โปเกมอน มาสเตอส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โปเกมอน มาสเตอส์
ผู้พัฒนาดีนา
ผู้จัดจำหน่ายบริษัท โปเกมอน จำกัด
อำนวยการผลิตยู ซาซากิ
ศิลปินเค็น ซุงิโมริ
แต่งเพลง
  • โชตะ คาเกยามะ
  • ฮิรูกิ ยามาดะ
ชุดโปเกมอน
เครื่องเล่นไอโอเอส, แอนดรอยด์
วางจำหน่าย29 สิงหาคม 2562
แนวผจญภัย, สวมบทบาท
รูปแบบผู้เล่นคนเดียว, เล่นแบบรวมมือกัน

โปเกมอน มาสเตอส์ (ญี่ปุ่น: ポケモンマスターズโรมาจิPokemon Masutāzu; อังกฤษ: Pokémon Masters) เป็นเกมมือถือเล่นฟรีประเภทผจญภัยสวมบทบาทที่เปิดบริการเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 2019 ภายใต้การพัฒนาโดยบริษัทดีนา และจัดจำหน่ายโดยบริษัท โปเกมอน จำกัด สำหรับมือถือพกพาในระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์และไอโอเอส[1][2] ปัจจุบันได้ปรับปรุงใหม่เป็น โปเกมอน มาสเตอส์ EX (ญี่ปุ่น: ポケモンマスターズ EXโรมาจิPokemon Masutāzu Ī Ekkusu)

ภาพรวม[แก้]

โปเกมอน มาสเตอส์ เป็นเกมที่พัฒนาโดยบริษัทดีนา และจัดจำหน่ายโดยบริษัท โปเกมอน จำกัด สำหรับมือถือพกพาในระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์และไอโอเอส

โดยตัวละครของเกมได้นำตัวละครจากเกมชุดโปเกมอนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยมีทั้งเทรนเนอร์และโปเกมอนคู่หูเป็นผู้ร่วมเดินทาง

อย่างไรก็ตามเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2020 ได้ปรับปรุงใหม่ และเปลี่ยนชื่อเป็น โปเกมอน มาสเตอส์ EX (ポケモンマスターズ EX)

ระบบการเล่น[แก้]

ซิงค์แพส์[แก้]

ซิงค์แพส์ หรือ คู่หู (ญี่ปุ่น: バディーズโรมาจิBadīzu; อังกฤษ: Sync pair) เป็นการจับคู่ระหว่างโปเกมอนเทรนเนอร์หนึ่งคนกับโปเกมอนหนึ่งตัว โดยในแต่ละซิงค์แพส์จะมีบทบาท (Role) อยู่สามบทบาทได้แก่ "สไตรก์" (Strike) เป็นบทบาทที่จะมุ่งเน้นไปยังการสร้างความเสียหายเป็นหลัก "ซัพพอร์ต" (Support) เป็นบทบาทที่จะมุงเน้นไปยังการป้องกัน, รักษาเลือด (HP), และเพิ่มค่าสเตตัส (Status) ของทั้งทีม "เทค" (Tech) เป็นบทบาทที่มุงเน้นไปยังการทำให้โปเกมอนฝ่ายตรงข้ามติดสภาวะผิดปกติต่าง ๆ เช่นติดสภาวะพิษ (Poison), สภาวะหลับ (Sleep), สภาวะไหม้ (Burn), สภาวะชา (Paralysis), สภาวะสับสน (Confusion), สภาวะแข็ง (Freeze), เป็นต้น

แบตเทิลแบบเวลาจริง[แก้]

จุดเด่นของ โปเกมอน มาสเตอส์ ที่ทำให้แตกต่างจากเกมโปเกมอนอื่น ๆ นั้นก็คือระบบการเล่นแบบ 3 ต่อ 3 ในแบบเวลาจริง (Real-time) ซึ่งเกมโปเกมอนส่วนใหญ่จะเป็นแบบทีละรอบ (Turn-based) โดยในแบบเวลาจริงนั้นผู้เล่นสามารถควบคุมโปเกมอนทั้งสามตัวได้อย่างอิสระ และใช้ท่าได้อย่างอิสระขึ้นอยู่กับเวลาคูลดาวน์และเกจ (Gauge) ที่เป็นแถบสีอยู่ด้านล่างสุดของหน้าจอ

ท่าต่าง ๆ[แก้]

