ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7146094 สร้างโดย Jkjkjkjjj7898 (พูดคุย)
บรรทัด 144: บรรทัด 144:
| 28 || พฤศจิกายน 2016 || {{PER}} || [[ลิมา]]
| 28 || พฤศจิกายน 2016 || {{PER}} || [[ลิมา]]
|-
|-
| 29 || 2017 || {{VIE}} || [[ดานัง]]
|-
| 30 || 2018 || {{PNG}} || ''ยังไม่กำหนด''
|-
| 31 || 2019 || {{CHI}} || ''ยังไม่กำหนด''
|-
| 32 || 2020 || {{MAS}} || ''ยังไม่กำหนด''
|-
| 33 || 2021 || {{NZL}} || ''ยังไม่กำหนด''
|-
| 34 || 2022 || {{THA}} || ''ยังไม่กำหนด''
|}
|}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:26, 7 สิงหาคม 2560

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปค)
ชาติสมาชิก
ชาติสมาชิก
ที่ทำการ สิงคโปร์
ประเภทความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
รัฐสมาชิก
ผู้นำ
• การประชุมเอเปค ปี 2015
 ฟิลิปปินส์
• ผู้อำนวยการบริหาร
ดร. อลัน โบลลาร์ด
สถาปนาพ.ศ. 2532
เว็บไซต์
www.apec.org

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก

เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การเจรจาการค้าหลายฝ่าย รอบอุรุกวัย ประสบผลสำเร็จ ขณะเดียวกัน เอเปคก็ต้องการถ่วงดุลอำนาจทางเศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุโรป อีกด้วย

สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกเอเปคให้แก่กัน จะมีผลต่อผู้ที่มิได้เป็นสมาชิกเอเปคด้วย

ภาคี

  ชาติสมาชิกในปัจจุบัน
  ชาติที่แสดงเจตจำนงเข้าเป็นสมาชิก

สมาชิกในปัจจุบัน

ปัจจุบัน เอเปคมีสมาชิกทั้งสิ้น 21 เขตเศรษฐกิจ (19 ประเทศ 2 เขตเศรษฐกิจ) ประกอบด้วยประเทศมหาอำนาจทางการเมืองและเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน และญี่ปุ่น รวมทั้งสมาชิกอาเซียน และประเทศในอเมริกาเหนือและใต้ ซึ่งประกอบด้วย :

แสดงเจตจำนงเข้าเป็นสมาชิก

การประชุมประจำปี

การประชุมสุดยอดผู้นำเอเปค 2003 APEC summit กรุงเทพฯ
ครั้งที่ ปี เจ้าภาพ เมือง
1 6-7 พฤศจิกายน 1989 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย แคนเบอร์รา
2 29-31 กรกฎาคม 1990  สิงคโปร์ สิงคโปร์
3 12-14 พฤศจิกายน 1991 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ โซล
4 10-11 กันยายน 1992  ไทย กรุงเทพมหานคร
5 19-20 พฤศจิกายน 1993  สหรัฐ ซีแอตเทิล
6 15 พฤศจิกายน 1994 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย โบโกร์
7 19 พฤศจิกายน 1995 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น โอซะกะ
8 25 พฤศจิกายน 1996 ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ มะนิลา
9 24-25 พฤศจิกายน 1997 ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา แวนคูเวอร์
10 17-18 พฤศจิกายน 1998 ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์
11 12-13 กันยายน 1999 ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ ออกแลนด์
12 15-16 พฤศจิกายน 2000 ธงของประเทศบรูไนดารุสซาลาม บรูไน บันดาร์เซอรีเบอกาวัน
13 20-21 ตุลาคม 2001 ธงของประเทศจีน จีน เซี่ยงไฮ้
14 26-27 ตุลาคม 2002 ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก โลสกาโบส
15 20-21 ตุลาคม 2003  ไทย กรุงเทพมหานคร
16 20-21 พฤศจิกายน 2004 ธงของประเทศชิลี ชิลี ซานเตียโก
17 18-19 พฤศจิกายน 2005 ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ปูซาน
18 18-19 พฤศจิกายน 2006 ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม ฮานอย
19 8-9 กันยายน 2007 ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ซิดนีย์
20 22-23 พฤศจิกายน 2008 ธงของประเทศเปรู เปรู ลิมา
21 14-15 พฤศจิกายน 2009  สิงคโปร์ สิงคโปร์
22 13-14 พฤศจิกายน 2010 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น โยะโกะฮะมะ
23 11-12 พฤศจิกายน 2011  สหรัฐ ฮาวาย
24 7-8 กันยายน 2012 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย วลาดีวอสตอค
25 5-7 ตุลาคม 2013 ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย บาหลี
26 10-11 พฤศจิกายน 2014 ธงของประเทศจีน จีน ปักกิ่ง
27 18-19 พฤศจิกายน 2015 ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ มะนิลา
28 พฤศจิกายน 2016 ธงของประเทศเปรู เปรู ลิมา

ผู้นำประเทศในการประชุมปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • APEC - เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
  • เอเปค - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
  • APEC STUDY CENTER - เว็บไซต์ไทยอย่างเป็นทางการ