ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การสะพานปลา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 79: บรรทัด 79:


องค์การสะพาน มีอำนาจจัดตั้งสะพานปลา โดยการอนุมัติจาก[[คณะรัฐมนตรี]] และประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] ปัจจุบันมีสะพานในความดูแลขององค์การสะพานปลา จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ สะพานปลากรุงเทพ สะพานปลาสมุทรปราการ สะพานปลาสมุทรสาคร และสะพานปลานครศรีธรรมราช<ref>[http://www.fishmarket.co.th/index.php/about-organize/site-list-all/11.html ทำเนียบสะพานปลาในประเทศไทย]</ref>
องค์การสะพาน มีอำนาจจัดตั้งสะพานปลา โดยการอนุมัติจาก[[คณะรัฐมนตรี]] และประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] ปัจจุบันมีสะพานในความดูแลขององค์การสะพานปลา จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ สะพานปลากรุงเทพ สะพานปลาสมุทรปราการ สะพานปลาสมุทรสาคร และสะพานปลานครศรีธรรมราช<ref>[http://www.fishmarket.co.th/index.php/about-organize/site-list-all/11.html ทำเนียบสะพานปลาในประเทศไทย]</ref>

== การดำเนินงาน ==
องค์การสะพานปลา เป็นรัฐวิสาหกิจที่มีรายได้จากการจำหน่ายสัตว์น้ำ น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับชาวประมง และค่าบริการ ค่าธรรมเนียมต่างๆ โดยรายได้ส่วนใหญ่มากจากค่าบริการ ค่าธรรมเนียม (95.2 ล้านบาท) และการจำหน่ายสินค้าสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์แปรรูป (92.1 ล้านบาท) รวมมูลค่ารายได้ในปี พ.ศ. 2553 จำนวน 320 ล้านบาท แต่องค์การสะพานปลา มีรายจ่ายประจำในการบริหารและการดำเนินงานกว่า 174 ล้านบาท รวมแล้วในปี พ.ศ. 2553 มีกำไรสุทธิจำนวน 1.18 ล้านบาท<ref>[http://www.sepo.go.th/2011-06-15-07-00-43/category/1086-2553/76.htm รายงานของผู้สอบบัยชีและงบการเงิน]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:14, 22 มีนาคม 2555

องค์การสะพานปลา
Fish Marketing Organization
ภาพรวมหน่วยงาน
ก่อตั้ง20 มกราคม พ.ศ. 2496
สำนักงานใหญ่211 ถนนเจริญกรุง 58 แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร
ต้นสังกัดหน่วยงานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เว็บไซต์http://www.fishmarket.co.th

องค์การสะพานปลา (อังกฤษ: Fish Marketing Organization) เป็นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2496 ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบกิจการแพปลา พ.ศ. 2496 เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับสะพานปลา ตลาดสินค้าสัตว์น้ำ และอุตสาหกรรมประมง โดยในระยะแรกได้รับโอนกิจการแพปลา ของกรมการประมง มาจัดตั้งเป็นนิติบุคคล[1]

องค์การสะพาน มีอำนาจจัดตั้งสะพานปลา โดยการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี และประกาศในราชกิจจานุเบกษา ปัจจุบันมีสะพานในความดูแลขององค์การสะพานปลา จำนวน 4 แห่ง ได้แก่ สะพานปลากรุงเทพ สะพานปลาสมุทรปราการ สะพานปลาสมุทรสาคร และสะพานปลานครศรีธรรมราช[2]

การดำเนินงาน

องค์การสะพานปลา เป็นรัฐวิสาหกิจที่มีรายได้จากการจำหน่ายสัตว์น้ำ น้ำมันเชื้อเพลิงสำหรับชาวประมง และค่าบริการ ค่าธรรมเนียมต่างๆ โดยรายได้ส่วนใหญ่มากจากค่าบริการ ค่าธรรมเนียม (95.2 ล้านบาท) และการจำหน่ายสินค้าสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์แปรรูป (92.1 ล้านบาท) รวมมูลค่ารายได้ในปี พ.ศ. 2553 จำนวน 320 ล้านบาท แต่องค์การสะพานปลา มีรายจ่ายประจำในการบริหารและการดำเนินงานกว่า 174 ล้านบาท รวมแล้วในปี พ.ศ. 2553 มีกำไรสุทธิจำนวน 1.18 ล้านบาท[3]

อ้างอิง