ซุนเกี๋ยน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซุนเกี๋ยน (ซุน เจียน)
孫堅
ภาพวาดของซุนเกี๋ยนสมัยราชวงศ์ชิง
ขุนพลพิชิตอนารยชน
(破虜將軍)
(ภายใต้อ้วนสุด)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 190 (190) – ค.ศ. 191 (191)
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
ข้าหลวงมณฑลอิจิ๋ว (豫州刺史)
(ภายใต้อ้วนสุด)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 190 (190) – ค.ศ. 191 (191)
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
ก่อนหน้าขงมอ
เจ้าเมืองเตียงสา (長沙太守)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 187 (187) – ค.ศ. 190 (190)
กษัตริย์พระเจ้าเลนเต้
พระเจ้าเหี้ยนเต้
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด155
อำเภอฟู่ชุน เมืองง่อกุ๋น (ปัจจุบันอยู่บริเวณเขตฟู่หยาง เมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง)
เสียชีวิตค.ศ. 191 (อายุ 36 ปี) [a]
ซงหยง
คู่สมรส
บุตร
บุพการี
  • ซุน จง (บิดา)
ความสัมพันธ์ดู พงศาวลีง่อก๊ก
อาชีพขุนพล, นักการเมือง, ขุนศึก
ชื่อรองเหวินไถ (文臺)
บรรดาศักดิ์อูเฉิงโหฺว (烏程侯)
สมัญญานามจักรพรรดิอู่เลี่ย (武烈皇帝)
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้จักรวรรดิฮั่น
พันธมิตรกวันตง
ทัพอ้วนสุด
หน่วยทัพซุนเกี๋ยน
ผ่านศึกกบฏหือฉง
กบฏโพกผ้าเหลือง
กบฏเลียงจิ๋ว
การทัพปราบตั๋งโต๊ะ
ยุทธการที่ซงหยง
ซุนเกี๋ยน (ซุน เจียน)
อักษรจีนตัวเต็ม孫堅
อักษรจีนตัวย่อ孙坚

ซุนเกี๋ยน (ค.ศ. 155 – 191) หรือชื่อในภาษาจีนกลางว่า ซุน เจียน (จีน: 孫堅; พินอิน: Sūn Jiān; เกี่ยวกับเสียงนี้ pronunciation ) ชื่อรอง เหวินไถ (文臺) เป็นขุนพล นักการเมือง และขุนศึกที่มีชีวิตในช่วงปลายสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของจีน[2] ซุนเกี๋ยนเป็นพันธมิตรกับอ้วนสุดในปี ค.ศ. 190 เมื่อเหล่าขุนศึกในภาคตะวันออกของจีนรวมตัวกันเป็นกองทัพพันธมิตรเพื่อขับไล่ตั๋งโต๊ะ ขุนศึกเผด็จการผู้กุมพระเจ้าเหี้ยนเต้จักพรพรรดิหุ่นเชิดไว้ในอำนาจ แม้ว่าซุนเกี๋ยนจะไม่ได้ครอบครองกองกำลังและอาณาเขตมากนัก แต่ความกล้าหาญและปฏิภาณของตัวซุนเกี๋ยนก็ทำให้ตั๋งโต๊ะหวาดกลัว ยกให้ซุนเกี๋ยนมีความสำคัญในฐานะบุคคลทรงอิทธิพลที่สุดในเวลานั้นเทียบเท่าอ้วนเสี้ยว อ้วนสุด และเล่าเปียว หลังทัพพันธมิตรแยกสลายในปีถัด จีนตกอยู่ภาวะสงครามกลางเมืองครั้งใหญ่ ในปี ค.ศ. 191 ซุนเกี๋ยนถูกสังหารระหว่างการรบกับเล่าเปียว

ซุนเกี๋ยนยังเป็นบิดาของซุนกวน หนึ่งบุคคลสำคัญของยุคสามก๊กผู้ในที่สุดก็สถาปนารัฐง่อก๊กและตั้งตนเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกในปี ค.ศ. 229 ซุนเกี๋ยนได้รับสมัญญานามย้อนหลังเป็น จักรพรรดิอู่เลี่ย (武烈皇帝)

ประวัติช่วงต้นและการรับราชการ[แก้]

