บุคลาธิษฐานของชาติ
บุคลาธิษฐานของชาติ (อังกฤษ: National Personification) เป็นรูปบุคลาธิษฐาน (Personification) แบบมานุษยรูป (Anthropomorphic) ของชาติหรือประชากรของชาติหนึ่ง อาจพบได้ในการ์ตูนล้อการเมืองและโฆษณาชวนเชื่อ เนื่องจากเป็นบุคลธิษฐานจึงไม่ใช้บุคคลที่มีตัวตนอยู่จริงซึ่งต่างกันกับลักษณะของบิดาแห่งชาติ (Father of a Nation) หรือาจนำมาจากประวัติศาสตร์โบราณซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบุคคลที่มีตัวตนอยู่จริงในประวัติศาสตร์ก็ได้
บุคลาธิษฐานยุคแรกเริ่มในโลกตะวันตกมีแนวโน้มที่จะเป็นการสำแดง (Manifesation) ของภูมิปัญญาอันเกรียงไกร (majestic wisdom) และเทพีแห่งการสงคราม (เช่น มิเนอร์วา, อะธีนา) และมักมาจากชื่อละตินของจังหวัดโรมันโบราณของชาตินั้น ๆ เช่น บริทานเนีย (Britannia), เจอร์มาเนีย (Germania), ไฮเบอร์เนีย (Hibernia), เฮลเวทิกา (Helvetia) และ พอลอเนีย (Polonia) ตัวอย่างของบุคลาธิษฐานของเทพีแห่งเสรีภาพ (Goddess of Liberty) เช่น มารีอาน (Marianne), เทพีเสรีภาพ (สันติภาพจงส่องแสงให้กับโลก; Liberty Enlightening the World) และตัวอย่างอื่น ๆ ในการผลิตเหรียญกษาปน์ของสหรัฐอเมริกา รูปแบบโบราณอื่น ๆ เช่น โรมา (Roma) เทพีรูปบุคลาธิษฐานของกรุงโรม และรัฐโรมันในขนาดกว้าง และถูกนำมาชุบชีวิตใหม่เป็นบุคลาธิษฐานของจักรวรรดิโรมันใหม่ (New Roman Empire) ของเบนิโต มุสโสลินี ส่วนตัวอย่างของการแสดงภาพเป็นเอฟรีแมน (Everyman) หรือความเป็นพลเมืองนอกเหนือไปจากความเป็นชาตินั้น เช่น ลุงแซม, จอห์น บูลล์ (John Bull) และ ดอยเชอร์ มีเชล (Deutscher Michel)[1]
บุคลาธิษฐานแบ่งตามประเทศหรือเขตการปกครอง
[แก้]ดูเพิ่ม
[แก้]- Afghanis-tan มังงะดั้งเดิมเป็นเว็ฐคอมิกเกี่ยวกับเอเชียกลางและประเทศในรูปบุคลาธิษฐาน
- โปแลนด์บอลล์ บุคลาธิษฐานออนไลน์ในลักษณะการ์ตูนและอินเทอร์เน็ตมีม
- พลังอักษะ เฮตาเลีย อนิเมะเกี่ยวกับประเทศในรูปบุคคล ส่วนมากเกี่ยวกับสงครามโลก
- Mural crown
- สัตว์ประจำชาติ
- ตราแผ่นดิน
- เทพเจ้าประจำชาติ
- นักบุญผู้ช่วยเหลือประจำชาติ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Eric Hobsbawm, "Mass-Producing Traditions: Europe, 1870-1914," in Eric Hobsbawm and Terence Ranger, eds., The Invention of Tradition (Cambridge, 1983), 263-307.
- ↑ Ahmed, Salahuddin (2004). Bangladesh: Past and Present. APH Publishing. p. 310. ISBN 8176484695. สืบค้นเมื่อ July 11, 2012.
- ↑ "NATIONAL SYMBOLS". Bangladesh Tourism Board. Bangladesh: Ministry of Civil Aviation & Tourism. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-28. สืบค้นเมื่อ 2015-09-10.
- ↑ McGill, Robert (2017). War Is Here: The Vietnam War and Canadian Literature. McGill-Queen's Press. p. 37. ISBN 9780773551589. สืบค้นเมื่อ 17 May 2019.
- ↑ Barber, Katherine (2007). Only in Canada You Say: A Treasury of Canadian Language. Oxford University Press Canada. p. 70. ISBN 9780195427073.
- ↑ O'Rourke Murphy, M. & MacKillop, J. (2006). An Irish Literature Reader: Poetry, Prose, Drama.
- ↑ Liok Ee Tan (1988). The Rhetoric of Bangsa and Minzu. Monash Asia Institute. p. 14. ISBN 978-0-86746-909-7.
- ↑ Melanie Chew (1999). The Presidential Notes: A biography of President Yusof bin Ishak. Singapore: SNP Publications. p. 78. ISBN 978-981-4032-48-3.
- ↑ Minahan, James B. (2009). The Complete Guide to National Symbols and Emblems. Greenwood. p. 101. ISBN 978-0313344961.
- ↑ https://teara.govt.nz/en/photograph/32532/south-african-war-memorial-waimate
- ↑ "A Manifesto from the Provisional Government of Macedonia". 1881.
Our mother Macedonia became now as a widow, lonely and deserted by her sons. She does not fly the banner of the victorious Macedonian army
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ Bulgarian graphic representation of Bulgaria, East Rumelia and North Macedonia
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-14. สืบค้นเมื่อ 2016-03-30.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
แม่แบบ:National personifications แม่แบบ:National symbols แม่แบบ:Personal names