แวเรียสมูฟ (いろいろなわざ, Iroirona Waza, Various Move)
ท่าที่ใช้ได้โดยไม่ต้องเสียเกจซึ่งจะเป็นไอเทมที่อยู่ในเกมโปเกมอนชุดหลักเช่น เอกซ์แอตแทก (X-Attack), เอกซ์สปีด (X-Speed), โพชัน (Potion), และอื่น ๆ อีกมากมาย
ชิงค์มูฟ (バディーズわざ, Badīzu Waza, Sync Move) เป็นท่าที่ทรงพลังซึ่งจะอยู่ตรงกลางของท่าทั้งสี่ หลังจากที่กดใช้จะมีฉากคัตซีนแอนิเมชันโผล่ขึ้นมา โดยสามารถใช้งานได้เมื่อมีการใช้ท่าต่าง ๆ ครบจำนวนที่กำหนดให้ไว้
ยูนิตีแอตแทก (イッセイコウゲキ, Issei Kougeki, Unity Attack)
ท่าผสานพลังระหว่างเพื่อนร่วมทีมที่จะมีอยู่ในโหมดเล่นแบบร่วมมือกันเท่านั้น สามารถใช้งานได้ก็ต่อเมื่อเติมยูนิตีเกจ (Unity Gauge) ให้เต็มโดยการใช้ท่าต่าง ๆ

เล่นแบบรวมมือกัน[แก้]

ผู้เล่นสามารถปลดล็อกโหมดเล่นแบบร่วมมือกัน (Co-op) ได้หลังจากผ่านเนื้อเรื่องหลักในบทที่ 11 เท่านั้น โดยหลังจากที่ปลดล็อกแล้วจะมีให้เลือกที่จะเล่นกับคนอื่นหรือกับเพื่อนในการผ่านด่านต่าง ๆ สูงสุด 3 คนเท่านั้น

โครงเรื่อง[แก้]

เวิลด์โปเกมอนมาสเตอส์ หรือ โปเกมอนมาสเตอส์ลีก[a] เป็นทัวร์นาเมนต์ที่จัดขึ้นบนเกาะเทียมปาชิโอ[b]โดยจะมีเหล่ายิมลีดเดอร์, สี่จตุรเทพ, แชมเปียน, และเทรนเนอร์ที่มีชื่อเสียงจากทุกภูมิภาคมารวมตัวกันเพื่อจัดตั้งทีมและมีส่วนร่วมในโปเกมอนแบตเทิลแบบ 3 ต่อ 3 การที่จะเข้าร่วมได้นั้นผู้เล่นและคู่หูพิคาชูจะต้องเอาชนะวีพีเอ็มลีดเดอร์เพื่อรวบรวมเหรียญตราให้ครบ 5 อัน

การพัฒนาและการเปิดตัว[แก้]

โปเกมอน มาสเตอส์ ได้ประกาศครั้งแรกโดยบริษัท โปเกมอน จำกัด ในวันที่ 29 พฤษภาคม ปี พ.ศ. 2562 พร้อมกันกับโปเกมอน สลีปและโปเกมอน โฮม[3] ซึ่งเป็นการร่วมมือครั้งแรกระหว่างบริษัทและผู้พัฒนาเกมมือถือดีนา[4] แนวคิดของเกมมาจากนักวาดและนักออกแบบเกมของเกมฟรีก เค็น ซุงิโมริ เป็นผู้เสนอความคิดที่ว่าให้มีตัวละครในอดีตทั้งหมดจากเกมชุดหลักรวมอยู่ในเกมเดียวกัน[2] เปิดให้ลงทะเบียนล่วงหน้าทั่วโลกในวันที่ 24 กรกฎาคม ปี พ.ศ. 2562[5] โดยได้เปิดให้บริการล่วงหน้าที่ประเทศสิงค์โปร์, และแคนาดาเท่านั้น[6][7] ซึ่งจะรองรับภาษาอังกฤษ, ฝรั่งเศส, เยอรมัน, อิตาลี, ญี่ปุ่น, เกาหลี, สเปน, และจีน[8] เริ่มเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการทั่วโลกเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2562[9] ยกเว้นประเทศเนเธอร์แลนด์และประเทศเบลเยียมเนื่องจากมีการแบนลูตบอกซ์ในประเทศดังกล่าว

การตอบรับ[แก้]

โปเกมอน มาสเตอส์ ได้รับการตอบรับที่ดีโดยภายใน 4 วันแรกตัวเกมมียอดดาวน์โหลดถึง 10 ล้านครั้ง และทำรายได้มากกว่า 10 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[10][11] ภายในสัปดาห์แรกตัวเกมทำรายได้เพิ่มขึ้นถึง 26 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[12]

ตัวละคร[แก้]

ตัวละครเฉพาะในเกม[แก้]

