บุคลาธิษฐานของชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก National personification)
บริทานเนียคล้องแขนกับลุงแซม เป็นสัญลักษณ์ถึงพันธมิตรอันดีระหว่างบริเตนและอเมริกาในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

บุคลาธิษฐานของชาติ (อังกฤษ: National Personification) เป็นรูปบุคลาธิษฐาน (Personification) แบบมานุษยรูป (Anthropomorphic) ของชาติหรือประชากรของชาติหนึ่ง อาจพบได้ในการ์ตูนล้อการเมืองและโฆษณาชวนเชื่อ เนื่องจากเป็นบุคลธิษฐานจึงไม่ใช้บุคคลที่มีตัวตนอยู่จริงซึ่งต่างกันกับลักษณะของบิดาแห่งชาติ (Father of a Nation) หรือาจนำมาจากประวัติศาสตร์โบราณซึ่งเชื่อกันว่าเป็นบุคคลที่มีตัวตนอยู่จริงในประวัติศาสตร์ก็ได้

บุคลาธิษฐานยุคแรกเริ่มในโลกตะวันตกมีแนวโน้มที่จะเป็นการสำแดง (Manifesation) ของภูมิปัญญาอันเกรียงไกร (majestic wisdom) และเทพีแห่งการสงคราม (เช่น มิเนอร์วา, อะธีนา) และมักมาจากชื่อละตินของจังหวัดโรมันโบราณของชาตินั้น ๆ เช่น บริทานเนีย (Britannia), เจอร์มาเนีย (Germania), ไฮเบอร์เนีย (Hibernia), เฮลเวทิกา (Helvetia) และ พอลอเนีย (Polonia) ตัวอย่างของบุคลาธิษฐานของเทพีแห่งเสรีภาพ (Goddess of Liberty) เช่น มารีอาน (Marianne), เทพีเสรีภาพ (สันติภาพจงส่องแสงให้กับโลก; Liberty Enlightening the World) และตัวอย่างอื่น ๆ ในการผลิตเหรียญกษาปน์ของสหรัฐอเมริกา รูปแบบโบราณอื่น ๆ เช่น โรมา (Roma) เทพีรูปบุคลาธิษฐานของกรุงโรม และรัฐโรมันในขนาดกว้าง และถูกนำมาชุบชีวิตใหม่เป็นบุคลาธิษฐานของจักรวรรดิโรมันใหม่ (New Roman Empire) ของเบนิโต มุสโสลินี ส่วนตัวอย่างของการแสดงภาพเป็นเอฟรีแมน (Everyman) หรือความเป็นพลเมืองนอกเหนือไปจากความเป็นชาตินั้น เช่น ลุงแซม, จอห์น บูลล์ (John Bull) และ ดอยเชอร์ มีเชล (Deutscher Michel)[1]

บุคลาธิษฐานแบ่งตามประเทศหรือเขตการปกครอง[แก้]

ประเทศ ภาพ บุคลาธิษฐาน สัตว์ที่ใช้ในลักษณะเทียบเท่า
 แอลเบเนีย มารดาอัลเบเนีย (Nëna Shqipëria)
ทวีปอเมริกา Personification of the Americas
 อาร์เจนตินา Effigy of the Republic/Liberty/Progress/Fatherland, Gaucho
 อาร์มีเนีย มารดาอาร์เมเนีย (Mayr Hayastan; lit. "Mother Hayastan")
 ออสเตรเลีย เด็กน้อยจากแมนลี (Little Boy from Manly) Boxing kangaroo
 ออสเตรีย ออสเตรีย (บุคลาธิษฐาน)
 บังกลาเทศ พังคมาตา (มารดาเบงกอล).[2] เสือโคร่งเบงกอล[3]
 เบลเยียม La Belgique หรือ Belgica. Leo Belgicus
 บราซิล Efígie da República; Bandeirante (เฉพาะในรัฐเซาเปาลู); Candango (ในบราซิเลีย); Gaúcho (ใน Rio Grande do Sul)
 บัลแกเรีย มารดาบัลแกเรีย
 กัมพูชา พระทองและนางนาค (Preah Thong and Neang Neak)
 แคนาดา Mountie,[4] Johnny Canuck,[5] Le Vieux de '37 (แคนาดาของฝรั่งเศส), Canada Bereft หรือ มารดาแคนาดา (at the Canadian National Vimy Memorial) บีเวอร์อเมริกาเหนือ
 ชิลี El Roto, El Huaso, Doña Juanita (สตรีจากชนบทชิลีแบบทั่วไป)
 จีน และ  ไต้หวัน เง็กเซียนฮ่องเต้ มังกรจีน
 โคลอมเบีย Juan Valdez
 เช็กเกีย Čechie, Czech Vašek, Svejk. สิงโตเช็คสองหาง
 เดนมาร์ก Holger Danske, Mor Danmark
 สาธารณรัฐโดมินิกัน Conchoprimo
 อียิปต์ มารดาแห่งโลก (Om El Donia)
 เอลซัลวาดอร์ Monumento al Divino Salvador del Mundo
 ยุโรป ยูโรปา หรือ ยูโรปาเรจินา (Europa regina) ซูสในร่างกระทิงขาว
 ฟินแลนด์ Finnish Maiden (Suomi-neito)
 ฝรั่งเศส มารีอาน Gallic rooster
 จอร์เจีย "Mother of a Georgian" (Kartvlis Deda)
 เยอรมนี เยอรมนี: เจอร์มาเนีย, Deutscher Michel

