ผลต่างระหว่างรุ่นของ "น้ำมันรำข้าว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แปลจากวิกีอังกฤษ+บทความเดิม
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รวมมา|รำสกัดน้ำมัน}}
{{กล่องข้อมูล น้ำมัน
| name = น้ำมันรำข้าว
{{ต้องการอ้างอิง}}
| image = Rice bran oil.jpg
'''น้ำมันรำข้าว''' คือ [[น้ำมันพืช]]ที่ผลิตจากน้ำมันรำข้าวดิบ ซึ่งสกัดจาก[[รำข้าว]] มี[[สารต้านอนุมูลอิสระ]] เช่น [[วิตามินอี]] ในกลุ่มโทโคฟีรอลประมาณ 19-40% และกลุ่มโทโคไตรอีนอล 51-81% และโอรีซานอล (Oryzanol) ซึ่งสามารถต้าน[[อนุมูลอิสระ]]ได้ดีกว่าวิตามินอีถึง 6 เท่า มี[[กรดไขมันอิ่มตัว]] 18% กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว (Monounsaturated Fatty Acid : MUFA) 45% กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน (Polyunsaturated Fatty Acid : PUFA) 37% น้ำมันรำข้าวเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลด[[คอเลสเตอรอล]]ที่ไม่ดี (LDL-Cholesterol)
| imagesize = 140px
| fatcomposition = y
| sat = 25%<br>Myristic: 0.6%<br>[[กรดปาล์มิติก]]: 21.5%<br>Stearic acid: 2.9%
| unsat = 75%
| monoun = 38%
| Oleic = 38%
| polyun = 37%
| o3 = [[กรดลิโนเลนิกอัลฟา]]: 2.2%
| o6 = [[กรดลิโนเลอิก]]: 34.4%
| properties = y
| sapon = 180-190
| acid = 1.2
| unsapon = 3-5
| iodine = 99-108
|energy_per_100g={{convert |3700|kJ|kcal | abbr = on}}
| smoke = {{convert |232|°C|°F | abbr = on}}
}}
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
น้ำมันรำข้าว, น้ำมันเปลือกข้าว, น้ำมันแกลบข้าว, โอรีซานอล
Rice bran oil, oryzanol,
-->
'''น้ำมันรำข้าว''' ({{lang-en |rice bran oil}}) เป็น[[น้ำมันพืช]]ที่สกัดมาจากเปลือกแข็ง[[สีน้ำตาล]]นอกของ[[ข้าว]] คือ แกลบ/รำข้าว
มีจุดก่อควัน (อุณหภูมิต่ำสุดที่ไขมันจะเกินควันสีน้ำเงินอย่างต่อเนื่องซึ่งในที่สุดก็จะมองเห็นได้) สูง คือ {{convert |232|°C|°F}}
มีรสอ่อน ๆ เหมาะใช้ทำอาหารที่[[อุณหภูมิ]]สูง เช่น ด้วย[[การผัด]]หรือทอด และยังเหมาะทำน้ำสลัดและขนมอบอีกด้วย<ref name=astv />
เป็น[[น้ำมันประกอบอาหาร]]ที่นิยมในประเทศ[[เอเชีย]]บางประเทศรวมทั้ง[[บังกลาเทศ]] [[ญี่ปุ่น]] [[อินเดีย]] และ[[จีน]]<ref name= "baileys">{{cite book | title = Bailey's Industrial Oil and Fat Products | last = Orthoefer | first = F. T. | edition = 6 | volume = 2 | editor1-first = F. | editor1-last = Shahidi | year = 2005 | publisher = John Wiley & Sons, Inc. | isbn = 978-0-471-38552-3 | page = 465 | chapter = Chapter 10: Rice Bran Oil | url = https://books.google.com/books?id=wG-0QgAACAAJ | accessdate = 2012-03-01}}</ref>


น้ำมันรำข้าวอาจมีประโยชน์ต่อสุขภาพโดยปรับปรุงรูปแบบ[[ลิพิด]]/[[คอเลสเตอรอล]]ในเลือด (จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลด[[คอเลสเตอรอล]]แบบ [[ไลโพโปรตีนหนาแน่นต่ำ|LDL]]) บรรเทาอาการเนื่องด้วยวัยหมดระดู และอาจลดการดูดซึม[[แคลเซียม]]ซึ่งอาจลดการเกิด[[นิ่วไต]]บางประเภท
== ประโยชน์ ==
มี[[สารต้านอนุมูลอิสระ]]หลัก ๆ สองอย่างคือ[[วิตามินอี]]และโอรีซานอล (oryzanol) ซึ่งสามารถต้าน[[อนุมูลอิสระ]]ได้ดีกว่าวิตามินอีถึง 6 เท่า<ref name=astv>{{cite web | date = 2009-02-06 | title = เราจะเลือกน้ำมันอะไรดีในการปรุงอาหาร | url = https://web.facebook.com/Haru.Hara.Hiso/posts/848238798562626:0?_rdc=1&_rdr | publisher = ASTV/ผู้จัดการออนไลน์ | accessdate = 2019-01-05 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20190105003050/https://www.facebook.com/Haru.Hara.Hiso/posts/848238798562626:0?_rdc=2&_rdr | archivedate = 2019-01-05 | deadurl = no }}</ref>
ประโยชน์นานาชนิด ซึ่งมีอยู่ในเยื่อหุ้ม[[เมล็ดข้าว]] (Seed Membrane Layer) และ[[จมูกข้าว]] (Rice Germ) จึงอุดมด้วยสารสำคัญทางธรรมชาติ และมีคุณค่าสูงต่อร่างกายหลายชนิด เช่น
มี[[กรดไขมันอิ่มตัว]] 25% [[กรดไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว]] 38% และ[[กรดไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่]] 37%


