ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

พิกัดภูมิศาสตร์: 13°15′N 61°12′W / 13.250°N 61.200°W / 13.250; -61.200

เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์

ตราแผ่นดินของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
ตราแผ่นดิน
คำขวัญ"Pax et Justitia" (ละติน)
"สันติภาพและความยุติธรรม"
เพลงชาติ"เซนต์วินเซนต์แลนด์โซบิวทิฟูล"
"เซนต์วินเซนต์ดินแดนอันสวยงาม"
ที่ตั้งของเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
คิงส์ทาวน์
13°10′N 61°14′W / 13.167°N 61.233°W / 13.167; -61.233
ภาษาราชการอังกฤษ
ภาษาถิ่นครีโอลวินเซนต์
กลุ่มชาติพันธุ์
ศาสนา
(2010)[1]
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
ซูซาน ดูแกน
ราล์ฟ กอนซัลเวส
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
เอกราช
27 ตุลาคม ค.ศ. 1969
27 ตุลาคม ค.ศ. 1979
พื้นที่
• รวม
389 ตารางกิโลเมตร (150 ตารางไมล์) (อันดับที่ 184)
น้อยมาก
ประชากร
• พ.ศ. 2560 ประมาณ
109,643[2] (อันดับที่ 179)
• สำมะโนประชากร 2021
100,455
307 ต่อตารางกิโลเมตร (795.1 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 39)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2019 (ประมาณ)
• รวม
$1.373 billion
$12,431[3]
จีดีพี (ราคาตลาด) 2019 (ประมาณ)
• รวม
$864 million
$7,827[3]
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.738[4]
สูง · อันดับที่ 97
สกุลเงินดอลลาร์แคริบเบียนตะวันออก (XCD)
เขตเวลาUTC-4 (เวลามาตรฐานแอตแลนติก)
ขับรถด้านซ้าย
รหัสโทรศัพท์+1 784
โดเมนบนสุด.vc

เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (อังกฤษ: Saint Vincent and the Grenadines) เป็นประเทศในภูมิภาคแคริบเบียน มีลักษณะเป็นหมู่เกาะ มีทางออกสู่ทะเลและเป็นสมาชิกของเครือจักรภพ

ประวัติศาสตร์[แก้]

นิคมช่องแคบยุคเริ่มต้น[แก้]

อาณานิคมฝรั่งเศส[แก้]

อาณานิคมบริเตน[แก้]

ศตวรรษที่ 20 และ ศตวรรษที่ 21[แก้]

Residents of Saint Vincent making casabe (casava bread) ช่วงทศวรรษที่ 1910

ภูมิศาสตร์[แก้]

การเมืองการปกครอง[แก้]

เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (Constitutional Monarchy) โดยสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 เป็นพระมหากษัตริย์ ทรงใช้พระราชอำนาจผ่านผู้สำเร็จราชการ พระราชทานรัฐธรรมนูญเมื่อ 27 ตุลาคม 2522

นิติบัญญัติ[แก้]

เป็นระบบสภาเดียว (unicameral) จำนวน 21 ที่นั่ง (มาจากการเลือกตั้ง 15 ที่นั่งและแต่งตั้งอีก 6 ที่นั่ง) มีวาระ 5 ปี

บริหาร[แก้]

คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งโดยผู้สำเร็จราชการ ภายใต้การเสนอของนายกรัฐมนตรี โดยทั่วไปนายกรัฐมนตรี มาจากหัวหน้าพรรคที่ได้คะแนนเสียงข้างมาก ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากผู้สำเร็จราชการ

ตุลาการ[แก้]

อำนาจในการพิจารณาไต่สวน อยู่ภายใต้อำนาจของศาลสูงสุดแคริบเบียนตะวันออก (Eastern Caribbean Supreme Court)

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

แบ่งเป็น 6 เขต ได้แก่ Charlotte, Grenadines, Saint Andrew, Saint David, Saint George, Saint Patrick

นโยบายต่างประเทศ[แก้]

กองทัพ[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

โครงสร้าง[แก้]

ภาพรวมทางเศรษฐกิจ รายได้หลักขึ้นอยู่กับการเกษตร คือการส่งออกกล้วย และกำลังขยายด้านการท่องเที่ยว อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (2543) ร้อยละ 2 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) (2547) 0.39พันล้านดอลลาร์สหรัฐ GDP per capita 3,516 ดอลลาร์สหรัฐ โครงสร้าง GDP (2543) ภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 10.6 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 17.5 ภาคบริการ ร้อยละ 71.9 รายได้ประชาชาติต่อหัว (2543) 2,800 ดอลลาร์สหรัฐ อัตราเงินเฟ้อ (2542) ร้อยละ 2.2 อัตราการว่างงาน (2540) ร้อยละ 22 อุตสาหกรรม อาหารแปรรูป เฟอร์นิเจอร์ สิ่งทอ แป้งมัน เกษตรกรรม กล้วย มะพร้าว มันเทศ เครื่องเทศ การปศุสัตว์ ได้แก่ วัว แกะ สุกร แพะและปลา สินค้าเข้า (2543) มูลค่า 185.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ได้แก่ อาหาร เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ แร่ และเชื้อเพลิง สินค้าออก (2543) มูลค่า 53.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ได้แก่ กล้วย (ร้อยละ 39) เผือก แป้งมัน ไม้ตีเทนนิส ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ สหรัฐอเมริกา ประเทศต่าง ๆ ในลาตินอเมริกาและแคริเบียน อังกฤษ

การท่องเที่ยว[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Saint Vincent and the Grenadines Demographics Profile". Index Mundi. สืบค้นเมื่อ 12 December 2020.
  2. "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  3. 3.0 3.1 Report on St. Vincent and the Grenadines, International Monetary Fund.
  4. Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Bobrow, Jill & Jinkins, Dana. 1985. St. Vincent and the Grenadines. 4th Edition Revised and Updated, Concepts Publishing Co., Waitsfield, Vermont, 1993.
  • Cosover, Mary Jo. 1989. "St. Vincent and the Grenadines." In Islands of the Commonwealth Caribbean: A Regional Study, edited by Sandra W. Meditz and Dennis M. Hanratty. US Government Printing Office, Washington, D.C.
  • CIA Factbook entry
  • Gonsalves, Ralph E. 1994. History and the Future: A Caribbean Perspective. Quik-Print, Kingstown, St Vincent.
  • US Dept of State Profile
  • Williams, Eric. 1964. British Historians and the West Indies, Port-of-Spain.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

รัฐบาล
ข้อมูลพื้นฐาน