้าที่ถ่ายโอนไปยังรัฐบาลกลาง (มณฑลฝูเจี้ยนในปี ค.ศ. 1956 และมณฑลไต้หวันในปี ค.ศ. 1998)[8] ในปีค.ศ. 2010 ซินเป่ย์, ไถจง และไถหนานได้รับการยกระดับเป็นเทศบาลพิเศษ และในปี ค.ศ. 2014 มณฑลเถา-ยฺเหวียนก็ได้รับการยกระดับเป็นเทศบาลพิเศษด้วย การยกระดับครั้งนี้ทำให้เขตการปกครองระดับบนสุดเข้าสู่สถานะปัจจุบัน[9]
ขั้น | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 |
---|---|---|---|---|---|
เขต ประเภท |
เทศบาลพิเศษ (直轄市 zhíxiáshì) (6) |
อำเภอชนพื้นเมืองภูเขา (原住民區 yuánzhùmín qū) (6) |
หมู่บ้านชานเมือง (里 lǐ) |
ละแวก (鄰 lín) | |
อำเภอ (區 qū) (164) | |||||
มณฑล (省 shěng) (2) |
เทศบาลมณฑล (市 shì) (3) | ||||
เทศมณฑล (縣 xiàn) (13) |
นครในความควบคุมของเทศมณฑล (縣轄市 xiànxiáshì) (14) | ||||
เมืองชานเมือง (鎮 zhèn) (38) | |||||
เมืองชนบท (鄉 xiāng) (122) |
หมู่บ้านชนบท (村 cūn) | ||||
เมืองชนบทชนพื้นเมืองภูเขา (山地鄉 shāndì xiāng) (24) | |||||
ทั้งหมด | 22 | 368 | 7,851 | 147,785 |
ตามมาตรา 4 ของบัญญัติการปกครองส่วนท้องถิ่นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเขตเทศบาลพิเศษยังมีผลบังคับใช้กับมณฑลที่มีประชากรเกิน 2 ล้านคน บทบัญญัตินี้ไม่ได้ใช้กับเขตใด ๆ แม้ว่าก่อนหน้านี้จะใช้กับเขตไทเป (ปัจจุบันคือ ซินเป่ย์) และมณฑลเถา-ยฺเหวียน (ปัจจุบันคือ เทศบาลพิเศษเถา-ยฺเหวียน)
เขตบริหารพิเศษเกาะไต้หวัน พ.ศ. 2492 (ค.ศ. 1949) - ปัจจุบัน
หลังจากพรรคก๊กมินตั๋งถอยหนีมาอยู่บนเกาะไต้หวัน ประเทศส่วนใหญ่ยังคงรักษาความสัมพันธ์กับรัฐบาลสาธารณรัฐจีนเอาไว้ แต่การรับรองสถานะก็ลดลงเรื่อย ๆ อย่างต่อเนื่องเมื่อในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 มีหลายประเทศได้เปลี่ยนไปรับรองสถานะของสาธารณรัฐประชาชนจีนแทน ในปัจจุบัน สาธารณรัฐจีนบนเกาะไต้หวันยังคงได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการจาก 17 รัฐ จาก 193 รัฐสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งนอกจากทำเนียบสันตะปาปาแล้ว ส่วนใหญ่จะเป็นประเทศเล็ก ๆ ในแถบอเมริกากลางและแอฟริกา ทางสาธารณรัฐประชาชนจีนมีนโยบายที่จะไม่สานสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศที่รับรองสถานะของสาธารณรัฐจีน และทุกประเทศที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตด้วยจะต้องมีแถลงการณ์รับรองสถานะของสาธารณรัฐประชาชนจีนเหนือไต้หวัน
ในทางปฏิบัติแล้ว ถึงแม้ว่าประเทศส่วนใหญ่จะไม่มีความสัมพันธ์ทางการทูตอย่างเป็นทางการกับไต้หวัน และแถลงการณ์ที่ทางสาธารณรัฐประชาชนจีนต้องการนั้นก็ได้เขียนขึ้นโดยใช้คำกำกวมอย่างยิ่ง ประเทศสำคัญ ๆ บางประเทศที่ไม่ได้รับรองสถานะของสาธารณรัฐจีนก็จะมี "สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป" หรือ "สำนักงานตัวแทนไทเป" ซึ่งปฏิบัติงานต่าง ๆ ในลักษณะเดียวกับสถานทูต เช่น การออกวีซ่า เป็นต้น และในทำนองเดียวกัน หลายประเทศก็ได้จัดตั้งสำนักงานการค้าและเศรษฐกิจขึ้นในเกาะไต้หวันเช่น สำนักงานการค้าและเศรษฐกิจไทย และสถาบันอเมริกาในไต้หวัน ซึ่งโดยพฤตินัยแล้วก็คือสถานทูตของประเทศต่าง ๆ นั่นเอง
สาธารณรัฐจีนเคยเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติในฐานะสมาชิกก่อตั้ง โดยได้อยู่ในตำแหน่งของประเทศจีนในคณะมนตรีความมั่นคงจนกระทั่งถึงปี พ.ศ. 2514 (ค.ศ. 1971) ที่ถูกขับออกโดย "มติสมัชชาสหประชาชาติที่ 2758 (General Assembly Resolution 2758)" และตำแหน่งทั้งหมดในองค์การสหประชาชาติก็ถูกแทนที่ด้วยรัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน เนื่องจากการล่มสลาบของสาธาณรัฐจีน
กองทัพไม่มี
เศรษฐกิจ
ศักยภาพทางเศรษฐกิจ
เกาะไต้หวันมสาธารณรัฐประชาชนจีนมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่14ของโลก หน่วยเงินตราที่ใช้ คือ ดอลลาร์ไต้หวัน
ทรัพยากรธรรมชาติส่วนใหญ่มีจำนวนน้อย แต่เป็นประเทศอุตสาหกรรมชั้นสูงอุตสาหกรรมนั้นเป็นเน้นไปที่การผลิต มีการนำเข้าน้ำมันดิบและแร่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ ส่งออกไปจำหน่าย ถือเป็นการค้าโดยการผลิต ในปัจจุบันมีการนำเข้าชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
อุตสาหกรรมที่รวดเร็วและการเติบโตอย่างรวดเร็วของไต้หวันในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 20 ได้รับการขนานนามว่า "ความมหัศจรรย์แห่งไต้หวัน" เกาะไต้หวันถือเป็นหนึ่งที่ได้รับการจัดอันดับขนานนามว่าเป็น "สี่เสือแห่งเอเชีย" เคียงคู่ไปกับฮ่องกง,เกาหลีใต้และสิงคโปร์
ภายใต้การปกครองไต้หวันแบบอาณานิคมของญี่ปุ่นก่อนและระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองนำการเปลี่ยนแปลงในภาครัฐและเอกชน, สิ่งที่เป็นที่รับรู้และมีชื่อเสียงที่สุดคือ พื้นที่ของงานสาธารณะซึ่งเปิดใช้งานการสื่อสารที่รวดเร็วและอำนวยความสะดวกการขนส่งทั่วเกาะไต้หวัน ญี่ปุ่นยังปรับปรุงการศึกษาของรัฐและทำให้เกิดการศึกษาบังคับสำหรับชาวไต้หวันทุกคน ในปี ค.ศ. 1945 เมื่อญี่ปุ่นได้แพ้สงครามโลกครั้งที่สองและได้คืนเกาะไต้หวันให้กับสาธารณรัฐจีน ได้เกิดภาวะเงินเฟ้อยิ่งยวดขึ้นในจีนแผ่นดินใหญ่และไต้หวันอันเป็นผลมาจากสงครามกับญี่ปุ่น เพื่อแยกไต้หวันออกจากปัญหาเศรษฐกิจในแผ่นดินใหญ่นั้น รัฐบาลจีนคณะชาติของสาธารณส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้นอันดับแรกๆ ที่เที่ยวไต้หวัน มีเยอะ ทั้งแลนด์มาร์คดังๆ อย่างตึกไทเป 101 (Taipei 101), หมู่บ้านโบราณจิ่วเฟิ่น (Jioufen), ตลาดปลาไทเป (Taipei Fish Market) อีกทั้งยังเป็นดินแดนแห่งสตรีทฟู้ดที่อร่อยอีกด้วย เนื่องจากมีตลาดกลางคืนมากมาย เช่น ตลาดซีเหมินติง (Ximending), ตลาดซื่อหลิน (Shilin Night Market) เป็นต้น
รายชื่อเมืองใหญ่ในเขตปกครองบริหารพิเศษไต้หวันเรียงตามประชากร
อันดับที่ | ชื่อเขต | ชื่อภาษาจีน | จำนวนตามประชากร |
---|---|---|---|
1 | ซินเป่ย์ | 新北市 | 3,779,219 |
2 | เมืองไทเป | 台北市 | 2,627,990 |
3 | เทศมณฑลเถาหยวน | 桃園縣 | 1,921,526 |
4 | เทศมณฑลไถจง | 台中縣 | 1,546,114 |
5 | เมืองเกาสฺยง | 高雄市 | 1,516,115 |
6 | เทศมณฑลจางฮว่า | 彰化縣 | 1,313,986 |
7 | เทศมณฑลเกาสฺยง | 高雄縣 | 1,244,282 |
8 | เทศมณฑลไถหนาน | 台南縣 | 1,105,515 |
9 | เมืองไถจง | 台中市 | 1,050,160 |
10 | เทศมณฑลผิงตง | 屏東縣 | 890,753 |
11 | เมืองไถหนาน | 台南市 | 762,486 |
12 | เทศมณฑลหยวินหลิน | 雲林縣 | 726,868 |
13 | เทศมณฑลเหมียวลี่ | 苗栗縣 | 559,776 |
14 | เทศมณฑลเจียอี้ | 嘉義縣 | 551,993 |
15 | เทศมณฑลหนานโถว | 南投縣 | 533,903 |
16 | ชนบทซินจู๋ | 新竹縣 | 491,405 |
17 | เทศมณฑลอี๋หลาน | 宜蘭縣 | 460,133 |
18 | เมืองซินจู๋ | 新竹市 | 396,983 |
19 | เมืองจีหลง | 基隆市 | 390,299 |
20 | เทศมณฑลฮวาเหลียน | 花蓮縣 | 344,087 |
21 | เมืองเจียอี้ | 嘉義市 | 272,718 |
