ซิลิคอนคาร์ไบด์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซิลิคอนคาร์ไบด์
Sample of silicon carbide as a boule
ชื่ออื่น Carborundum
Moissanite
เลขทะเบียน
เลขทะเบียน CAS [409-21-2][CAS]
PubChem 9863
EC number 206-991-8
MeSH Silicon+carbide
ChEBI 29390
RTECS number VW0450000
SMILES
 
Gmelin Reference 13642
ChemSpider ID 9479
คุณสมบัติ
สูตรโมเลกุล CSi
มวลโมเลกุล 40.1 g mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ผลึกสีเหลือง เขียวถึงดำน้ำเงิน[1]
ความหนาแน่น 3.16 g·cm−3 (hex.)[2]
จุดหลอมเหลว

2830 °C, 3103 K, 5126 °F

−12.8·10−6 cm3/mol[4]
ดัชนีหักเหแสง (nD) 2.55 (infrared; all polytypes)[3]
ความอันตราย
การจำแนกของ EU Not listed
NFPA 704
NFPA 704.svg
0
1
0
 
U.S. Permissible
exposure limit (PEL)
TWA 15 mg/m3 (total) TWA 5 mg/m3 (resp)[1]
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
สถานีย่อย:เคมี

ซิลิคอนคาร์ไบด์ (อังกฤษ: silicon carbide) หรือ คาร์บอรันดัม (carborundum) เป็นสารประกอบที่มีสูตรเคมีคือ SiC ในรูปบริสุทธิ์ไม่มีสี แต่มีสีเขียวถึงดำจากการปนเปื้อนธาตุเหล็ก[5] ซิลิคอนคาร์ไบด์มีรูปแบบผลึกกว่า 250 แบบ[6] แต่พบมากที่สุดในรูปแอลฟา (α-SiC) ซึ่งมีโครงสร้างผลึกแบบหกเหลี่ยม ก่อตัวที่อุณหภูมิสูงกว่า 1700 °C และรูปบีตา (β-SiC) ซึ่งเป็นโครงสร้างแบบซิงก์เบลนด์ ก่อตัวที่อุณหภูมิต่ำกว่า 1700 °C[7][8] ในธรรมชาติพบในแร่มอยซาไนต์ แต่สามารถสังเคราะห์ได้จากกระบวนการอะคีสัน

ซิลิคอนคาร์ไบด์มีคุณสมบัตินำความร้อนและทนอุณหภูมิสูง มีความแข็งตามมาตราโมสที่ 9–9.5 จึงนิยมใช้เป็นสารกึ่งตัวนำ, วัสดุขัดถู, วัสดุทนความร้อนสูงและการกระแทก

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Silicon carbide - NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards". Centers for Disease Control and Prevention. สืบค้นเมื่อ May 1, 2018.
  2. Haynes, William M., บ.ก. (2014–2015). CRC Handbook of Chemistry and Physics (PDF) (95th ed.). CRC Press. p. 4-88. ISBN 978-1-4822-0868-9.
  3. "Properties of Silicon Carbide (SiC)". Ioffe Institute. สืบค้นเมื่อ 2009-06-06.
  4. Haynes, William M., บ.ก. (2014–2015). CRC Handbook of Chemistry and Physics (PDF) (95th ed.). CRC Press. p. 4-135. ISBN 978-1-4822-0868-9.
  5. "Silicon carbide - MSDS" (PDF). Burwell Technologies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-04-02. สืบค้นเมื่อ May 1, 2018.
  6. Cheung, Rebecca (2006). Silicon carbide microelectromechanical systems for harsh environments. Imperial College Press. p. 3. ISBN 1-86094-624-0.
  7. "Silicon carbide" (PDF). IARC Monographs. สืบค้นเมื่อ May 1, 2018.
  8. Chyad, Fadhil A.; Agoal, Ibrahim R.; Mutter, Mahdi M. (2012). "Effect of Addition SiC Particles on the Hardness and Dry Sliding Wear of the Copper-Graphite Composite". The Iraqi Journal For Mechanical And Material Engineering. 12 (2): 298–304. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-29. สืบค้นเมื่อ May 1, 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]