วัว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วัว
สถานะการอนุรักษ์
สัตว์เลี้ยงหรือปศุสัตว์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
อาณาจักร: สัตว์
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
ชั้น: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
อันดับ: สัตว์กีบคู่
วงศ์: วงศ์วัวและควาย
วงศ์ย่อย: วงศ์ย่อยวัวและควาย
สกุล: Bos
Linnaeus, 1758
สปีชีส์: Bos taurus
ชื่อทวินาม
Bos taurus
Linnaeus, 1758
การกระจายพันธุ์ของวัว
ชื่อพ้อง
  • Bos primigenius taurus
  • Bos longifrons

วัว หรือ โค เป็นสัตว์มีกีบเท้าที่เป็นสัตว์เลี้ยงขนาดใหญ่และเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เป็นสมาชิกสมัยใหม่ที่โดดเด่นในวงศ์ย่อย Bovinae เป็นชนิดที่แพร่หลายที่สุดในสกุล Bos และถูกจำแนกเป็นกลุ่มอย่างกว้างขวางที่สุดว่า Bos primigenius วัวถูกเลี้ยงเป็นปศุสัตว์เพื่อเอาเนื้อ เพื่อเอานมและผลิตภัณฑ์นมอื่น ๆ และเป็นสัตว์ลากเทียม ผลิตภัณฑ์อื่นจากวัวมีหนังและมูลเพื่อใช้เป็นปุ๋ยคอกหรือเชื้อเพลิง ในบางประเทศ เช่น อินเดีย วัวเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ จากบรรพบุรุษวัวที่เป็นสัตว์เลี้ยงเพียง 80 ตัว ในอานาโตเลียตอนกลาง, ลิแวนต์ และอิหร่านตะวันตกเมื่อราว 10,500 ปีก่อน[1] องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติรายงานว่ามีวัวบนโลกประมาณ 1.5 พันล้านตัวใน ค.ศ. 2018[2] วัวเป็นแหล่งต้นกำเนิดหลักของการปล่อยแก๊สเรือนกระจกจากปศุสัตว์ และมีส่วนในการปล่อยแก๊สเรือนกระจกทั่วโลกประมาณ 10%[3][4] ใน ค.ศ. 2009 วัวเป็นปศุสัตว์ชนิดแรกที่มีการทำแผนที่จีโนมอย่างสมบูรณ์[5]

อ้างอิง[แก้]

  1. Bollongino, R.; Burger, J.; Powell, A.; Mashkour, M.; Vigne, J.-D.; Thomas, M. G. (2012). "Modern taurine cattle descended from small number of Near-Eastern founders". Molecular Biology and Evolution. 29 (9): 2101–2104. doi:10.1093/molbev/mss092. PMID 22422765. Op. cit. in Wilkins, Alasdair (28 March 2012). "DNA reveals that cows were almost impossible to domesticate". io9. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2012. สืบค้นเมื่อ 2 April 2012.
  2. "Live Animals". FAO. Food and Agriculture Organization of the United Nations. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 August 2020. สืบค้นเมื่อ 31 August 2020.
  3. "FAO – News Article: Key facts and findings". www.fao.org (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-01. สืบค้นเมื่อ 2021-06-04.
  4. "Treating beef like coal would make a big dent in greenhouse-gas emissions". The Economist. 2021-10-02. ISSN 0013-0613. สืบค้นเมื่อ 2021-11-03.
  5. Brown, David (23 April 2009). "Scientists Unravel Genome of the Cow". The Washington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 June 2011. สืบค้นเมื่อ 23 April 2009.

อ่านเพิ่ม[แก้]