บุคลาธิษฐาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตุ๊กตาเซรามิคแสดงถึงบุคลาธิษฐานของสตรีสี่ทวีปใหญ่ของโลก ได้แก่ เอเชีย ยุโรป แอฟริกา และอเมริกา สมบัติของพิพิธภัณฑ์สถาบันสมิธโซเนียน นครนิวยอร์ก

บุคลาธิษฐาน (อังกฤษ: Personification) คือการกล่าวถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีความคิด ไม่มีวิญญาณ หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์โดยให้สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ ให้มีคุณลักษณะต่าง ๆ เหมือนสิ่งมีชีวิตโดยใช้อุปลักษณ์เป็นรูปมานุษยรูปนิยม[1] โดยคำว่า บุคลาธิษฐาน ในภาษาไทยนั้นมาจากคำว่า บุคคล และ คำว่า อธิษฐานหมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล คำไวพจน์ของคำว่า บุคลาธิษฐาน อื่น ๆ ได้แก่ บุคคลวัต บุคคลสมมติ

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. From the poem There's a certain slant of light by Emily Dickinson. Such "simple animate metaphors" are called by some "Pseudo personification" or "secondary personification". Escobedo, Chapter 1

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]