บาวาเรีย: บาวาเรีย, เบอร์ลิน: เบโรลินา (Berolina), บรุนสวิค: Brunonia, Franconia: Franconia, ฮัมบูร์ก: Hammonia, ปรัสเซีย: Borussia, Palatinate: Palatia, Saxony: Saxonia

Reichsadler
 กรีซ Hellas
 เฮติ Ezili Dantor, Katrin (จากวีรษบุรุษที่มีตัวตนจริงของเฮติ Catherine Flon)
 ฮังการี Lady of Hungaria
 ไอซ์แลนด์ Lady of the Mountains (Fjallkonan)
 อินเดีย ภารตมาตา (มารดาอินเดีย) เสือโคร่งอินเดีย, ช้างอินเดีย
 อินโดนีเซีย อีบูเปอร์ตีวี ครุฑปัญจศีล (Garuda Pancasila)
 อิหร่าน,  อัฟกานิสถาน and  ทาจิกิสถาน โรสตาม (Rostam)
 ไอร์แลนด์ Ériu, Banba, Fódla, Kathleen Ni Houlihan, Hibernia, The Old Woman of Beare[6]
 อิสราเอล Srulik
 อิตาลี Italia Turrita, Roma (สมัยมุสโสลินี)
 ญี่ปุ่น อามาเตราซุ, จักรพรรดิจิมมุ Green Pheasant, Koi
 คาซัคสถาน Kobylandy
 เคนยา Wanjiku
เกาหลี ( เกาหลีเหนือ และ  เกาหลีใต้) พระเจ้าทันกุน, Ungnyeo, Yangban เสือเกาหลี, Chollima
 คีร์กีซสถาน Manas
 มาเลเซีย ฮังตัวะห์ (Hang Tuah)[7][8] Malayan tiger[9]
 มอลตา Melita
 เม็กซิโก Alegoría de la Patria Mexicana (es), La China Poblana Golden eagle
 โมร็อกโก Barbary Lion
 มอนเตเนโกร Fairy of Lovćen, Mother Montenegro
 เนเธอร์แลนด์ Dutch Maiden Dutch Republic Lion
 นิวซีแลนด์ ซีแลนเดีย (Zealandia)[10] Kiwi
 มาซิโดเนียเหนือ มารดามาซีโดเนีย[11][12]
 นอร์เวย์ Mother Norway [no], stereotyp. Ola Nordmann & Kari Nordmann, hist. Nór
 ปาเลสไตน์ Handala
 เปรู Chalán, La Madre Patria
 ฟิลิปปินส์
Ináng Bayan, Filipinas, Juan dela Cruz คาราบาว
 โปแลนด์ Polonia, โปแลนด์บอลล์ (การ์ตูนเสียดสีการเมืองออนไลน์) White eagle
 โปรตุเกส Zé Povinho, Eu nacional (National Self), Republic effigy, Guardian Angel of Portugal
 โรมาเนีย โรมันยา (România)
 รัสเซีย มารดารัสเซีย/มารดามาตุภูมิ หมีรัสเซีย
 เซอร์เบีย มารดาเซอร์เบีย, Kosovo Maiden
 สิงคโปร์ เมอร์ไลออน
 สโลวาเกีย Jánošík
 สโลวีเนีย Kranjski Janez ("John from Carniola", an average man from Slovenia's central region), Peter Klepec
 สเปน ฮิสปาเนีย (Hispania)
 ศรีลังกา ศรีลังกามาตา
 ซูรินาม Mama Sranan (มารดาซุรินาม)[13]
 สวีเดน Mother Svea, Svenne Svensson
 สวิตเซอร์แลนด์ เฮลเวทิกา (Helvetia)
 ไทย พระสยามเทวาธิราช ช้างเผือก
 ตุรกี,  อาเซอร์ไบจาน,  เติร์กเมนิสถาน and  อุซเบกิสถาน Koroghlu
 ยูเครน Cossack Mamay
 สหราชอาณาจักร บริทานเนีย (สหราชอาณาจักร), จอห์น บูลล์ (ประเทศอังกฤษ), เดม เวลส์ (เวลส์) The Lion and the Unicorn (อังกฤษ และสก็อตแลนด์), บูลล์ด็อก (สหราชอาณาจักร), มังกรเวลส์ (เวลส์)
 สหรัฐ ลุงแซม (บุคลาธิษฐานรัฐบาล), เทพีเสรีภาพ, โคลัมเบีย (Columbia), จอห์นี เลเบล (Johnny Rebel - เดอะเซาธ์, ยกเลิกแล้ว), บิลลี แยงค์ (Billy Yank - เดอะนอร์ธ, ยกเลิกแล้ว), บราเธอร์โจนาธาน (Brother Jonathan - นิวอิงแลนด์, ยกเลิกแล้ว) Bald Eagle, Timber rattlesnake (ปฏิวัติอเมริกา, ยกเลิกแล้ว)
 อุรุกวัย บุคลาธิษฐานของอุรุกวัย
 เวียดนาม The Four Immortals, Hùng King