ตัวเอก (主人公)[注 1]
คิริยะ (キリヤ)
ริกกะ (リッカ)
ศาสตราจารย์ ฮินะกิคุ (ヒナギク博士)
ไรเยอร์ (ライヤー)
โดริบารุ (ドリバル)
เช็คตะ (チェッタ)
คูลตี้ (クルティ), ซาคุสะ (サクサ), โทริกะ (トリカ)
แก๊งเบรก (ブレイク団)

คู่หู[แก้]

คันโต[แก้]

ตัวละครที่เคยปรากฏตัวใน โปเกมอน เรด, กรีน, บลู พิคาชู, ไฟร์เรด และ ลีฟกรีน และ Let's Go! พิคาชู และ Let's Go! อีวุย

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
84 เรด อาโออิ โชตะ (蒼井翔太) ลิซาร์ดอน / เมก้าลิซาร์ดอน X, คาบิกอน (เคียวไดแมกซ์), พิคาชู (เคียวไดแมกซ์) (พากย์เสียงโดย โอทานิ อิคุเอะ)
76 ลีฟ โอสึโบะ ยูกะ (大坪由佳)[13] อีวุย (พากย์เสียงโดย ยูคิ อาโออิ), ฟุชิกิบานะ / เมก้าฟุชิกิบานะ
2 ทาเคชิ โทริอุมิ โคสุเกะ (鳥海浩輔)[14] อิวาร์ค, บันกีรัส
3 คาสึมิ อายาเนะ ซากุระ (佐倉綾音)[14] สตาร์มี, โคดั๊ก, ชาวเวอร์ส
4 มาทิส ทาเคโทระ (武虎)[15] บิริริดามา → มารุมายน์, ไรชู
5 เอริกะ ไอ คะยะโนะ (茅野愛衣)[14] รัฟเฟรเซีย, มอนจารา, คิววะวา, ลีเฟีย
6 คาซึระ อุโอะ เคน (魚建) โพนีตะ → แกลล็อป
7 คันนะ ฮิโตมัทสึ เซริกะ (弘松芹香)[16] ลาพลาซ
8 ชิบะ ไซโต จิโร่ (斉藤次郎) ไคริกี
9 คิคุโกะ โอโตริ โยชิโนะ (鳳芳野) เก็งกา / เมก้าเก็งกา
62 เคียว โอคาวะ โทรุ (大川透) โครแบท
77 วาตารุ โมริคาวะ โทชิยูกิ (森川智之)[17] ไคริว, เกียราดอส
65 กรีน โอซากะ เรียวตะ (逢坂良太)[14] พีเจียต / เมก้าพีเจียต, คาเม็กซ์ / เมก้าคาเม็กซ์, พเทอรา / เมก้าพเทอรา, วินดี, นัชชี
74 ซาคากิ อิชิอิ โคจิ (石井康嗣)[17] มิวทู / เมก้ามิวทู Y, นิโดคิง (ไดแม็กซ์), เปอร์เซียน [注 2]
82 โอคิโดะ โองาตะ เคนอิจิ (緒方賢一)[18] มิว

โจโตะ[แก้]

ตัวละครที่เคยปรากฏตัวใน โกลด์, ซิลเวอร์, คริสตัล และ ฮาร์ตโกลด์ และ โซลซิลเวอร์

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
10 คริส อาซุมิ คานะ (阿澄佳奈) วานิโนโกะ → อัลลิเกต → ออไดล์, ซุยคูน
11 สึคุชิ 森谷里美 สเปียร์ / เมก้าสเปียร์, สไตรค์
12 อากาเนะ 夏吉ゆうこ[19] มิลแทงค์
13 ยาโยกิ チョー พาเวา → จูกอน
14 อิบุกิ 河村螢[20] คิงดรา
15 อันซุ 杉山里穂[21] อาริอาโดส, โครแบท [注 3]
16 อิสึคิ 野島裕史 เนทิโอ
17 คาเรน 柚木涼香 เฮลการ์ / เมก้าเฮลการ์, แบล็กกี
66 โคโตเนะ 千本木彩花[22] จิโคริตา → เบย์ลีฟ → เมกาเนียม, พูริน, เซเลบี
75 ฮิบิกิ 廣瀬大介[23] ฮิโนอาราชิ → แม็กมาราชิ → แบ็กฟูน, ลูเกีย
91 ซิลเวอร์ 小野友樹 โฮโอ, ออไดล์
93 มิคัง 井口裕香 ฮากาเนล / เมก้าฮากาเนล, เท็คคากูยะ
99 มัตสึบะ 神谷浩史 ฟูวาไรด์, มูมาจิ, จุปเป็ตตะ / เมก้าจุปเป็ตตะ, โฮโอ (สีแตกต่าง)
139 ฮายาโตะ 田邊幸輔[24] โอโอสึบาเมะ
- แลนซ์ 奥村翔 โกลแบท
- ลัมด้า 武田太一 มาตาโดกัซ
- อาเทน่า 鷄冠井美智子 อาร์บอก, รัฟเฟรเซีย
- อพอลโล 高橋幸治 เฮลการ์
ชิจิมะ 近藤浩徳[25] เนียวโรบอน

