ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาตราโมส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 67: บรรทัด 67:
| '''10'''
| '''10'''
| [[เพชร]]
| [[เพชร]]
|gggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggg
| C
| 1600
| 1600
| [[ไฟล์:Rough diamond.jpg|100px]]
| [[ไฟล์:Rough diamond.jpg|100px]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:33, 8 ธันวาคม 2559

มาตราความแข็งแร่ของโมส (อังกฤษ: Mohs scale of mineral hardness) เป็นมาตราความแข็งของแร่ตามที่นักวิทยาแร่ชาวเยอรมัน ชื่อ ฟรีดริช โมส (Friedrich Mohs) กำหนดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1812 ประกอบด้วยแร่มาตรฐาน 10 ชนิด เรียงลำดับตั้งแต่แร่ที่ทนทานต่อการขูดขีดน้อยที่สุดจนถึงมากที่สุด ดังนี้

ความแข็งพื้นฐาน

ความแข็งของโมส แร่ สูตรเคมี ความแข็งสัมบูรณ์ รูปภาพ
1 ทัลก์ Mg3Si4O10(OH)2 1
2 ยิปซัม CaSO4·2H2O 3
3 แคลไซต์ CaCO3 9
4 ฟลูออไรต์ CaF2 21
5 อะพาไทต์ Ca5(PO4)3(OH,Cl,F) 48
6 ออร์โทเคลสเฟลด์สปาร์ KAlSi3O8 72
7 ควอตซ์ SiO2 100
8 โทแพซ Al2SiO4(OH,F)2 200
9 กะรุน Al2O3 400
10 เพชร gggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggggg 1600

ความแข็งที่อยู่ระหว่างกลาง

ความแข็ง วัสดุหรือแร่
0.2–0.3 ซีเซียม, รูบิเดียม
0.5–0.6 ลิเทียม, โซเดียม, โพแทสเซียม
1 ทัลก์
1.5 แกลเลียม, สตรอนเชียม, อินเดียม, ดีบุก, แบเรียม, แทลเลียม, ตะกั่ว, แกรไฟต์
2 โบรอนไนไตรด์อัญรูปหกเหลี่ยม[1], แคลเซียม, ซีลีเนียม, แคดเมียม, กำมะถัน, เทลลูเรียม, บิสมัท
2.5–3 แมกนีเซียม, ทองคำ, เงิน, อะลูมิเนียม, สังกะสี, แลนทานัม, ซีเรียม, นิล
3 แคลไซต์, ทองแดง, สารหนู, พลวง, ทอเรียม, เนื้อฟัน
4 ฟลูออไรต์, เหล็ก, นิกเกิล
4–4.5 แพลทินัม, เหล็กกล้า
5 อะพาไทต์, โคบอลต์, เซอร์โคเนียม, แพลเลเดียม, เคลือบฟัน, ออบซิเดียน (แก้วภูเขาไฟ)
5.5 เบริลเลียม, โมลิบดีนัม, แฮฟเนียม
6 ออร์โทเคลส, ไทเทเนียม, แมงกานีส, เจอร์เมเนียม, ไนโอเบียม, โรเดียม, ยูเรเนียม
6–7 แก้ว, ควอตซ์หลอม, ไพไรต์เหล็ก, ซิลิคอน, รูทีเนียม, อิริเดียม, แทนทาลัม, โอปอล
7 ออสเมียม, ควอตซ์, รีเนียม, วาเนเดียม
7.5–8 มรกต, เหล็กกล้าชุบแข็ง, ทังสเตน, สปิเนล
8 โทแพซ, คิวบิกเซอร์โคเนีย
8.5 คริโซเบริล, โครเมียม, ซิลิคอนไนไตรด์, แทนทาลัมคาร์ไบด์
9–9.5 กะรุน, ซิลิคอนคาร์ไบด์, ทังสเตนคาร์ไบด์, ไทเทเนียมคาร์ไบด์
9.5–10 โบรอน, โบรอนไนไตรด์, รีเนียมไดโบไรด์, สติโชไวต์, ไทเทเนียมโบไรด์
10 เพชร, คาร์บอนาโด
>10 ไฮเปอร์ไดมอนด์

อ้างอิง

  1. Berger, Lev I. (1996). Semiconductor Materials (First ed.). Boca Raton, FL: CRC Press. p. 126. ISBN 978-0849389122. {{cite book}}: ระบุ |pages= และ |page= มากกว่าหนึ่งรายการ (help)