ยาต้านรีโทรไวรัส
ยาต้านรีโทรไวรัส (อังกฤษ: Antiretroviral drugs) คือยาต้านไวรัสประเภทหนึ่ง ใช้สำหรับรักษาการติดเชื้อรีโทรไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มไวรัสเอชไอวี โดยอาศัยการรักษาร่วมโดยยาสามถึงสีชนิด โดยรู้จักว่าเป็นการักษารีโทรไวรัสที่มีประสิทธิภาพสูง (อังกฤษ: Highly Active Antiretroviral Therapy: HAART) ในหลายสถาบันสุขภาพทั่วโลกต่างแนะนำให้ใช้การรักษาด้วยยาต้านรีโทรไวรัสสำหรับผู้ป่วยโรคเอดส์ทุกคน ทั้งนี้ผู้ป่วยจำเป็นต้องบริหารยานี้อย่างเคร่งครัด เพื่อลดความรุนแรงจากอาการอันไม่พึงประสงค์ของยาและป้องกันการดื้อยา ลายองค์กรมีความพยายามให้ผู้ป่วยได้มีส่วนร่วมกับแผนการรักษาใทางเลือกต่างๆ และแนะนำให้วิเคราะห์ความเสียงและประโยชน์จาการบริหารยาเพื่อลดปริมาณไวรัสในกระแสเลือด (อังกฤษ: Viral Load)[1]
ซิโดวูดีน (อังกฤษ: Zidovudine) เป็นยาต้านรีโทรไวรัสชนิดแรกที่ได้รับการรับรองให้ใช้โดยคณะกรรมการอาหารและยา ของประเทศสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1987[2] และได้มีการพัฒนายาขนานใหม่เรื่อยมาจนแบ่งได้หลายกลุ่มในปัจจุบัน
ประวัติ
[แก้]ชนิด
[แก้]- ชนิดยับยั้งการนำเข้า (Entry inhibitors) หรือการรวมกัน (fusion inhibitors) โดยไปรบกวนการจับของเชื้อเอชไอวีวัน (HIV-1) กับ host cell โดยการขัดขวางเป้าหมาย มียาที่สำคัญในกลุ่มนี้คือ มาราไวรอค (Maraviroc) และเอ็นฟูเวอร์ไทด์ (Enfuvirtide)
- แอนตาโกนิสต์ของตัวรับซีซีอาร์ไฟฟ์ (CCR5 receptor antagonists) เป็นยาต้านรีโทรไวรัสตัวแรกที่ไม่ได้มีเป้าหมายที่ไวรัสโดยตรง โดยการจับกับตัวรับซีซีอาร์ไฟฟ์ (CCR5 receptor) บนผิวของทีเซลล์และขัดชวางการจับของไวรัสต่อเซลล์ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเชื้อเอชไอวีจะใช้ตัวรับซีซีอาร์ไฟฟ์ในการยึดเกาะเข้าจับกับทีเซลล์ ดังนั้นหากไวรัสไม่สามารถยึดเกาะได้ก็จะยังผลมาด้วยการไม่สามารถนำเข้าเซลล์ตลอดจนการรีพลิเคชันได้
- การยับยั้งเอนไซมม์นิวคลิโอไซด์รีเวิร์สทรานส์คริปเทส (Nucleoside reverse transcriptase inhibitors: NRTI) และยับยั้งนิวคลิโอไทด์ริเสิร์สทรานส์ตนิปเทส (Neucleotide Reverse transciptase inhibitors: NtRTI)
[3] Two additional inhibitors under investigation are bevirimat [4] and Vivecon.
สูตรและแนวทางการรักษา
[แก้]เภสัชบำบัด
[แก้]อาการอันไม่พึงประสงค์
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Dybul M, Fauci AS, Bartlett JG, Kaplan JE, Pau AK; Panel on Clinical Practices for Treatment of HIV (September 2002). "Guidelines for using antiretroviral agents among HIV-infected adults and adolescents". Ann. Intern. Med. 137 (5 Pt 2): 381–433. PMID 12617573.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ AIDS therapy. First tentative signs of therapeutic promise.
- ↑ Barr SD, Smiley JR, Bushman FD (2008). Hope, Thomas J. (บ.ก.). "The interferon response inhibits HIV particle production by induction of TRIM22". PLoS Pathog. 4 (2): e1000007. doi:10.1371/journal.ppat.1000007. PMC 2279259. PMID 18389079.
{{cite journal}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|month=
ถูกละเว้น (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ Panacos Pharmaceuticals. "Clinical Trial: Phase 2 Safety and Efficacy Study of Bevirimat Functional Monotherapy in HIV Treatment-Experienced Patients for 2 Weeks*". ClinicalTrials.gov. สืบค้นเมื่อ 2007-08-28.