== การใช้ ==
* '''กลุ่มสารฟอสโฟไลฟิด''' (Phospholipids) เช่น เลซิติน (Lecithin) เซฟฟาลิน (Cephalin) ไลโซเลซิติน (Lysolecithin) ซึ่งมีความสำคัญในการนำไปสร้าง และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของเซลล์ประสาทสมอง และช่วยป้องกันเซลล์ประสาท จากสารที่เป็นพิษและอนุมูลอิสระต่างๆ ช่วยลดความเครียด และช่วยเสริมสร้างในด้านความจำ
น้ำมันรำข้าวใช้ทานและใช้ทำเนยพืชใส (ghee) ได้
* '''กลุ่มเซราไมด์''' (Ceramide) ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของชั้นใต้ผิวหนัง ช่วยทำให้ผิวหนังมีความยืดหยุ่น การเสริมสร้างเซราไมด์ให้เพียงพอ ทั้งโดยการรับประทานหรือการให้ทางผิวหนังในรูปการทาครีม หรือโลชัน จะช่วยรักษาผิวพรรณให้สดใสเปล่งปลั่ง ปราศจากริ้วรอยย่นก่อนเวลาอันควร นอกจากนี้เซราไมด์ยังมีคุณสมบัติเป็นไวท์เทนเนอร์ (Whitener) ซึ่งสามารถยับยั้งการสังเคราะห์เมลานิน อันเป็นสาเหตุให้เกิดฝ้า กระ จุดด่างดำบนผิวพรรณได้ดี และยังเป็นมอยเจอไรเซอร์ (Moisturizer) ให้ความชุ่มชื่นแก่ผิวอีกด้วย
ขี้ผึ้งรำข้าวที่ทำจากน้ำมันสามารถใช้แทนขี้ผึ้งคานอบา/ขี้ผึ้งบราซิล/ขี้ผึ้งปาล์มเพื่อทำเครื่องสำอาง ทำขนมหวาน/ลูกกวาด และทำสารประกอบขัดเงา
'''กลุ่มโทคอล''' (Tocols) วิตามินอีธรรมชาติ ในรูปของโทโคเฟอรอล(Tocopherol) และโทโคไทรอีนอล (Tocotrienol) มีประโยชน์ต่อร่างกายในการสร้าง และซ่อมแซมเซลล์ต่างๆ ของร่างกายและยังช่วยทำให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่อโรคต่างๆช่วยต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นเหตุสำคัญของการเกิดโรคมะเร็ง
* '''กลุ่มกรดไขมันไลโนเลอิค''' (Linoleic Acid) หรือโอเมก้า 6 และ '''กรดไลโนเลนิค''' (Linolenic Acid) หรือโอเมก้า 3 ที่เป็นกรดไขมันจำเป็น โดยมีอยู่ประมาณ 33%
* '''กลุ่มวิตามิน B - Complex''' ซึ่งช่วยให้การทำงานของระบบประสาทดีขึ้น
* '''กลุ่มแกมมา - ออไรซานอล''' มีฤทธิ์ในการลดระดับคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ทำให้ลดการตีบตันของหลอดเลือด เพิ่มการไหลเวียนของโลหิต และยังมีฤทธิ์ในการลดความเครียด และรักษาอาการผิดปกติของสตรีวัยทอง นอกจากนี้ยังเป็นสารอนุมูลอิสระ และยังป้องกันแสงยูวีได้ เมื่อใช้กินหรือใช้ทา ทำให้ผิวหนังชุ่มชื่นและต้านการอักเสบ


== องค์ประกอบ ==
น้ำมันรำข้าวมีองค์ประกอบคล้ายกับน้ำมันถั่วลิสง
คือมี[[กรดไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว]] 38% [[กรดไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่]] 37% และ[[กรดไขมันอิ่มตัว]] 25%
องค์ประกอบกรดไขมันรวมทั้ง<ref name="baileys"/>

{| class="wikitable"
! กรดไขมัน !! อัตราร้อยละ
|-
| C14:0 Myristic acid || align = "right" | 0.6%
|-
| C16:0 [[กรดปาล์มิติก]] || align = "right" | 21.5%
|-
| C18:0 Stearic acid || align = "right" | 2.9%
|-
| C18:1 [[กรดโอเลอิก]] (เป็นกรดไขมันโอเมกา-9 อย่างหนึ่ง) || align = "right" | 38.4%
|-
| C18:2 [[กรดลิโนเลอิก]] (เป็นกรดไขมันโอเมกา-6 อย่างหนึ่ง) || align = "right" | 34.4%
|-
| C18:3 [[กรดลิโนเลนิกอัลฟา]] (เป็น[[กรดไขมันโอเมกา-3]] อย่างหนึ่ง) || align = "right" | 2.2%
|}

{| class="wikitable"
|-style = "background:orange; color:blue" align="center"
|+คุณสมบัติของน้ำมันรำข้าวทั้งดิบและกลั่น<ref>SEA HandBook-2009, By The Solvent Extractors'Association of India</ref><ref>{{cite web | title = What is Rice Bran Oil? | url = http://www.riceactive.com/?page_id=203 | publisher = AP Refinery | accessdate = 2018-12-26 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20180712125642/http://www.riceactive.com/?page_id=203 | archivedate = 2018-07-12 | deadurl = no}}</ref>
|-
| คุณสมบัติ||ดิบ||กลั่น
|-
|ความชื้น||0.5-1.0%||0.1-0.15%
|-
|[[ความหนาแน่น]] (15-15&nbsp;°C) ||0.913-0.920 ||0.913-0.920
|-
|[[ดรรชนีหักเห]] ||1.4672 ||1.4672
|-
|Iodine value<!--*** footnote begins ***-->{{Efn-ua |
ในสาขา[[เคมี]] '''iodine value''' หรือ '''iodine adsorption value''' หรือ '''iodine number''' หรือ '''iodine index''' เป็นมวลของ[[ไอโอดีน]]มีหน่วยเป็น[[กรัม]]ที่หมดไปเนื่องกับ[[ปฏิกิริยาเคมี|การทำปฏิกิริยากับสารเคมี]] 100 กรัม เป็นค่าที่มักใช้ระบุความไม่อิ่มตัวของ[[กรดไขมัน]] ค่ายิ่งสูงเท่าไร กรดไขมันก็ไม่อิ่มตัวยิ่งขึ้นเท่านั้น
}}<!--*** footnote ends ***--> ||85-100 ||95-104
|-
|Saponification value<!--*** footnote begins ***-->{{Efn-ua |
'''Saponification value''' หรือ '''saponification number''' หรือ '''Koettstorfer number''' หรือ '''sap''' เป็นจำนวน[[โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์]]มีหน่วยเป็น[[มิลลิกรัม]]ที่จำเป็นเพื่อทำไขมัน 1 กรัมให้เป็น[[สบู่]]ภายใต้ภาวะโดยเฉพาะ ๆ
มันเป็นตัววัด[[มวลโมเลกุล]]เฉลี่ย (หรือความยาวโซ่เฉลี่ย) ของกรดไขมันทั้งหมดที่มี
}}<!--*** footnote ends ***--> ||187 ||187
|-
|ส่วนที่ไม่กลายเป็นสบู่ <br />(Unsaponifiable matter) ||4.5-5.5 ||1.8-2.5
|-
|กรดไขมันอิสระ ||5-15% ||0.15-0.2%
|-
|[[#ประโยชน์ต่อสุขภาพ|โอรีซานอล]] ||2.0 ||1.5-1.8
|-
|[[โทโคฟีรอล]] ||0.15 ||0.05
|-
|สี (Tintometer) ||20Y+2.8R ||10Y+1.0R
|}