โฮเอ็น[แก้]

ตัวละครที่เคยปรากฏตัวใน รูบี้, แซฟไฟร์, เอเมอรัลด์ และ โอเมการูบี้ และ แอลฟาแซฟไฟร์

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
18 ยูคิ 三瓶由布子 คิโมริ → จุปไทล์ → จูไคน์ / เมก้าจูไคน์, ลาทิโอส / เมก้าลาทิโอส
19 สึสึจิ 後藤麻衣[26] โนซพาส → ไดโนซ
20 โทคิ KENN มาคุโนชิตะ → ฮาริเทยามะ
21 อาสึนะ 社本悠[27] โคทอยซ์
22 เซ็นริ 杉田智和 เค็คคิง
23 นากิ 岡嶋妙 เพลิปเปอร์
24 ฟู 名賀亜美[28] โซลร็อก
25 รัน 亀谷理子[20] ลูนาโทน
26 ฟุโย 渕上舞 ซามาโยรุ → โยนัวร์
27 เก็นจิ 佐藤正治 โบมันเดอร์
28 ดาสึระ 増田俊樹 ไคลอส / เมก้าไคลอส
72 พริม 木下紗華 โอนิโกริ / เมก้าโอนิโกริ
80 ฮิกานะ 愛美[29] เร็คควอซา / เมก้าเร็คควอซา, โบมันเดอร์
81 ไดโกะ 前野智昭[30] เมทากรอส / เมก้าเมทากรอส, แซนด์แพน (รูปแบบอโรลา), เร็คควอซา (สีแตกต่าง) / เมก้าเร็คควอซา, ดีอ็อกซิส (ฟอร์มปกติ, ฟอร์มโจมตี, ฟอร์มป้องกัน, ฟอร์มรวดเร็ว)
90 มิคุริ 桑野晃輔[31] มิโลคารอส
92 มิทสึรุ 村瀬歩 เอรูเรโด / เมก้าเอรูเรโด
98 อาซามิ 所河ひとみ[32] ฮาบูเนค
107 ลูเซีย 夏川椎菜 ทิลทาลิส / เมก้าทิลทาลิส
113 ฮารุกะ 野中藍[33] มิซึโกโร → นูมาโคร → ลากลาจ / เมก้าลากลาจ, มิมิล็อป / เมก้ามิมิล็อป, ลาทิอาส / เมก้าลาทิอาส, บาชาโม / เมก้าบาชาโม, เวลโกะ
127 มาสึบุสะ 中田譲治[34] กราดอน
128 อาโอกิริ 最上嗣生[34] ไคออกา
140 คาเงสึ 梶川翔平[35] แอบโซล / เมก้าแอบโซล
151 คางาริ 茅原実里 บาคูดา / เมก้าบาคูดา
- โฮมุระ 高戸靖広 บาคูดา
- อุชิโอะ 小山剛志 ซาเมฮาเดอร์
- อิซึมิ 根谷美智子 ซาเมฮาเดอร์

ชินโอ[แก้]

ตัวละครที่เคยปรากฏตัวใน ไดมอนด์, เพิร์ล, แพล็ตตินัม

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
29 จุน 代永翼 โพจจามะ → โพจไทชิ → เอ็มเพลท์
30 เฮียวดะ 野島健児 ซึไกโดส → แรมพาล์ด
31 นาทาเนะ 伊藤はるか[28] โรสเรด
32 สึโมโมะ 松井暁波[36] อาซานัน → ชาเรม
33 มาคิชิ ボルケーノ太田 โฟลเซล
34 สึซึนะ 櫻井しおり[37] ยูกิโนโอ, ยูกิเมโนโกะ
35 โอบะ 鈴木達央 โกคาซารุ
36 เนชิกิ 小松昌平[38] โดทาคุน
37 โมมิ 青野菜月 แฮปปีนาส
38 ไม 松本沙羅[39] วินดี
78 ชิโรนา 園崎未恵[14] กาเบรียส, จารารังกา, กิราตินา (ฟอร์มดัดแปลง), ลูคาริโอ / เมก้าลูคาริโอ, ไทรโทดอน (ทะเลตะวันตก)
86 เมริซา 甲斐田ゆき มูมาจิ
100 อาคากิ 武内駿輔 พัลเกีย, ดาร์กไร
94 ฮิคาริ 高橋李依[40] นาเอเติล → ฮายาชิกาเมะ → โดไดโทส, มาโฮมิล (มิลกี้วนิลลา), เครเซเลีย
105 เด็นจิ 浪川大輔 เร็นโทรา, เอเลคิเบิล
143 โคคุรัน 梅原裕一郎[41] มุคูฮอว์ก
145 โกคิ 堀江瞬 ดีอัลกา
146 เรียว 山谷祥生 บีควิน
147 คิคุโนะ 寺内よりえ คาบัลดอน
148 โกโย 阿座上洋平 คิรินริกิ
150 แฮนซัม 北島善紀 กูเรกกรู
- มาร์ส ゆきのさつき บูเนียตโตะ
- แซทเทิร์น 松野太紀 โดคูร็อก
- จูปิเตอร์ 木下あゆ美[42] สกาแทงค์
- คุโรสึกุ