22 | เทศมณฑลไถตง | 台東縣 | 234,672 |
23 | เทศมณฑลเผิงหู | 澎湖縣 | 92,077 |
24 | เทศมณฑลจินเหมิน | 金門縣 | 79,023² |
25 | เทศมณฑลเหลียนเจียง | 連江縣 | 9,814² |
Citations
- ↑ CIA World Factbook- GDP (PPP)
- ↑ Wills, John E., Jr. (2006). "The Seventeenth-century Transformation: Taiwan under the Dutch and the Cheng Regime". ใน Rubinstein, Murray A. (บ.ก.). Taiwan: A New History. M.E. Sharpe. pp. 84–106. ISBN 978-0-7656-1495-7.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 "Chapter 4: Government" (PDF). The Republic of China Yearbook. Government Information Office, Republic of China (Taiwan). 2011. pp. 55–65.
{{cite book}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|chapterurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=
) (help) - ↑ Huang, Jei-hsuan (14 September 2006). "Letter: KMT holds the key". Taipei Times. p. 8. สืบค้นเมื่อ 28 May 2009.
- ↑ Jayasuriya, Kanishka (1999). Law, capitalism and power in Asia. Routledge. p. 217. ISBN 978-0-415-19743-4.
- ↑ Wikisource. . Article 5 – โดยทาง
- ↑ Chang, Rich (2 January 2006). "Nation keeps death penalty, but reduces executions". Taipei Times. สืบค้นเมื่อ 2 November 2009.
- ↑ Hwang, Jim (1 ตุลาคม 1999). "Gone with the Times". Taiwan Review. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2012. สืบค้นเมื่อ 13 เมษายน 2012.
{{cite news}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help) - ↑ "中華民國國情簡介 政府組織". Taipei: Government Information Office. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 May 2012. สืบค้นเมื่อ 13 April 2012.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help)
บทความ
- "2008 White Paper on Taiwan Industrial Technology" (PDF). Department of Industrial Technology. 2008. สืบค้นเมื่อ 27 November 2009.
- Bird, Michael I; Hope, Geoffrey; Taylor, David (2004). "Populating PEP II: the dispersal of humans and agriculture through Austral-Asia and Oceania" (PDF). Quaternary International. 118–119: 145–163. doi:10.1016/s1040-6182(03)00135-6. สืบค้นเมื่อ 31 March 2007.
{{cite journal}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Chang, Maukuei (2005). "Chapter 7 : The Movement to Indigenize to Social Sciences in Taiwan: Origin and Predicaments". ใน Makeham, John; Hsiau, A-chin (บ.ก.). Cultural, Ethnic, and Political Nationalism in Contemporary Taiwan: Bentuhua (1 ed.). New York: Palgrave Macmillan. ISBN 9781403970206.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Davidson, James W. (1903). The Island of Formosa, Past and Present : history, people, resources, and commercial prospects : tea, camphor, sugar, gold, coal, sulphur, economical plants, and other productions. London and New York: Macmillan. OL 6931635M.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Executive Yuan, R.O.C. (2014). The Republic of China Yearbook 2014. ISBN 9789860423020. สืบค้นเมื่อ 25 February 2015.