{{องค์ประกอบทางไขมันของอาหารต่าง ๆ}}
{{การเปรียบเทียบน้ำมันประกอบอาหาร}}
== ประโยชน์ต่อสุขภาพ ==
น้ำมันมีองค์ประกอบเป็น[[สารต้านอนุมูลอิสระ]]คือโอรีซานอลแบบแกมมา (γ-oryzanol) ที่ประมาณ 2%
แม้จะเชื่อว่าเป็นสารประกอบเพียงอย่างเดียวเมื่อแยกได้ในเบื้องต้น แต่ปัจจุบันรู้ว่าเป็นสารผสมคือ [[เอสเทอร์]] sterol บวกกับเอสเทอร์ triterpene ของกรดเฟรูลิก (ferulic acid)<ref name="baileys"/>
มีอัตราส่วนค่อนข้างสูงของ[[โทโคฟีรอล]]และ tocotrienol รวมกันเป็น[[วิตามินอี]]
และยังมี phytosterol อื่น ๆ มากด้วย

โอรีซานอลแบบแกมมา ({{zh | s = 谷维素}}) แบบสกัดยังมีขายในประเทศจีนโดยเป็นยาที่ซื้อได้เอง<ref>{{cite web | title = National Drug Standard for 谷维素片 / Oryzanol Tablets (DRAFT) | url = http://www.chp.org.cn/upload/sites/chp/resource/2014b/2015030608361130431.pdf | publisher = 国家食品药品监督管理总局 | accessdate = 2018-07-29 | archiveurl = https://web.archive.org/web/20180729070641/http://www.chp.org.cn/upload/sites/chp/resource/2014b/2015030608361130431.pdf | archivedate = 2018-07-29}}</ref>
และในประเทศอื่นโดยเป็น[[อาหารเสริม]]

=== ประโยชน์ ===
{{ต้องการอ้างอิง-ส่วน}}
ประโยชน์มีอยู่ในเยื่อหุ้มเมล็ดข้าวและจมูกข้าวที่อุดมด้วยสารสำคัญทางธรรมชาติ จึงมีคุณค่าสูงหลายชนิดต่อร่างกาย เช่น
* '''กลุ่มสาร[[ฟอสโฟลิพิด]]''' เช่น เลซิติน (lecithin) เซฟฟาลิน (cephalin) ไลโซเลซิติน (lysolecithin) ซึ่งสำคัญในการสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของ[[เซลล์ประสาท]]สมอง และช่วยป้องกันเซลล์ประสาทจากสารที่เป็นพิษและ[[อนุมูลอิสระ]]ต่างๆ ช่วยลด[[ความเครียด (จิตวิทยา)|ความเครียด]] และช่วยเสริมสร้าง[[ความจำ]]
* '''กลุ่มเซราไมด์''' (ceramide) ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของชั้นใต้[[ผิวหนัง]] ช่วยทำให้ผิวหนังยืดหยุ่น เซราไมด์ที่ได้เพียงพอ จากการรับประทานหรือการทาผิวหนังด้วยครีมหรือโลชัน จะช่วยรักษาผิวพรรณให้สดใสเปล่งปลั่ง ปราศจากริ้วรอยย่นก่อนเวลาอันควร เซราไมด์ยังมีคุณสมบัติเป็นไวท์เทนเนอร์ (whitener) ซึ่งสามารถยับยั้งการสังเคราะห์[[เมลานิน]] อันเป็นสาเหตุให้เกิด[[ฝ้า]] [[กระ]] จุดด่างดำบนผิวพรรณได้ดี และยังเป็นสารให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว (moisturizer) อีกด้วย
* '''กลุ่มโทคอล''' (tocols) เป็นวิตามินอีธรรมชาติ ในรูปของ[[โทโคฟีรอล]] (tocopherol) และโทโคไทรอีนอล (tocotrienol) มีประโยชน์ช่วยสร้างและซ่อมแซม[[เซลล์]]ต่างๆ ของร่างกาย และยังช่วยเสริม[[ภูมิคุ้มกัน]]ต้านโรคต่าง ๆ ช่วยต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นเหตุสำคัญของ[[มะเร็ง]]
* '''กลุ่ม[[กรดไขมันลิโนเลอิก]]''' (linoleic Acid) ซึ่งเป็นส่วนของกลุ่ม[[กรดไขมันโอเมกา-6]] และ '''[[กรดลิโนเลนิกอัลฟา]]''' (linolenic acid) ซึ่งเป็นส่วนของกลุ่ม[[กรดไขมันโอเมกา-3]] ที่เป็นกรดไขมันจำเป็น
* '''กลุ่มวิตามินบีคอมเพล็กซ์''' ซึ่งช่วย[[ระบบประสาท]]ทำงานดีขึ้น
* '''กลุ่มโอรีซานอลแบบแกมมา''' มีฤทธิ์ลดระดับคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ลดการตีบตันของหลอดเลือด เพิ่ม[[การไหลเวียนของเลือด]] มีฤทธิ์ลดความเครียด และรักษาอาการผิดปกติของสตรีวัยทอง นอกจากนี้ยังเป็นสารอนุมูลอิสระ ป้องกันแสงยูวีได้เมื่อใช้กินหรือใช้ทา ทำให้ผิวหนังชุ่มชื่นและต้าน[[การอักเสบ]]