อิชชู[แก้]

ตัวละครที่เคยปรากฏตัวใน แบล็ค และ ไวท์ / แบล็ค 2 และ ไวท์ 2

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
39 เมย์ 豊崎愛生[14] ซึทาจะ → จาโนวี → จาโลดา, เดลิเบิร์ด, ฟุตาจิมารุ
40 ยาคอน 楠見尚己 กามาการุ → กามาเกโรเกะ
41 ฟูโร 佐藤利奈[43] สวอนนา, โทเกคิส, แลนโดลอส (ฟอร์มสัตว์ศักดิ์สิทธิ์)
42 ฮาจิคุ 小上裕通 ฟรีจิโอ
43 ไอริส 竹達彩奈[44] โอโนโนคุส, ซาซันดรา
44 โฮมิกะ 菅沼千紗[45] วีกา → เพนโดรา
45 ชิซุย 岩崎諒太 อบาโกรา
46 ชิคิมิ 貫井柚佳[28] แชนเดลา
47 เร็นบุ 永野善一 โรบูชิน
64 เชเรน 阿部敦[14] มูแลนด์
67 โทยะ 皆川純子[46] มิจูมารุ → ฟุตาจิมารุ → ไดเคนคิ, กราเอนา
68 โทโกะ 永井真里子[47] โพคาบู → จาโอบู → เอ็นบูโอ, ดีแอนซี / เมก้าดีแอนซี, โอโทสพัส (สีแตกต่าง)
69 คามิสึเระ 日笠陽子 ซีบรายกา, โรตอม, เอมอนกา (ไดแม็กซ์)
70 คาโตเรอา 佐藤聡美 แลนคูลัส, ยามิรามิ / เมก้ายามิรามิ
73 กีมา 小野大輔[48] เลพัลดัส, ซาเมฮาเดอร์ / เมก้าซาเมฮาเดอร์, คิริคิซัน
95 อาร์ตี 島﨑信長[49] ฮาฮาโคโมริ, โทเกปี
108 อาเดคุ てらそままさき อุลกามอธ
109 เคียวเฮย์ 小堀幸[50] วอร์เกิล
110 เบล 湯浅かえで มุชานา
112 N 緑川光[51] เซครอม, เรชิรัม, โซโรอาร์ค, ซิมโบลา
124 เกจิส 花田光[52] คิวเรม
133 โนโบริ 松岡禎丞[53] โดริวซึ, อกิลดา
134 คุดาริ 内田雄馬[53] อาเคโอส, ชูวัลโก
- เด็นโตะ 梶裕貴 ยานักกี
- พ็อทโตะ 浅沼晋太郎 บาอกกี
- คอร์น 斉藤壮馬 ฮิยักกี
- ฮิว

คาลอส[แก้]

ตัวละครที่เคยปรากฏตัวใน X และ Y

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
48 ซาคุโร่ 福西勝也[54] อมารุส → อมารูรูกา
49 คอร์นี 美波わかな[14] ลูคาริโอ / เมก้าลูคาริโอ, มาร์ชาโดว์
50 ฟุคุจิ 中博史 อุซึดง → อุซึบ็อท
51 อูรุป 松田健一郎 เครเบส
52 ซึมิ 堀越省之助[55] บลอสเตอร์, ออคตัน
53 กังปิ 赤城進[56] กิลการ์ด
60 วิโอลา 遠藤綾 อาเมทามะ → อาเมมอธ
71 คาร์ม 小野賢章 เนียสเปอร์ → เนียโอนิกซ์ ♂
83 มาร์ช 上田瞳[57] นิมเฟีย
89 ชิตรอน 阪口大助 เอเลซาร์ด, แรคอยล์
96 เซเรนา 鬼頭明里[58] ฟ็อกโกะ → ไทเรนาร์ → มาฟ็อกซี, เอลฟุน, ซีการ์ด (ฟอร์ม 50% / ฟอร์มสมบูรณ์)
115 เฟอดาลิ 大塚明夫[59] อีเวลทอล
116 พลาตัน 小西克幸[60] เซอเนียส, ฟุชิกิดาเนะ
120 คาร์เน 久川綾[44] เซอไนท์ / เมก้าเซอไนท์, เคลดิโอ (ฟอร์มแน่วแน่)
135 รุสวัลล์ 高野麻里佳[61] เอ็นเต
153 รานิว 加隈亜衣 แลนโดลอส (ฟอร์มอวตาร)

