ข้ามไปเนื้อหา

ชาติแอฟริกาในฟุตบอลโลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฟุตบอลทีมชาติของทวีปแอฟริกาในฟุตบอลโลก เป็นตัวแทนของแต่ละประเทศในการเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกซึ่งเป็นประเทศจากโซนแอฟริกาและเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกา กีฬาฟุตบอลเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในเกือบทุกประเทศในแอฟริกา โดยมีสมาชิก 13 ทีมของสมาพันธ์ฟุตบอลแอฟริกาที่เคยเข้าร่วมแข่งขันในฟุตบอลโลก ซึ่งเป็นการกีฬาระดับนานาชาติที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกีฬาฟุตบอล ผลงานอันดับสูงสุดในฟุตบอลโลกสำหรับทีมแอฟริกาคืออันดับ 4 ในฟุตบอลโลก 2022 โดยทีมชาติโมร็อกโก

ภาพรวม

[แก้]
1930
อุรุกวัย
(13)
1934
ราชอาณาจักรอิตาลี
(16)
1938
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3
(15)
1950
Fourth Brazilian Republic
(13)
1954
สวิตเซอร์แลนด์
(16)
1958
สวีเดน
(16)
1962
ชิลี
(16)
1966
อังกฤษ
(16)
1970
เม็กซิโก
(16)
1974
เยอรมนีตะวันตก
(16)
1978
อาร์เจนตินา
(16)
1982
สเปน
(24)
1986
เม็กซิโก
(24)
1990
อิตาลี
(24)
1994
สหรัฐอเมริกา
(24)
1998
ฝรั่งเศส
(32)
2002
เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
(32)
2006
เยอรมนี
(32)
2010
แอฟริกาใต้
(32)
2014
บราซิล
(32)
2018
รัสเซีย
(32)
2022
ประเทศกาตาร์
(32)
2026
แคนาดา
สหรัฐอเมริกา
เม็กซิโก
(48)
รวม
ทีม 0





อียิปต์





0





0





0





0





0





0





โมร็อกโก





สาธารณรัฐซาอีร์





ตูนิเซีย





แคเมอรูน
แอลจีเรีย




โมร็อกโก
แอลจีเรีย




แคเมอรูน
อียิปต์




แคเมอรูน
ไนจีเรีย
โมร็อกโก



แคเมอรูน
ไนจีเรีย
โมร็อกโก
ตูนิเซีย
แอฟริกาใต้

แคเมอรูน
ไนจีเรีย
เซเนกัล
ตูนิเซีย
แอฟริกาใต้

แองโกลา
โตโก
กานา
ตูนิเซีย
โกตดิวัวร์

แคเมอรูน
ไนจีเรีย
กานา
แอลจีเรีย
โกตดิวัวร์
แอฟริกาใต้
แคเมอรูน
ไนจีเรีย
กานา
แอลจีเรีย
โกตดิวัวร์

อียิปต์
ไนจีเรีย
โมร็อกโก
ตูนิเซีย
เซเนกัล

แคเมอรูน
กานา
โมร็อกโก
ตูนิเซีย
เซเนกัล

49
16 ทีมสุดท้าย 0[a] 1 1 1 1 1 1 1 2 0 2 11
8 ทีมสุดท้าย 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 1 0 0 1 4
4 ทีมสุดท้าย 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1
2 ทีมสุดท้าย 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
1 0
2 0
3 0
4 โมร็อกโก 1
ประเทศ จำนวนครั้ง ปี ค.ศ. ผลงานดีที่สุด
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน 8 1982, 1990, 1994, 1998, 2002, 2010, 2014, 2022 QF
ธงชาติโมร็อกโก โมร็อกโก 6 1970, 1986, 1994, 1998, 2018, 2022 4
ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 6 1994, 1998, 2002, 2010, 2014, 2018 R2
ธงชาติตูนิเซีย ตูนิเซีย 6 1978, 1998, 2002, 2006, 2018, 2022 R1
ธงชาติกานา กานา 4 2006, 2010, 2014, 2022 QF
ธงชาติแอลจีเรีย แอลจีเรีย 4 1982, 1986, 2010, 2014 R2
ธงชาติเซเนกัล เซเนกัล 3 2002, 2018, 2022 QF
ธงชาติอียิปต์ อียิปต์ 3 1934, 1990, 2018 R1
ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 3 1998, 2002, 2010 R1
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ 3 2006, 2010, 2014 R1
Flag of the Democratic Republic of the Congo สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก[b] 1 1974 R1
ธงชาติแองโกลา แองโกลา 1 2006 R1
ธงชาติโตโก โตโก 1 2006 R1
  • ตัวหนา หมายถึง ปีที่จบอันดับดีที่สุด

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ในปี ค.ศ. 1982 ในรอบที่สองมี 12 ทีมแข่งขันแบบแบ่งกลุ่มมีทั้งหมด 4 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ทีม มีเพียงผู้ชนะเท่านั้นที่จะผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ: ไม่มีรอบก่อนรองชนะเลิศ
  2. สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก แข่งขันในนาม ซาอีร์ ในปี ค.ศ. 1974

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]