=== ปรับคอเลสเตอรอล ===
[[งานทบทวนวรรณกรรม]]แสดงว่า น้ำมันรำข้าวและองค์ประกอบที่มีฤทธิ์ต่าง ๆ ปรับปรุง[[คอเลสเตอรอล]]ในเลือด โดยลดคอเลสเตอรอลรวมกับ[[ไตรกลีเซอไรด์]] และเพิ่มอัตราส่วนของคอเลสเตอรอลแบบ [[ไลโพโปรตีนหนาแน่นสูง|HDL]]<ref name="cicerogaddi">{{cite journal | url = http://www.findarticles.com/p/articles/mi_m0FDN/is_5_6/ai_80490897 | title = Rice bran oil and gamma-oryzanol in the treatment of hyperlipoproteinaemias and other conditions | author1 = A.F. Cicero | author2 = A. Gaddi | journal = Phytother Res | year = 2001 | volume = 15 | pages = 277-286 | accessdate = 2006-10-09 | doi = 10.1002/ptr.907 | pmid = 11406848 | issue = 4 }}</ref>
งานศึกษาใน[[สัตว์]]<ref>{{cite journal | last1 = Minhajuddin | first1 = M | last2 = Beg | first2 = ZH | last3 = Iqbal | first3 = J | year = 2005 | title = Hypolipidemic and antioxidant properties of tocotrienol rich fraction isolated from rice bran oil in experimentally induced hyperlipidemic rats | journal = Food and Chemical Toxicology | volume = 43 | issue = 5 | pages = 747-53 | doi = 10.1016/j.fct.2005.01.015}}</ref>
แสดงว่า คอเลสเตอรอลรวมจะลด 42% และคอเลสเตอรอลแบบ [[ไลโพโปรตีนหนาแน่นต่ำ|LDL]] จะลด 62% เมื่อให้ทานอาหารเสริมเป็นวิตามินอีที่ได้จากน้ำมันรำข้าว

=== บรรเทาอาการวัยหมดระดู ===
งานศึกษาขนาดเล็กในเรื่องโอรีซานอลแบบแกมมา (γ-oryzanol) ซึ่งเป็นส่วนผสมของน้ำมันรำข้าวพบว่า หญิง 90% จะบรรเทาอาการร้อนวูบ (hot flashes) ในช่วงวัยหมดระดูเมื่อทานสารสกัดบริสุทธิ์เข้มข้นเป็นเวลา {{nowrap |4-6 สัปดาห์}}<ref>{{cite journal | title = gamma-oryzanol on climacteric disturbance | pmid = 7061906 | year = 1982 | last1 = Ishihara | first1 = M | last2 = Ito | first2 = Y | last3 = Nakakita | first3 = T | last4 = Maehama | first4 = T | last5 = Hieda | first5 = S | last6 = Yamamoto | first6 = K | last7 = Ueno | first7 = N | volume = 34 | issue = 2 | pages = 243-51 | journal = Nihon Sanka Fujinka Gakkai zasshi}}</ref>

=== ความเสถียรของสารต้านอนุมูลอิสระ ===
โอรีซานอลในน้ำมันรำข้าวที่ใส่ใน[[กระทะ]]จะคงยืนเท่ากันโดยประมาณแม้เมื่อให้ความร้อนถึง 180&nbsp;˚C เป็นเวลา 8 ชม. แต่การอุ่นด้วย[[เตาอบไมโครเวฟ]]ที่อุณหภูมิเดียวกันปรากฏกว่าลดปริมาณโอรีซานอล<ref>{{cite journal | url = http://www.ijfans.com/vol1issue1/ijfans_vol1_issue1_article13.pdf | format = [[PDF]] | title = COMPARATIVE ANALYSIS OF HEAT DEGRADATION OF ORYZANOL IN RICE BRAN OIL, MUSTARD OIL AND SUNFLOWER OIL BY MICROWAVE AND PAN HEATING | last = Paul | first = A. | author2 = Masih, D., Masih, J., Malik, P. | journal = International Journal of Food and Nutritional Sciences | volume = 1 | number = 1 | year = 2012 | pages = 110-117 }}</ref>

=== ดูดซึมแคลเซียม ===
น้ำมันรำข้าวอาจลดคอเลสเตอรอลเพราะมีสารลดการดูดซึมคอเลสเตอรอลและเพิ่มการกำจัดคอเลสเตอรอล
อนึ่ง สารอย่างหนึ่งในน้ำมันอาจลดการดูดซึม[[แคลเซียม]]
ซึ่งอาจช่วยลดการเกิด[[นิ่วไต]]บางประเภท<ref>{{cite web | title = Find a Vitamin or Supplement: Rice Bran | url = http://www.webmd.com/vitamins-supplements/ingredientmono-852-rice%20bran.aspx?activeingredientid=852&activeingredientname=rice%20bran | publisher = WebMD | archiveurl = https://web.archive.org/web/20161017023208/http://www.webmd.com/vitamins-supplements/ingredientmono-852-rice%20bran.aspx?activeingredientid=852&activeingredientname=rice%20bran | archivedate = 2016-10-17 | deadurl = yes}}</ref>

=== ลดการดื้ออินซูลิน (insulin resistance) ===
ในหนู การได้รับข้าวกล้องที่เริ่มงอกแล้วและสารสกัดโอรีซานอลเมื่อยู่ในครรภ์พบว่า ลดการดื้ออินซูลิน (insulin resistance) เนื่องกับอาหารไขมันสูง<ref>{{cite journal | url = https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5251246/pdf/12906_2017_Article_1571.pdf | title = In utero exposure to germinated brown rice and its oryzanol-rich extract attenuated high fat diet-induced insulin resistance in F1 generation of rats | last = Hadiza | first = Altine . | author2 = Mustapha Umar Imam, Der-Jiun Ooi, Norhaizan Mohd Esa, Rozita Rosli | journal = BMC Complementary and Alternative Medicine | volume = 17 | year = 2017 | pages = 67 | pmc = 5251246 | pmid = 28109299 | doi = 10.1186/s12906-017-1571-0 }}</ref>