อโลล่า[แก้]

ตัวละครที่เคยปรากฏตัวใน ซัน, มูน, อัลตร้าซัน, อัลตร้ามูน

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
54 เฮา 山下大輝 ไรชู (อโลล่า)
55 มามาเนะ 村瀬迪与[62] โทเกะเดมารุ, โกโลเนีย (อโลล่า)
56 มัตสึริกะ ゆかな[63] แกรนบูล
57 ไรจิ 生天目仁美[64] ลูกาลูกัน (ร่างเที่ยงคืน)
58 ฮาบู 小澤亜李 บัมบะโดโร
59 คาฮิริ 河原木志穂[65] โดเดคาบาชิ
61 คุจินาชิ 津田健次郎 เปอร์เซียน (อโลล่า)
63 อเซโลลา 三上枝織 ชิโรเดซึนะ, มิมิคคิว
79 คุคุย[注 4] 諏訪部順一 ลูกาลูกัน (ร่างเที่ยงวัน)
87 พูลเมรี 金田愛[66] เอ็นนิวท์
88 กุซมา 菊地達弘[67] กูโซคูมูชะ, มัสชิบูน
101 ลูซามิเนะ 大原さやか[68] เฟโรเช, เนครอสมา (แผงคอแห่งสนธยา) / อัลตร้าเนครอสมา
102 กราจิโอ 内山昂輝 ซิลวาดี
103 ริเลีย 内田真礼 ปิปปี, อบูริบง, ลูนาอาลา, พอตเดธ (ฟอร์มของแท้), คิววะวา
106 เมอร์เรน 近藤孝行[69] ดักทริโอ (รูปแบบอโลล่า)
114 มาโอะ 雨宮天[70] อมาโจ
121 มิซึจิ 三森すずこ[71] โมคุโร → ฟุคุซึโร → จูไนเปอร์
122 โย 斎賀みつき[72] อชิมาริ → โอชามาริ → อชิเรเน
129 ซุยเร็น 名塚佳織[73] โอนิชิซึคุโม
130 คาคิ 大町知広[74] การะการะ (รูปแบบอโลล่า)
131 ฮาระ 大塚芳忠[75] เคเค็นคานิ
132 รอยัลมาสค์[注 4] 諏訪部順一[76] กาโอกาเอ็น
- ริวคิ 仲村宗悟 บาคุกาเมส

กาลาร์[แก้]

ตัวละครที่เคยปรากฏตัวใน ซอร์ด และ ชิลด์

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
157 มาซารุ 下野紘 กอริลลันดา (เคียวไดแม็กซ์)
111 ยูริ 幸村恵理[77] ซาเชียน (ราชาแห่งดาบ), อินเทเลียน, วูลาโอส (รูปแบบจู่โจมต่อเนื่อง)
117 เนซึ 谷山紀章[78] ทาจิฟซากุมะ
118 แดนดี้ 櫻井孝宏[79] ลิซาร์ดอน, มุเก็นไดนา, บัดเดร็กซ์ (ร่างขี่ม้าขาว)
119 แมรี 田村ゆかり[79] โมรุเปโกะ, โอลองเกะ, คูชีท / เมก้าคูชีท, โดคูร็อก
123 คิบานะ 鳥海浩輔[80] ดิวรัลดอน, ฟลายกอน (ไดแม็กซ์)
125 รูรินะ 雨宮天[81] คาจิริกาเมะ, โคโอริปโปะ
126 ไซโต 喜多村英梨[82] เนกิกะไนท์, ไบวานิลลา
141 ฮ็อป 三瓶由布子[83] ซามาเซนตา (ราชาแห่งโล่)
142 โอเนียน 広橋涼[84] เก็งกา (เคียวไดแมกซ์)
144 โซเนีย Lynn วันปาจิ, อมาโจ (สีแตกต่าง)
149 บีท 永塚拓馬 บริมออน (เคียวไดแมกซ์)
155 มาคุวะ 八代拓 เซคิทันซัง (เคียวไดแม็กซ์)
156 เมลอน 甲斐田裕子 ลาพลาซ (เคียวไดแม็กซ์)
165 บอลกาย 関智一 โมโรบาเรรุ

