พยาธิวิทยาคลินิก
นิติเวชศาสตร์ |
---|
ขอบเขตนิติเวชศาสตร์ |
นิติพยาธิวิทยา • นิติเวชกีฏวิทยา |
นิติพิษวิทยา • นิติเวชคลินิก |
นิติเซโรวิทยา • นิติจิตเวช |
พยาธิกายวิภาค |
พยาธินิติเวช • พยาธิวิทยาคลินิก |
เวชศาสตร์จราจร • กฎหมายการแพทย์ |
การตรวจพิสูจน์บุคคล |
การศึกษาโครงกระดูก |
การชันสูตรพลิกศพ |
พยานทางเคมี • พยานวัตถุ |
การตรวจสถานที่ |
การสืบสวนกรณีเสียชีวิต • การตรวจศพ |
การเปรียบเทียบการตาย |
การผ่าและพิสูจน์ศพ |
ทางนิติเวช • ทางพยาธิวิทยา |
ทางนิติพยาธิ • ทางพิษวิทยา |
การตรวจชิ้นเนื้อ • การหาสาเหตุการตาย |
การตรวจสารพันธุกรรม |
การตรวจสอบระยะเวลาตาย |
การหาระยะเวลาการตาย |
การประมวลระยะเวลาการตาย |
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย |
รอยเขียวช้ำ • สภาพแข็งทื่อ |
ตัวเย็น • การเน่าสลายตัว |
อาหารในกระเพาะ • หนอนที่พบในศพ |
บาดแผล |
ของแข็งไม่มีคม • ของแข็งมีคม |
บาดแผลกระสุนปืนและวัตถุระเบิด |
การตายและการตรวจสอบ |
ขาดอากาศ • จมน้ำตาย • ไฟและความร้อน |
กระแสไฟฟ้า • จราจร • ข่มขืน |
สารพิษ • การตายกะทันหัน • สาเหตุอื่น |
การฆ่าตัวตาย • DNA • ความผิดทางเพศ |
ผู้ป่วยคดีและผู้ถูกข่มขืน |
หน่วยงานในสังกัด |
สถาบันนิติเวชวิทยา |
พยาธิวิทยาคลินิก หรือเวชศาสตร์ชันสูตร (อังกฤษ: Clinical pathology or Laboratory Medicine) เป็นการแพทย์เฉพาะทางที่เกี่ยวกับการวินิจฉัยโรคโดยอาศัยการวิเคระห์ทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์จากสิ่งส่งตรวจเช่นสารน้ำในร่างกาย เลือด หรือปัสสาวะ โดยอาศัยความรู้ทางเคมีคลินิก จุลชีววิทยาคลินิก โลหิตวิทยา และพยาธิวิทยาโมเลกุล (molecular pathology) ซึ่งแพทย์ด้านนี้จะทำงานร่วมกันกับนักเทคนิคการแพทย์



พยาธิวิทยาคลินิกเป็นหนึ่งในสองแขนงวิชาหลักของพยาธิวิทยา ซึ่งได้แก่พยาธิกายวิภาคและพยาธิวิทยาคลินิก พยาธิแพทย์อาจต้องศึกษาทั้งสองสาขาวิชาซึ่งเรียกว่า พยาธิวิทยาทั่วไป (general pathology)
พยาธิวิทยาคลินิกแบ่งออกได้อีกเป็นสาขาวิชาย่อยหลักๆ ได้แก่ เคมีคลินิก (clinical chemistry) , โลหิตวิทยาคลินิก (clinical hematology) , เวชศาสตร์การบริการโลหิตหรือธนาคารเลือด และจุลชีววิทยาคลินิก