== เชิงอรรถ ==
{{notelist | group = upper-alpha |30em}}

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง |30em}}

{{ไขมันและน้ำมัน}}
[[หมวดหมู่:น้ำมันพืช]]
[[หมวดหมู่:น้ำมันพืช]]
[[หมวดหมู่:น้ำมันประกอบอาหาร]]
[[หมวดหมู่:ข้าว]]
[[en:Rice bran oil]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:02, 5 มกราคม 2562

น้ำมันรำข้าว
ไฟล์:Rice bran oil.jpg
องค์ประกอบไขมัน
ไขมันอิ่มตัว
ไขมันอิ่มตัวทั้งหมด25%
Myristic: 0.6%
กรดปาล์มิติก: 21.5%
Stearic acid: 2.9%
ไขมันไม่อิ่มตัว
ไขมันไม่อิ่มตัวทั้งหมด75%
Monounsaturated38%
กรดโอเลอิก38%
Polyunsaturated37%
กรดไขมันโอเมกา-3กรดลิโนเลนิกอัลฟา: 2.2%
กรดไขมันโอเมกา-6กรดลิโนเลอิก: 34.4%
คุณสมบัติ
พลังงานต่อ 100 ก.3,700 kJ (880 kcal)
จุดก่อควัน
(Smoke point)
232 °C (450 °F)
Iodine value99-108
Acid value1.2
Saponification value180-190
Unsaponifiable3-5

น้ำมันรำข้าว (อังกฤษ: rice bran oil) เป็นน้ำมันพืชที่สกัดมาจากเปลือกแข็งสีน้ำตาลนอกของข้าว คือ แกลบ/รำข้าว มีจุดก่อควัน (อุณหภูมิต่ำสุดที่ไขมันจะเกินควันสีน้ำเงินอย่างต่อเนื่องซึ่งในที่สุดก็จะมองเห็นได้) สูง คือ 232 องศาเซลเซียส (450 องศาฟาเรนไฮต์) มีรสอ่อน ๆ เหมาะใช้ทำอาหารที่อุณหภูมิสูง เช่น ด้วยการผัดหรือทอด และยังเหมาะทำน้ำสลัดและขนมอบอีกด้วย[1] เป็นน้ำมันประกอบอาหารที่นิยมในประเทศเอเชียบางประเทศรวมทั้งบังกลาเทศ ญี่ปุ่น อินเดีย และจีน[2]

น้ำมันรำข้าวอาจมีประโยชน์ต่อสุขภาพโดยปรับปรุงรูปแบบลิพิด/คอเลสเตอรอลในเลือด (จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการลดคอเลสเตอรอลแบบ LDL) บรรเทาอาการเนื่องด้วยวัยหมดระดู และอาจลดการดูดซึมแคลเซียมซึ่งอาจลดการเกิดนิ่วไตบางประเภท มีสารต้านอนุมูลอิสระหลัก ๆ สองอย่างคือวิตามินอีและโอรีซานอล (oryzanol) ซึ่งสามารถต้านอนุมูลอิสระได้ดีกว่าวิตามินอีถึง 6 เท่า[1] มีกรดไขมันอิ่มตัว 25% กรดไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว 38% และกรดไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ 37%

การใช้

น้ำมันรำข้าวใช้ทานและใช้ทำเนยพืชใส (ghee) ได้ ขี้ผึ้งรำข้าวที่ทำจากน้ำมันสามารถใช้แทนขี้ผึ้งคานอบา/ขี้ผึ้งบราซิล/ขี้ผึ้งปาล์มเพื่อทำเครื่องสำอาง ทำขนมหวาน/ลูกกวาด และทำสารประกอบขัดเงา

องค์ประกอบ

น้ำมันรำข้าวมีองค์ประกอบคล้ายกับน้ำมันถั่วลิสง คือมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว 38% กรดไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ 37% และกรดไขมันอิ่มตัว 25% องค์ประกอบกรดไขมันรวมทั้ง[2]