- Fenby, Jonathan (2009). The Penguin History of Modern China: The Fall and Rise of a Great Power, 1850–2009. Penguin Books. ISBN 0-7139-9832-6.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Fung, Edmund S. K. (2000). In search of Chinese democracy: civil opposition in Nationalist China, 1929–1949. Cambridge modern China series. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-77124-5.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Hsiau, A-Chin (2005). "Chapter 4 : The Indigenization of Taiwanese Literature: Historical Narrative, Strategic Essentialism, and State Violence". ใน Makeham, John; Hsiau, A-chin (บ.ก.). Cultural, Ethnic, and Political Nationalism in Contemporary Taiwan: Bentuhua (1 ed.). New York: Palgrave Macmillan. ISBN 9781403970206.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Makinen, Gail E.; Woodward, G. Thomas (1989). "The Taiwanese hyperinflation and stabilization of 1945–1952". Journal of Money, Credit and Banking. 21 (1): 90–105. doi:10.2307/1992580. JSTOR 1992580.
{{cite journal}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Makeham, John (2005). "Chapter 6 : Indigenization Discourse in Taiwanese Confucian Revivalism". ใน Makeham, John; Hsiau, A-chin (บ.ก.). Cultural, Ethnic, and Political Nationalism in Contemporary Taiwan: Bentuhua (1 ed.). New York: Palgrave Macmillan. ISBN 9781403970206.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Hill, Catherine; Soares, Pedro; Mormina, Maru; Macaulay, Vincent; Clarke, Dougie; Blumbach, Petya B.; Vizuete-Forster, Matthieu; Forster, Peter; Bulbeck, David; Oppenheimer, Stephen; Richards, Martin (January 2007). "A Mitochondrial Stratigraphy for Island Southeast Asia". The American Journal of Human Genetics. 80 (1): 29–43. doi:10.1086/510412. PMC 1876738. PMID 17160892.
{{cite journal}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Valentijn, François (1903) [First published 1724 in Oud en Nieuw Oost-Indiën]. "History of the Dutch Trade". ใน Campbell, William (บ.ก.). Formosa under the Dutch: described from contemporary records, with explanatory notes and a bibliography of the island. London: Kegan Paul. pp. 25–75. OCLC 644323041.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|chapterurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=
) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์|editorlink=
ถูกละเว้น แนะนำ (|editor-link=
) (help) - Winckler, Edwin (1994). Harrell, Stevan; Huang, Chun-chieh (บ.ก.). Cultural Policy in Postwar Taiwan. Cultural Change in Postwar Taiwan ( 10–14 April 1991; Seattle). Boulder, Colo.: Westview Press. ISBN 9780813386324.
{{cite conference}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help) - Yip, June (2004). Envisioning Taiwan: Fiction, Cinema and the Nation in the Cultural Imaginary. Durham, N.C. and London: Duke University Press. ISBN 9780822333579.
{{cite book}}
:|ref=harv
ไม่ถูกต้อง (help)
หนังสืออ่านเพิ่ม
- "Taiwan Flashpoint". BBC News. 2005.
- "เที่ยวไต้หวัน". ทริป.
- Bush, R.; O'Hanlon, M. (2007). A War Like No Other: The Truth About China's Challenge to America. Wiley. ISBN 0-471-98677-1.
- Bush, R. (2006). Untying the Knot: Making Peace in the Taiwan Strait. Brookings Institution Press. ISBN 0-8157-1290-1.
- Carpenter, T. (2006). America's Coming War with China: A Collision Course over Taiwan. Palgrave Macmillan. ISBN 1-4039-6841-1.
- Clark, Cal; Tan, Alexander C. (2012). Taiwan's Political Economy: Meeting Challenges, Pursuing Progress. Lynne Rienner Publishers. ISBN 1-588-26806-3.
- Cole, B. (2006). Taiwan's Security: History and Prospects. Routledge. ISBN 0-415-36581-3.
- Copper, J. (2006). Playing with Fire: The Looming War with China over Taiwan. Praeger Security International General Interest. ISBN 0-275-98888-0.
- Federation of American Scientists; และคณะ (2006). "Chinese Nuclear Forces and US Nuclear War Planning" (PDF).
- Feuerwerker, Albert (1968). The Chinese Economy, 1912–1949. Ann Arbor: University of Michigan Press.
- Fravel, M. Taylor (2002) "Towards Civilian Supremacy: Civil-military Relations in Taiwan's Democratization", Armed Forces & Society 29, no. 1: 57–84
- Gill, B. (2007). Rising Star: China's New Security Diplomacy. Brookings Institution Press. ISBN 0-8157-3146-9.
- Shirk, S. (2007). China: Fragile Superpower: How China's Internal Politics Could Derail Its Peaceful Rise. Oxford University Press. ISBN 0-19-530609-0.
- Tsang, S. (2006). If China Attacks Taiwan: Military Strategy, Politics and Economics. Routledge. ISBN 0-415-40785-0.
- Tucker, N.B. (2005). Dangerous Strait: the US-Taiwan-China Crisis. Columbia University Press. ISBN 0-231-13564-5.
แหล่งข้อมูลอื่น
- ที่เที่ยวไต้หวัน ข้อมูลบางส่วน จาก The journey moment