ผู้ใช้:สปอร์ตกีฬา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

พระราชบุตร ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก[แก้]

ประสูติแต่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

พระราชโอรสและพระราชธิดา ในรัชกาลที่ 9[แก้]

ประสูติแต่ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง

พระราชโอรสและพระราชธิดา ในรัชกาลที่ 10[แก้]

ในเอกสารเฉลิมพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวจะให้ข้อมูลว่าพระองค์มีพระราชธิดาสองพระองค์ และพระราชโอรสหนึ่งพระองค์ คือ

1.ประสูติแต่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ

2.ประสูติแต่ สุจาริณี วิวัชรวงศ์

3.ประสูติแต่ ท่านผู้หญิงศรีรัศมิ์ สุวะดี

พระมหากษัตริย์ไทย[แก้]

พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรไทย
ธงประจำพระอิสริยยศ
อยู่ในราชสมบัติ
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ตั้งแต่ 13 ตุลาคม 2559
รายละเอียด
รัชทายาทตำแหน่งว่าง
กษัตริย์องค์แรกพ่อขุนศรีอินทราทิตย์
สถาปนาเมื่อพ.ศ. 1792
ที่ประทับพระบรมมหาราชวัง

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง[แก้]

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ธงประจำพระอิสริยยศ
การเรียกขานใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท
สมาชิกของราชวงศ์จักรี
จวนวัง
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตลอดพระชนม์ชีพ
ผู้ประเดิมตำแหน่งสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
สถาปนา4 ธันวาคม พ.ศ. 2453

สมเด็จพระยุพราช มกุฎราชกุมาร[แก้]

สยามมกุฎราชกุมาร
ธงเยาวราชใหญ่ประจำพระอิสริยยศ
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
"ว่าง"

ตั้งแต่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559
การเรียกขานใต้ฝ่าละอองพระบาท
สมาชิกของราชวงศ์จักรี
จวนวัง
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตลอดพระชนม์ชีพหรือจนกว่าจะสืบราชสมบัติ
ผู้ประเดิมตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร
สถาปนา14 มกราคม พ.ศ. 2429

สยามมกุฎราชกุมาร เป็นพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารของประเทศไทย ซึ่งเป็นพระอิสริยยศของผู้ที่จะสืบราชสมบัติต่อจากพระมหากษัตริย์ไทย โดยสยามมกุฎราชกุมารจะดำรงพระยศนี้ไปจนกว่าพระมหากษัตริย์จะสวรรคตหรือสละราชสมบัติ

สยามบรมราชกุมารี[แก้]

สยามมกุฎราชกุมาร
ธงประจำพระอิสริยยศ
การเรียกขานใต้ฝ่าละอองพระบาท
สมาชิกของราชวงศ์จักรี
จวนวัง
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตลอดพระชนม์ชีพ
ผู้ประเดิมตำแหน่งสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สถาปนา5 ธันวาคม พ.ศ. 2520

พระมเหสี-พระสนม ในรัชกาลที่ 10[แก้]

พระมเหสี[แก้]

พระมเหสี-พระสนม[แก้]

พงศาวลี ในรัชกาลที่ 10[แก้]

พระบรมวงศานุวงศ์[แก้]

พระภรรยาเจ้าชั้นลูกหลวง ในรัชกาลที่ 5[แก้]

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย[แก้]

ประวัติการแข่งขัน[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

  • กรีซ2004 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • จีน2008 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • สหราชอาณาจักร2012 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • บราซิล2016 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น2020

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก[แก้]

  • ญี่ปุ่น1998 : อันดับ 15
  • เยอรมนี2002 : อันดับ 20
  • ญี่ปุ่น2006 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น2010 : อันดับ 13
  • อิตาลี2014 : อันดับ 17
  • ญี่ปุ่น2018 : อันดับ 13
  • เนเธอร์แลนด์โปแลนด์2020 :

เวิลด์คัพ[แก้]

  • ญี่ปุ่น2007 : อันดับ 10
  • ญี่ปุ่น2011 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น2015 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น2019 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น2023 :

วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]

  • ฮ่องกง2002 : อันดับ 8
  • อิตาลี2003 : อันดับ 10
  • อิตาลี2004 : อันดับ 10
  • ญี่ปุ่น2005 : อันดับ 12
  • อิตาลี2006 : อันดับ 11
  • จีน2007 : ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน เนื่องจากประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ กีฬามหาวิทยาลัยโลกฤดูร้อน 2007
  • ญี่ปุ่น2008 : อันดับ 11
  • ญี่ปุ่น2009 : อันดับ 8
  • จีน2010 : อันดับ 10
  • มาเก๊า2011 : อันดับ 6 ในรอบสุดท้าย
  • จีน2012 : อันดับ 4 ในรอบสุดท้าย
  • ญี่ปุ่น2013 : อันดับ 13
  • ญี่ปุ่น2014 : อันดับ 11
  • สหรัฐ2015 : อันดับ 9
  • ไทย2016 : อันดับ 6 ในรอบสุดท้าย
  • จีน2017 : อันดับ 10

เนชันส์ลีก[แก้]

  • จีน2018 : อันดับ 15
  • จีน2019 : อันดับ 12
  • จีน2020 :

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ[แก้]

  • ญี่ปุ่น2009 : อันดับ 6
  • ญี่ปุ่น2013 : อันดับ 5
  • ญี่ปุ่น2017 : ไม่ผ่านการคัดเลือก