ฮิซุย[แก้]

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
166 เซคิ อิชิคาวะ ไคโตะ (石川界人) ลีเฟีย, ชาวเวอร์ส
167 ไค โคมัตสึ มิคาโกะ (小松未可子) กราเซีย

พัลเดีย[แก้]

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
173 เนโม อุชิดะ อายะ (内田彩) เพอร์มอต

อนิเมะ[แก้]

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
97 มุซาชิ ฮายาชิบาระ เมกุมิ (林原めぐみ) อาร์บ็อก [85]
104 โคจิโร่ มิกิ ชินอิจิโร่ (三木眞一郎) มาตาโดกัซ
152 ซาโตชิ มัตสึโมโตะ ริกะ (松本梨香) พิคาชู (ให้เสียงโดย โอทานิ อิคุเอะ)

ออริจินอล[แก้]

No ชื่อ ให้เสียงโดย โปเกมอน รายละเอียด
1 ตัวเอก ไม่มี พิคาชู (ให้เสียงโดย โอทานิ อิคุเอะ), อาชาโม, โซลกาเลโอ และ อื่นๆ
136 ไรเยอร์ 宮野真守 ฮูปา (ร่างถูกผนึก)
137 เช็คตะ 井澤詩織 แบล็กกี
138 โดริบารุ 黒田崇矢 ดอนคาราซึ

หมายเหตุ[แก้]

  1. ワールドポケモンマスターズ World Pokémon Masters, อังกฤษ: Pokémon Masters League
  2. パシオ Pashio, อังกฤษ: Pasio
  1. ใน PV ตัวเอกชายเรียกว่า เคย์ (ケイ) ส่วนตัวเอกหญิงเรียกว่า ยุย (ユイ)
  2. マジコスサカキのみチームスキルが「ジョウト」となっている。
  3. 『金・銀・クリスタル』で初登場したキャラクターだが、カントー地方のジムリーダーであるため、チームスキルは「カントー」になっている。
  4. 4.0 4.1 ククイとロイヤルマスクはNo.が異なるものの同一人物のため、同時編成不可。

อ้างอิง[แก้]