กรดไขมัน อัตราร้อยละ
C14:0 Myristic acid 0.6%
C16:0 กรดปาล์มิติก 21.5%
C18:0 Stearic acid 2.9%
C18:1 กรดโอเลอิก (เป็นกรดไขมันโอเมกา-9 อย่างหนึ่ง) 38.4%
C18:2 กรดลิโนเลอิก (เป็นกรดไขมันโอเมกา-6 อย่างหนึ่ง) 34.4%
C18:3 กรดลิโนเลนิกอัลฟา (เป็นกรดไขมันโอเมกา-3 อย่างหนึ่ง) 2.2%
คุณสมบัติของน้ำมันรำข้าวทั้งดิบและกลั่น[3][4]
คุณสมบัติ ดิบ กลั่น
ความชื้น 0.5-1.0% 0.1-0.15%
ความหนาแน่น (15-15 °C) 0.913-0.920 0.913-0.920
ดรรชนีหักเห 1.4672 1.4672
Iodine value[A] 85-100 95-104
Saponification value[B] 187 187
ส่วนที่ไม่กลายเป็นสบู่
(Unsaponifiable matter)
4.5-5.5 1.8-2.5
กรดไขมันอิสระ 5-15% 0.15-0.2%
โอรีซานอล 2.0 1.5-1.8
โทโคฟีรอล 0.15 0.05
สี (Tintometer) 20Y+2.8R 10Y+1.0R
องค์ประกอบไขมันของอาหารต่าง ๆ
อาหาร ไขมันอิ่มตัว ไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว ไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่
เป็นเปอร์เซ็นต์ (%) ของน้ำหนักไขมันทั้งหมด
น้ำมันประกอบอาหาร
น้ำมันคาโนลา 08 64 28
น้ำมันมะพร้าว 87 13 00
น้ำมันข้าวโพด 13 24 59
น้ำมันเมล็ดฝ้าย[5] 27 19 54
น้ำมันมะกอก[6] 14 73 11
Palm kernel oil[5] 86 12 02
น้ำมันปาล์ม[5] 51 39 10
น้ำมันถั่วลิสง[7] 17 46 32
น้ำมันรำข้าว 25 38 37
น้ำมันเมล็ดคำฝอยมีกรดโอเลอิกสูง[8] 06 75 14
น้ำมันเมล็ดคำฝอยเป็นกรดลิโนเลอิก[5][9] 06 14 75
น้ำมันถั่วเหลือง 15 24 58
น้ำมันเมล็ดทานตะวัน[10] 11 20 69
Mustard oil 11 59 21
ผลิตภัณฑ์นม
ไขมันเนย[5] 66 30 04
ชีสธรรมดา 64 29 03
ชีสไขมันน้อย 60 30 00
ไอศกรีมพิเศษ (gourmet) 62 29 04
ไอศกรีมไขมันน้อย 62 29 04
นมไม่พร่องส่วนผสม 62 28 04
นม 2% 62 30 00
*Whipping cream[11] 66 26 05
เนื้อสัตว์
เนื้อวัว 33 38 05
เนื้อสันนอกบด 38 44 04
Pork chop 35 44 08
แฮม 35 49 16
อกไก่ 29 34 21
ไก่ 34 23 30
อกไก่งวง 30 20 30
ขาไก่งวง 32 22 30
ปลา orange roughy 23 15 46
ปลาแซลมอน 28 33 28
ฮอตดอกเนื้อ 42 48 05
ฮอตดอกไก่งวง 28 40 22
แฮมเบอร์เกอร์ อาหารจานด่วน 36 44 06
ชีสเบอร์เกอร์ อาหารจานด่วน 43 40 07
แซนด์วิชไก่โรยเศษขนมปัง 20 39 32
แซนด์วิชไก่ย่าง 26 42 20
ไส้กรอกโปแลนด์ 37 46 11
ไส้กรอกไก่งวง 28 40 22
พิซซาหน้าไส้กรอก 41 32 20
ชีสพิซซ่า 60 28 05
เมล็ดถั่ว
อัลมอนด์คั่วแห้ง 09 65 21
มะม่วงหิมพานต์คั่วแห้ง 20 59 17
แมคาเดเมียคั่วแห้ง 15 79 02
ถั่วลิสงคั่วแห้ง 14 50 31
พีแคนคั่วแห้ง 08 62 25
Flaxseeds บด 08 23 65
เมล็ดงา 14 38 44
ถั่วเหลือง 14 22 57
เมล็ดทานตะวัน 11 19 66
วอลนัตคั่วแห้ง 09 23 63
ของหวานและของอบ
ช็อกโกแลตแท่ง 59 33 03
Candy, fruit chews 14 44 38
คุกกี้ข้าวโอ๊ตแลละลูกเกด 22 47 27
คุกกี้ช็อกโกแลตชิ๊พ 35 42 18
yellow cake 60 25 10
ขนมเดนนิช 50 31 14
ไขมันเติมใส่ในอาหาร
เนย 63 29 03
เนยวิ๊ป 62 29 04
เนยเทียมก้อน 18 39 39
เนยเทียมกล่อง 16 33 49
เนยเทียมกล่องไขมันน้อย 19 46 33
น้ำมันหมู 39 45 11
Shortening 25 45 26
ไขมันไก่ 30 45 21
ไขมันเนื้อ 41 43 03
ไขมันห่าน[12] 33 55 11
น้ำสลัดบลูชีส 16 54 25
น้ำสลัดอิตาเลียนไขมันน้อย 14 24 58
อื่น ๆ
ไขมันไข่แดง[13] 36 44 16
อาโวคาโด[14] 16 71 13
ถ้าไม่ได้กำหนดในตาราง แหล่งอ้างอิงก็คือ[15]
* เป็นไขมันทรานส์ 3%
คุณสมบัติเปรียบเทียบของน้ำมันประกอบอาหาร (ต่อ 100 ก.)
ประเภทไขมัน ไขมันทั้งหมด (ก.) ไขมันอิ่มตัว (ก.) ไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว (ก.) ไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ (g) จุดก่อควัน
น้ำมันดอกทานตะวัน 100 11 20 69 225 องศาเซลเซียส (437 องศาฟาเรนไฮต์)[16]
น้ำมันดอกทานตะวัน (กรดโอเลอิกสูง) 100 12 84[17] 4[17]
น้ำมันถั่วเหลือง 100 16 23 58 257 องศาเซลเซียส (495 องศาฟาเรนไฮต์)[16]
น้ำมันคาโนลา 100 7 63 28 205 องศาเซลเซียส (401 องศาฟาเรนไฮต์)[17][18]
น้ำมันมะกอก 100 14 73 11 190 องศาเซลเซียส (374 องศาฟาเรนไฮต์)[16]
น้ำมันข้าวโพด 100 15 30 55 230 องศาเซลเซียส (446 องศาฟาเรนไฮต์)[16]
น้ำมันถั่วลิสง 100 17 46 32 225 องศาเซลเซียส (437 องศาฟาเรนไฮต์)[16]
น้ำมันรำข้าว 100 25 38 37 250 องศาเซลเซียส (482 องศาฟาเรนไฮต์)[19]
เนยขาว (น้ำมันพืชเติมไฮโดรเจน) 71 23 8 37 165 องศาเซลเซียส (329 องศาฟาเรนไฮต์)[16]
มันหมู 100 39 45 11 190 องศาเซลเซียส (374 องศาฟาเรนไฮต์)[16]
Suet (มันแข็งริมไตสัตว์) 94 52 32 3 200 องศาเซลเซียส (392 องศาฟาเรนไฮต์)
เนย 81 51 21 3 150 องศาเซลเซียส (302 องศาฟาเรนไฮต์)[16]
น้ำมันมะพร้าว 100 86 6 2 177 องศาเซลเซียส (351 องศาฟาเรนไฮต์)