ซุนเกี๋ยนเกิดที่อำเภอฟู่ชุน (富春縣) เมืองง่อกุ๋น (อู๋จวิ้น) ซึ่งปัจจุบันอยู่บริเวณเขตฟู่หยาง มณฑลเจ้อเจียง กล่าวกันว่าซุนเกี๋ยนสืบเชื้อสายมาจากซุนบู๊ ผู้เขียนพิชัยสงครามซุนจื่อ ไม่มีบันทึกที่เหลือรอดที่กล่าวถึงภูมิหลังครอบครัวของซุนเกี๋ยน อาจอนุมานได้ว่าครอบครัวของซุนเกี๋ยนอันมีบทบาทมากในสมัยราชวงศ์ฮั่น[3] แม้แต่ชื่อบิดาของซุนเกี๋ยนก็ไม่มีการบันทึกได้ แม้ในนิทานพื้นบ้านจะให้ชื่อบิดาของซุนเกี๋ยนว่าซุน จ้ง (孫鍾).[4]

ในวัยหนุ่ม ซุนเกี๋ยนเป็นข้าราชการในอำเภอบ้านเกิด เมื่อซุนเกี๋ยนอายุ 16 ปีได้เดินทางพร้อมกับบิดาไปยังเจียนต๋อง (เฉียนถัง) แล้วกับพบกลุ่มโจรสลัดกำลังแบ่งของที่ปล้นได้บนบก ซุนเกี๋ยนกระโดดขึ้นฝั่งพร้อมกับกระบี่ในมือและชี้ไปในทิศทางต่าง ๆ ราวกับกำลังสั่งให้กองทหารออกไปล้อมกลุ่มโจรสลัด เมื่อพวกโจรสลัดเห็นเช่นนั้นก็ถูกหลงเชื่อว่ามีทหารอยู่จริง ๆ และแตกหนีไป ซุนเกี๋ยนไล่ตามและสังหารโจรสลัดได้คนหนึ่ง ซุนเกี๋ยนเริ่มมีชื่อเสียงขึ้นเพราะเหตุการณ์นี้

ร่วมทัพพันธมิตรปราบตั๋งโต๊ะ[แก้]

บั้นปลายชีวิต[แก้]

ครอบครัว[แก้]


 
 
 
เฉินชื่อ
陳氏
 
 
 
 
 
'ซุนเกี๋ยน'
(ซุน เจียน)
孫堅
เหวินไถ
文台
 
 
 
 
 
 
 
งอฮูหยิน
อู๋ชื่อ
吳氏
 
 
 
 
งอเก๋ง
อู๋ จิ่ง
吳景
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
{{{ (}}}
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
พัวโยย
พาน จฺวิ้น
潘濬
เฉิงหมิง
承明
 
 
 
 
 
 
 
ซุนลอง
(ซุน หล่าง)
孫朗
เจ่าอัน
早安
 
 
 
 
 
 
ซุนเซ็ก
(ซุน เช่อ)
孫策
โป๋ฝู
伯符
 
ซุนกวน
(ซุน เฉฺวียน)
孫權
จ้งโหมว
仲謀
 
ซุนเซียง
(ซุน อี้)
孫翊
ชูปี้
叔弼
 
ซุนของ
(ซุน ควัง)
孫匡
จี้จั่ว
季佐
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
พาน มี่
潘祕
 
 
บุตรสาว
(ไม่ปรากฏชื่อ)
 
 
 
 
 
บุตรสาว
(ไม่ปรากฏชื่อ)
 
 
หง จือ
弘咨
 
 
 
 
 
 
เล่าปี่
(หลิว เป้ย์)
劉備
เหี้ยนเต๊ก
(เสฺวียนเต๋อ)
玄德
 
 
 
ซุนฮูหยิน
(ซุนชื่อ)
孫氏
 
 
 
 
 
 
 

ในนิยายสามก๊ก[แก้]

ในวัฒนธรรมร่วมสมัย[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. อู๋ลู่บันทึกว่าซุนเกี๋ยนเสียชีวิตขณะอายุ 37 ปี (ตามการนับอายุแบบเอเชียตะวันออก) ในปี ค.ศ. 191[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. (吳錄曰:堅時年三十七。) อรรถาธิบายจากอู๋ลู่ในจดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 46.
  2. de Crespigny (2007), p. 769.
  3. de Crespigny (2004), p. 72.
  4. de Crespigny (2004), p. 73.