ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมชลประทาน (ประเทศไทย)"

พิกัด: 13°53′47″N 100°30′24″E / 13.89646°N 100.50663°E / 13.89646; 100.50663
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 60: บรรทัด 60:
| หัวหน้า5_ชื่อ = ณรงค์ ลีนานนท์
| หัวหน้า5_ชื่อ = ณรงค์ ลีนานนท์
| หัวหน้า5_ตำแหน่ง = รองอธิบดี
| หัวหน้า5_ตำแหน่ง = รองอธิบดี
| หัวหน้า6_ชื่อ = บุญสนอง สุชาติพงศ์
| หัวหน้า6_ชื่อ = ว่าง
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง = ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านวางแผนและโครงการ)
| หัวหน้า6_ตำแหน่ง = ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านวางแผนและโครงการ)
| หัวหน้า7_ชื่อ = ว่าง
| หัวหน้า7_ชื่อ = โสภณ ธรรมรักษา
| หัวหน้า7_ตำแหน่ง = ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านควบคุมการก่อสร้าง)
| หัวหน้า7_ตำแหน่ง = ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านควบคุมการก่อสร้าง)
| หัวหน้า8_ชื่อ = ว่าง
| หัวหน้า8_ชื่อ = ว่าง

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:15, 29 มกราคม 2559

กรมชลประทาน
Royal Irrigation Department
ไฟล์:Rid logo2.jpg
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง13 มิถุนายน พ.ศ. 2445
สำนักงานใหญ่811 ถนนสามเสน แขวงนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300
งบประมาณประจำปี43,054.7635 ล้านบาท (พ.ศ. 2558)[1]
ฝ่ายบริหารหน่วยงาน
  • สุเทพ น้อยไพโรจน์[2], อธิบดี
  • ว่าง, รองอธิบดี
  • สัญชัย เกตุวรชัย, รองอธิบดี
  • ว่าที่ร้อยตรี ไพเจน มากสุวรรณ์, รองอธิบดี
  • ณรงค์ ลีนานนท์, รองอธิบดี
  • ว่าง, ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านวางแผนและโครงการ)
  • โสภณ ธรรมรักษา, ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านควบคุมการก่อสร้าง)
  • ว่าง, ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมโยธา(ด้านสำรวจและหรือออกแบบ)
  • สาธิต มณีผาย, ที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมชลประทาน (ด้านบำรุงรักษา)
เว็บไซต์http://www.rid.go.th

กรมชลประทาน เป็นหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่จัดให้ได้มาซึ่งน้ำเพื่อกักเก็บรักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือ แบ่งน้ำเพื่อการเกษตร การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม และหมายรวมถึงการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ กับการคมนาคมทางน้ำซึ่งอยู่ในเขตชลประทาน

ประวัติ

งานชลประทานในประเทศไทยเริ่มขึ้นอย่างจริงจังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการขุดลอกคลอง และขุดคลองขึ้นใหม่ในบริเวณที่ราบภาคกลางจำนวนมาก ดำเนินการโดยเอกชน คือบริษัทขุดคลองแลคูนาสยาม (Siam Canals, Lands and Irrigation Company) ได้รับพระบรมราชานุญาตเมื่อ พ.ศ. 2431 เริ่มขุดคลองเมื่อ พ.ศ. 2433 มีระยะเวลาดำเนินการ ตามสัมปทาน 25 ปี

ใน พ.ศ. 2445 ได้ว่าจ้างนายเย โฮมัน วันเดอร์ ไฮเด วิศวกรชลประทานชาวฮอลันดา มาดำเนินงานชลประทานประเทศไทย และทรงแต่งตั้งให้ นายเย โฮมัน เข้ารับราชการ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2445 พร้อมทั้งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง "กรมคลอง" และทรงแต่งตั้งนาย เย โฮมัน เป็นเจ้ากรมคลองคนแรก เพื่อทำหน้าที่ดูแลทำนุบำรุงคลองต่างๆ ไม่ให้ตื้นเขิน

ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง "กรมทดน้ำ" ขึ้นแทนกรมคลอง เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2457 และทรงแต่งตั้ง นายอาร์ ซี อาร์ วิล สัน เป็นเจ้ากรมทดน้ำ

จนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดำริว่า หน้าที่ของกรมทดน้ำมิได้ปฏิบัติงานอยู่เฉพาะแต่การทดน้ำเพียงอย่างเดียว งานที่กรมทดน้ำปฏิบัติอยู่จริงในขณะนั้นมีทั้งการขุดคลอง การทดน้ำ รวมทั้งการส่งน้ำตามคลองต่างๆ อีกทั้งการสูบน้ำเพื่อช่วยเหลือการเพาะปลูก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อจาก กรมทดน้ำ เป็น กรมชลประทาน เมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2470 โดยให้มีหน้าที่รับผิดชอบงานการขุดคลอง การทดน้ำ การส่งน้ำ และการสูบน้ำช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกอย่างทั่วถึง

อำนาจและหน้าที่

  1. เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาแหล่งน้ำตามศักยภาพของลุ่มน้ำให้เพียงพอ
  2. จัดการน้ำให้กับผู้ใช้น้ำทุกประเภทอย่างทั่วถึง เป็นธรรม และยั่งยืน
  3. เสริมสร้างให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อให้การและบริหารจัดการน้ำ ทุกระดับอย่างบูรณาการ
  4. ดำเนินการป้องกันและบรรเทาภัยทางน้ำ

หน่วยงานในสังกัด

โครงสร้างและหน่วยงานในสังกัดกรมชลประทาน แบ่งส่วนราชการตาม พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดังนี้

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เล่ม 131 ตอนที่ 69ก วันที่ 30 กันยายน 2557
  2. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/293/1.PDF

แหล่งข้อมูลอื่น

  • กรมชลประทาน
  • จักรกริช สังข์มณี, "ชลกร: ประวัติศาสตร์สังคมว่าด้วยความรู้และการจัดการน้ำสมัยใหม่ในประเทศไทย," วารสารสังคมศาสตร์ (คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ) ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555), หน้า 93-115.
  • แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ กรมชลประทาน (ประเทศไทย)

13°53′47″N 100°30′24″E / 13.89646°N 100.50663°E / 13.89646; 100.50663