ประโยชน์ต่อสุขภาพ

น้ำมันมีองค์ประกอบเป็นสารต้านอนุมูลอิสระคือโอรีซานอลแบบแกมมา (γ-oryzanol) ที่ประมาณ 2% แม้จะเชื่อว่าเป็นสารประกอบเพียงอย่างเดียวเมื่อแยกได้ในเบื้องต้น แต่ปัจจุบันรู้ว่าเป็นสารผสมคือ เอสเทอร์ sterol บวกกับเอสเทอร์ triterpene ของกรดเฟรูลิก (ferulic acid)[2] มีอัตราส่วนค่อนข้างสูงของโทโคฟีรอลและ tocotrienol รวมกันเป็นวิตามินอี และยังมี phytosterol อื่น ๆ มากด้วย

โอรีซานอลแบบแกมมา (จีน: 谷维素) แบบสกัดยังมีขายในประเทศจีนโดยเป็นยาที่ซื้อได้เอง[20] และในประเทศอื่นโดยเป็นอาหารเสริม

ประโยชน์

ประโยชน์มีอยู่ในเยื่อหุ้มเมล็ดข้าวและจมูกข้าวที่อุดมด้วยสารสำคัญทางธรรมชาติ จึงมีคุณค่าสูงหลายชนิดต่อร่างกาย เช่น

  • กลุ่มสารฟอสโฟลิพิด เช่น เลซิติน (lecithin) เซฟฟาลิน (cephalin) ไลโซเลซิติน (lysolecithin) ซึ่งสำคัญในการสร้างและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของเซลล์ประสาทสมอง และช่วยป้องกันเซลล์ประสาทจากสารที่เป็นพิษและอนุมูลอิสระต่างๆ ช่วยลดความเครียด และช่วยเสริมสร้างความจำ
  • กลุ่มเซราไมด์ (ceramide) ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของชั้นใต้ผิวหนัง ช่วยทำให้ผิวหนังยืดหยุ่น เซราไมด์ที่ได้เพียงพอ จากการรับประทานหรือการทาผิวหนังด้วยครีมหรือโลชัน จะช่วยรักษาผิวพรรณให้สดใสเปล่งปลั่ง ปราศจากริ้วรอยย่นก่อนเวลาอันควร เซราไมด์ยังมีคุณสมบัติเป็นไวท์เทนเนอร์ (whitener) ซึ่งสามารถยับยั้งการสังเคราะห์เมลานิน อันเป็นสาเหตุให้เกิดฝ้า กระ จุดด่างดำบนผิวพรรณได้ดี และยังเป็นสารให้ความชุ่มชื่นแก่ผิว (moisturizer) อีกด้วย
  • กลุ่มโทคอล (tocols) เป็นวิตามินอีธรรมชาติ ในรูปของโทโคฟีรอล (tocopherol) และโทโคไทรอีนอล (tocotrienol) มีประโยชน์ช่วยสร้างและซ่อมแซมเซลล์ต่างๆ ของร่างกาย และยังช่วยเสริมภูมิคุ้มกันต้านโรคต่าง ๆ ช่วยต้านอนุมูลอิสระซึ่งเป็นเหตุสำคัญของมะเร็ง
  • กลุ่มกรดไขมันลิโนเลอิก (linoleic Acid) ซึ่งเป็นส่วนของกลุ่มกรดไขมันโอเมกา-6 และ กรดลิโนเลนิกอัลฟา (linolenic acid) ซึ่งเป็นส่วนของกลุ่มกรดไขมันโอเมกา-3 ที่เป็นกรดไขมันจำเป็น
  • กลุ่มวิตามินบีคอมเพล็กซ์ ซึ่งช่วยระบบประสาททำงานดีขึ้น
  • กลุ่มโอรีซานอลแบบแกมมา มีฤทธิ์ลดระดับคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ ลดการตีบตันของหลอดเลือด เพิ่มการไหลเวียนของเลือด มีฤทธิ์ลดความเครียด และรักษาอาการผิดปกติของสตรีวัยทอง นอกจากนี้ยังเป็นสารอนุมูลอิสระ ป้องกันแสงยูวีได้เมื่อใช้กินหรือใช้ทา ทำให้ผิวหนังชุ่มชื่นและต้านการอักเสบ

ปรับคอเลสเตอรอล

งานทบทวนวรรณกรรมแสดงว่า น้ำมันรำข้าวและองค์ประกอบที่มีฤทธิ์ต่าง ๆ ปรับปรุงคอเลสเตอรอลในเลือด โดยลดคอเลสเตอรอลรวมกับไตรกลีเซอไรด์ และเพิ่มอัตราส่วนของคอเลสเตอรอลแบบ HDL[21] งานศึกษาในสัตว์[22] แสดงว่า คอเลสเตอรอลรวมจะลด 42% และคอเลสเตอรอลแบบ LDL จะลด 62% เมื่อให้ทานอาหารเสริมเป็นวิตามินอีที่ได้จากน้ำมันรำข้าว

บรรเทาอาการวัยหมดระดู

งานศึกษาขนาดเล็กในเรื่องโอรีซานอลแบบแกมมา (γ-oryzanol) ซึ่งเป็นส่วนผสมของน้ำมันรำข้าวพบว่า หญิง 90% จะบรรเทาอาการร้อนวูบ (hot flashes) ในช่วงวัยหมดระดูเมื่อทานสารสกัดบริสุทธิ์เข้มข้นเป็นเวลา 4-6 สัปดาห์[23]

ความเสถียรของสารต้านอนุมูลอิสระ

โอรีซานอลในน้ำมันรำข้าวที่ใส่ในกระทะจะคงยืนเท่ากันโดยประมาณแม้เมื่อให้ความร้อนถึง 180 ˚C เป็นเวลา 8 ชม. แต่การอุ่นด้วยเตาอบไมโครเวฟที่อุณหภูมิเดียวกันปรากฏกว่าลดปริมาณโอรีซานอล[24]

ดูดซึมแคลเซียม

น้ำมันรำข้าวอาจลดคอเลสเตอรอลเพราะมีสารลดการดูดซึมคอเลสเตอรอลและเพิ่มการกำจัดคอเลสเตอรอล อนึ่ง สารอย่างหนึ่งในน้ำมันอาจลดการดูดซึมแคลเซียม ซึ่งอาจช่วยลดการเกิดนิ่วไตบางประเภท[25]

ลดการดื้ออินซูลิน (insulin resistance)

