เล่าเจี้ยง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เล่าเจี้ยง (หลิว จาง)
劉璋
ภาพวาดเล่าเจี้ยงในยุคราชวงศ์ชิง
ขุนพลกระตุ้นพลานุภาพ
(振威將軍 เจิ้นเวย์เจียงจฺวิน)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ป. 214 (ป. 214) – ค.ศ. ป. 220 (ป. 220)
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
เจ้ามณฑลเอ๊กจิ๋ว (益州牧 อี้โจวมู่)
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. ป. 194 (ป. 194) – ค.ศ. 214 (214)
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
ก่อนหน้าเล่าเอี๋ยน
ถัดไปเล่าปี่
ข้าหลวงมณฑลเอ๊กจิ๋ว (益州刺史 อี้โจวชื่อฉือ)
ดำรงตำแหน่ง
ป. ค.ศ. 194
กษัตริย์พระเจ้าเหี้ยนเต้
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดไม่ทราบ
นครเฉียงเจียง มณฑลหูเป่ย์
เสียชีวิตป. ค.ศ. 220[a]
บุตร
บุพการี
ญาติงอซี (พี่สะใภ้)
บังยี่ (ญาติจากการแต่งงาน)[b]
อาชีพขุนนาง, ขุนศึก
ชื่อรองจี้ยฺวี่ (季玉)

เล่าเจี้ยง (มีบทบาทในช่วง ค.ศ. 190-219) มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า หลิว จาง (จีน: 劉璋; พินอิน: Liú Zhāng) ชื่อรอง จี้ยฺวี่ (จีน: 季玉; พินอิน: Jìyù) เป็นขุนนางและขุนศึกผู้ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้ามณฑลในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของจีน เล่าเจี้ยงขึ้นเป็นเจ้ามณฑลเอ๊กจิ๋ว (ครอบคลุมพื้นที่ของมณฑลเสฉวนและนครฉงชิ่งในปัจจุบัน) สืบต่อจากเล่าเอี๋ยนผู้เป็นบิดา และปกครองภูมิภาคกระทั่งถึงปี ค.ศ. 214 เมื่อเล่าเจี้ยอมจำนนต่อเล่าปี่ หกปีต่อมาเล่าเจี้ยงยอมสวามิภักดิ์ต่อง่อก๊กและเสียชีวิตหลังจากนั้นไม่นาน เล่าเจี้ยงมักถูกมองว่าเป็นผู้นำที่ไร้ความสามารถ แต่ก็ถือว่าเป็นเจ้านายดั้งเดิมของขุนนางและขุนนางที่มีชื่อเสียงบางส่วนของจ๊กก๊ก เช่น หวดเจ้ง เบ้งตัด เตียวหงี เล่าป๋า อุยก๋วน งออี้ ลิเงียม ตั๋งโห เป็นต้น

ประวัติช่วงต้น[แก้]

ปกครองมณฑลเอ๊กจิ๋ว[แก้]

ประวัติช่วงปลาย[แก้]

ครอบครัว[แก้]

การประเมินทางประวัติศาสตร์[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. กวนอูถูกสังหารในเดือนมกราคมหรือกุมภาพันธ์ ค.ศ. 220 เนื่องจากเล่าเจี้ยงเสียชีวิตหลังจากเหตุการณ์นี้ไม่นาน เล่าเจี้ยงจึงน่าจะเสียชีวิตในปี ค.ศ. 220
  2. บุตรสาวของบังยี่แต่งงานกับเล่าชุน บุตรชายคนโตของเล่าเจี้ยง [1]

อ้างอิง[แก้]

  1. (璋长子循妻,庞羲女也。) จดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 31

บรรณานุกรม[แก้]