  1. Romano, Sal (June 27, 2019). "Pokemon Masters launches this summer, presentation and fact sheet". Gematsu. สืบค้นเมื่อ June 27, 2019.
  2. 2.0 2.1 Makuch, Eddie (May 29, 2019). "New Pokemon Game, Pokemon Masters, Coming To Smartphones". GameSpot. สืบค้นเมื่อ June 8, 2019.
  3. Moon, Mariella (May 29, 2019). "'Pokémon Masters' brings old trainers together in one mobile game". Engadget. สืบค้นเมื่อ June 7, 2019.
  4. Lee, Julia (May 28, 2019). "Pokémon Masters will bring back favorite trainers". Polygon. สืบค้นเมื่อ June 7, 2019.
  5. "Pokemon Masters launches August 29, pre-registration now available". Gematsu (ภาษาอังกฤษ). 2019-07-24. สืบค้นเมื่อ 2019-08-01.
  6. "Pokemon Masters เปิดให้เล่นแล้วที่ Singapore". sanook. 2019-07-25. สืบค้นเมื่อ 2019-07-25.
  7. ซุ่มเงียบ! Pokémon Masters เปิด Soft Launch แบบไม่รีเซ็ตข้อมูลที่สิงคโปร์และแคนาดา, 25 กรกฎาคม 2562, สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2562 {{citation}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. 10 จุดเด่นสำคัญของเกม Pokemon Masters ที่แฟนๆ โปเกมอนต้องรู้ก่อนเล่น !!, 13 สิงหาคม 2562, สืบค้นเมื่อ 2 กันยายน 2562 {{citation}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  9. Pokémon Masters เปิดให้ดาวน์โหลดแล้วบน Android และ iOS วันนี้, 29 สิงหาคม 2562, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 สิงหาคม 2562, สืบค้นเมื่อ 29 สิงหาคม 2562 {{citation}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. Pokemon Masters ไปถึง 10 ล้านดาวน์โหลดภายใน 4 วัน, 3 กันยายน 2562, สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2562 {{citation}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)[ลิงก์เสีย]
  11. "Pokémon Masters hits 10 million downloads in four days". VentureBeat. 3 September 2019. สืบค้นเมื่อ 8 September 2019.
  12. Dedmon, Tanner (7 September 2019). "Pokemon Masters Made $26 Million in First Week". Comicbook. สืบค้นเมื่อ 8 September 2019.
  13. แม่แบบ:Twitter status2
  14. 14.0 14.1 14.2 14.3 14.4 14.5 14.6 14.7 "ポケモン新作ゲームのキャストはアニメ版から変更 鳥海浩輔&茅野愛衣&豊崎愛生&佐倉綾音ら出演". ORICON NEWS. oricon ME. 2019-06-28. สืบค้นเมื่อ 2019-07-26.
  15. แม่แบบ:Twitter status2
  16. แม่แบบ:Twitter status2
  17. 17.0 17.1 แม่แบบ:YouTube time
  18. แม่แบบ:YouTube time
  19. แม่แบบ:Twitter status2
  20. 20.0 20.1 แม่แบบ:Twitter status2
  21. แม่แบบ:Twitter status2
  22. แม่แบบ:Twitter status2
  23. แม่แบบ:Twitter status2
  24. แม่แบบ:Twitter status2
  25. "近藤浩徳/「ポケモンマスターズ EX」出演情報". サルの足跡(アトミックモンキーブログ). アトミックモンキー. 2022-07-14. สืบค้นเมื่อ 2022-08-07.
  26. แม่แบบ:Twitter status2
  27. แม่แบบ:Twitter status2
  28. 28.0 28.1 28.2 "伊藤はるかがナタネ役、名賀亜美がフウ役、貫井柚佳がシキミ役で、アプリ「ポケモンマスターズ」に出演しています。". AIR AGENCY. 2019-09-17. สืบค้นเมื่อ 2019-09-19.
  29. แม่แบบ:Twitter status2
  30. แม่แบบ:Twitter status2
  31. แม่แบบ:Twitter status2
  32. "所河ひとみ:Shogawa Hitomi". ケンユウオフィス. สืบค้นเมื่อ 2021-06-22.
  33. แม่แบบ:Twitter status2
  34. 34.0 34.1 แม่แบบ:Twitter status2
  35. แม่แบบ:Twitter status2
  36. แม่แบบ:Twitter status2
  37. แม่แบบ:Twitter status2
  38. แม่แบบ:Twitter status2
  39. แม่แบบ:Twitter status2
  40. แม่แบบ:Twitter status2
  41. แม่แบบ:Twitter status2
  42. แม่แบบ:Twitter status2
  43. แม่แบบ:Twitter status2
  44. 44.0 44.1 แม่แบบ:Twitter status2
  45. แม่แบบ:Twitter status2
  46. แม่แบบ:Twitter status2
  47. แม่แบบ:Twitter status2
  48. แม่แบบ:Twitter status2
  49. แม่แบบ:Twitter status2
  50. แม่แบบ:Twitter status2
  51. แม่แบบ:Twitter status2
  52. แม่แบบ:Twitter status2
  53. 53.0 53.1 แม่แบบ:Twitter status2
  54. แม่แบบ:Twitter status2
  55. "堀越省之助:Horikoshi Shounosuke". ケンユウオフィス. สืบค้นเมื่อ 2021-03-08.
  56. "赤城 進:Akagi Susumu". ケンユウオフィス. สืบค้นเมื่อ 2021-03-08.
  57. แม่แบบ:Twitter status2
  58. แม่แบบ:Twitter status2
  59. แม่แบบ:Twitter status2
  60. แม่แบบ:Twitter status2
  61. แม่แบบ:Twitter status2
  62. แม่แบบ:Twitter status2
  63. แม่แบบ:Twitter status2
  64. แม่แบบ:Twitter status2
  65. "河原木志穂:Kawaragi Shiho". ケンユウオフィス. สืบค้นเมื่อ 2021-03-08.
  66. แม่แบบ:Twitter status2
  67. แม่แบบ:Twitter status2
  68. แม่แบบ:Twitter status2
  69. แม่แบบ:Twitter status2
  70. แม่แบบ:Twitter status2
  71. แม่แบบ:Twitter status2
  72. แม่แบบ:Cite web2
  73. แม่แบบ:Twitter status2
  74. แม่แบบ:Twitter status2
  75. แม่แบบ:Twitter status2
  76. แม่แบบ:Twitter status2
  77. แม่แบบ:Twitter status2
  78. แม่แบบ:Twitter status2
  79. 79.0 79.1 แม่แบบ:Twitter status2
  80. แม่แบบ:Twitter status2
  81. แม่แบบ:Twitter status2
  82. แม่แบบ:Twitter status2
  83. แม่แบบ:Twitter status2
  84. แม่แบบ:Twitter status2
  85. "『ポケマス』と『ポケモンGO』にロケット団が登場!"劇場版ポケットモンスター ココ"コラボイベントが開催". ファミ通App. 2020-07-10. สืบค้นเมื่อ 2020-07-12.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]