ในหนู การได้รับข้าวกล้องที่เริ่มงอกแล้วและสารสกัดโอรีซานอลเมื่อยู่ในครรภ์พบว่า ลดการดื้ออินซูลิน (insulin resistance) เนื่องกับอาหารไขมันสูง[26]

เชิงอรรถ

  1. ในสาขาเคมี iodine value หรือ iodine adsorption value หรือ iodine number หรือ iodine index เป็นมวลของไอโอดีนมีหน่วยเป็นกรัมที่หมดไปเนื่องกับการทำปฏิกิริยากับสารเคมี 100 กรัม เป็นค่าที่มักใช้ระบุความไม่อิ่มตัวของกรดไขมัน ค่ายิ่งสูงเท่าไร กรดไขมันก็ไม่อิ่มตัวยิ่งขึ้นเท่านั้น
  2. Saponification value หรือ saponification number หรือ Koettstorfer number หรือ sap เป็นจำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์มีหน่วยเป็นมิลลิกรัมที่จำเป็นเพื่อทำไขมัน 1 กรัมให้เป็นสบู่ภายใต้ภาวะโดยเฉพาะ ๆ มันเป็นตัววัดมวลโมเลกุลเฉลี่ย (หรือความยาวโซ่เฉลี่ย) ของกรดไขมันทั้งหมดที่มี

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "เราจะเลือกน้ำมันอะไรดีในการปรุงอาหาร". ASTV/ผู้จัดการออนไลน์. 2009-02-06. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-05. สืบค้นเมื่อ 2019-01-05. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. 2.0 2.1 2.2 Orthoefer, F. T. (2005). "Chapter 10: Rice Bran Oil". ใน Shahidi, F. (บ.ก.). Bailey's Industrial Oil and Fat Products. Vol. 2 (6 ed.). John Wiley & Sons, Inc. p. 465. ISBN 978-0-471-38552-3. สืบค้นเมื่อ 2012-03-01.
  3. SEA HandBook-2009, By The Solvent Extractors'Association of India
  4. "What is Rice Bran Oil?". AP Refinery. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-12. สืบค้นเมื่อ 2018-12-26. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 Anderson. "Fatty acid composition of fats and oils" (PDF). UCCS. สืบค้นเมื่อ April 8, 2017.
  6. "NDL/FNIC Food Composition Database Home Page". Nal.usda.gov. สืบค้นเมื่อ May 21, 2013.
  7. USDA → Basic Report: 04042, Oil, peanut, salad or cooking Retrieved on January 16, 2015
  8. nutritiondata.com → Oil, vegetable safflower, oleic Retrieved on April 10, 2017
  9. nutritiondata.com → Oil, vegetable safflower, linoleic Retrieved on April 10, 2017
  10. nutritiondata.com → Oil, vegetable, sunflower Retrieved on September 27, 2010
  11. USDA Basic Report Cream, fluid, heavy whipping
  12. "Nutrition And Health". The Goose Fat Information Service.
  13. nutritiondata.com → Egg, yolk, raw, fresh Retrieved on August 24, 2009
  14. "09038, Avocados, raw, California". National Nutrient Database for Standard Reference, Release 26. United States Department of Agriculture, Agricultural Research Service. สืบค้นเมื่อ 14 August 2014.
  15. "Feinberg School > Nutrition > Nutrition Fact Sheet: Lipids". Northwestern University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-20.
  16. 16.0 16.1 16.2 16.3 16.4 16.5 16.6 16.7 The Culinary Institute of America (2011). The Professional Chef (9th ed.). Hoboken, New Jersey: John Wiley & Sons. ISBN 978-0-470-42135-2. OCLC 707248142.
  17. 17.0 17.1 17.2 "Nutrient database, Release 25". United States Department of Agriculture.
  18. Katragadda, H. R.; Fullana, A. S.; Sidhu, S.; Carbonell-Barrachina, Á. A. (2010). "Emissions of volatile aldehydes from heated cooking oils". Food Chemistry. 120: 59. doi:10.1016/j.foodchem.2009.09.070.
  19. "Rice Bran Oil FAQ's". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-14. สืบค้นเมื่อ 2020-05-12.
  20. "National Drug Standard for 谷维素片 / Oryzanol Tablets (DRAFT)" (PDF). 国家食品药品监督管理总局. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-07-29. สืบค้นเมื่อ 2018-07-29.
  21. A.F. Cicero; A. Gaddi (2001). "Rice bran oil and gamma-oryzanol in the treatment of hyperlipoproteinaemias and other conditions". Phytother Res. 15 (4): 277–286. doi:10.1002/ptr.907. PMID 11406848. สืบค้นเมื่อ 2006-10-09.
  22. Minhajuddin, M; Beg, ZH; Iqbal, J (2005). "Hypolipidemic and antioxidant properties of tocotrienol rich fraction isolated from rice bran oil in experimentally induced hyperlipidemic rats". Food and Chemical Toxicology. 43 (5): 747–53. doi:10.1016/j.fct.2005.01.015.
  23. Ishihara, M; Ito, Y; Nakakita, T; Maehama, T; Hieda, S; Yamamoto, K; Ueno, N (1982). "gamma-oryzanol on climacteric disturbance". Nihon Sanka Fujinka Gakkai zasshi. 34 (2): 243–51. PMID 7061906.
  24. Paul, A.; Masih, D., Masih, J., Malik, P. (2012). "COMPARATIVE ANALYSIS OF HEAT DEGRADATION OF ORYZANOL IN RICE BRAN OIL, MUSTARD OIL AND SUNFLOWER OIL BY MICROWAVE AND PAN HEATING" (PDF). International Journal of Food and Nutritional Sciences. 1 (1): 110–117.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  25. "Find a Vitamin or Supplement: Rice Bran". WebMD. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-17. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  26. Hadiza, Altine .; Mustapha Umar Imam, Der-Jiun Ooi, Norhaizan Mohd Esa, Rozita Rosli (2017). "In utero exposure to germinated brown rice and its oryzanol-rich extract attenuated high fat diet-induced insulin resistance in F1 generation of rats" (PDF). BMC Complementary and Alternative Medicine. 17: 67. doi:10.1186/s12906-017-1571-0. PMC 5251246. PMID 28109299.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)