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Eric Hobsbawm, "Mass-Producing Traditions: Europe, 1870-1914," in Eric Hobsbawm and Terence Ranger, eds., The Invention of Tradition (Cambridge, 1983), 263-307.
  2. Ahmed, Salahuddin (2004). Bangladesh: Past and Present. APH Publishing. p. 310. ISBN 8176484695. สืบค้นเมื่อ July 11, 2012.
  3. "NATIONAL SYMBOLS". Bangladesh Tourism Board. Bangladesh: Ministry of Civil Aviation & Tourism. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-28. สืบค้นเมื่อ 2015-09-10.
  4. McGill, Robert (2017). War Is Here: The Vietnam War and Canadian Literature. McGill-Queen's Press. p. 37. ISBN 9780773551589. สืบค้นเมื่อ 17 May 2019.
  5. Barber, Katherine (2007). Only in Canada You Say: A Treasury of Canadian Language. Oxford University Press Canada. p. 70. ISBN 9780195427073.
  6. O'Rourke Murphy, M. & MacKillop, J. (2006). An Irish Literature Reader: Poetry, Prose, Drama.
  7. Liok Ee Tan (1988). The Rhetoric of Bangsa and Minzu. Monash Asia Institute. p. 14. ISBN 978-0-86746-909-7.
  8. Melanie Chew (1999). The Presidential Notes: A biography of President Yusof bin Ishak. Singapore: SNP Publications. p. 78. ISBN 978-981-4032-48-3.
  9. Minahan, James B. (2009). The Complete Guide to National Symbols and Emblems. Greenwood. p. 101. ISBN 978-0313344961.
  10. https://teara.govt.nz/en/photograph/32532/south-african-war-memorial-waimate
  11. "A Manifesto from the Provisional Government of Macedonia". 1881. Our mother Macedonia became now as a widow, lonely and deserted by her sons. She does not fly the banner of the victorious Macedonian army {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  12. Bulgarian graphic representation of Bulgaria, East Rumelia and North Macedonia
  13. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-14. สืบค้นเมื่อ 2016-03-30.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)

แม่แบบ:National personifications แม่แบบ:National symbols แม่แบบ:Personal names