เซเรียอา ฤดูกาล 2014–15

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เซเรียอา
ฤดูกาล2014–15
ชนะเลิศยูเวนตุส
แชมป์สมัยที่ 31
ตกชั้นเชเซนา
ปาร์มา
คัลยารี
แชมเปียนส์ลีกยูเวนตุส
โรมา
ลาซิโอ
ยูโรปาลีกฟีออเรนตีนา
นาโปลี
ซัมป์โดเรีย
จำนวนการแข่งขันทั้งหมด380
จำนวนประตูทั้งหมด1024 (2.69 ต่อนัด)
ผู้ยิงประตูสูงสุดลูกา โทนี
เมาโร อิคาร์ดี
(22 ประตู เท่ากัน)
ทีมเหย้าชนะสูงสุดอินเตอร์ มิลาน 7–0 ซัสซูโอโล
(14 กันยายน 2014)
ยูเวนตุส 7–0 ปาร์มา
(9 พฤศจิกายน 2014)
ทีมเยือนชนะสูงสุดปาแลร์โม 0–4 ลาซิโอ
(29 กันยายน 2014)
เอมโปลี 0–4 กายารี
(25 ตุลาคม 2014)
กายารี 0–4 ฟิออเรนตินา
(30 พฤศจิกายน 2014)
ประตูสูงสุดปาร์มา 4–5 มิลาน
(14 กันยายน 2014)
สถิติชนะติดต่อกันสูงสุด8 นัด[1]
ลาซิโอ
สถิติไม่แพ้ติดต่อกันสูงสุด20 นัด[1]
ยูเวนตุส
สถิติไม่ชนะติดต่อกันสูงสุด18 นัด[1]
เชเซนา
สถิติแพ้ติดต่อกันสูงสุด6 นัด[1]
ปาร์มา
ผู้เข้าชมมากที่สุด79,173 คน[1]
มิลาน 1–1 อินเตอร์
(23 พฤศจิกายน 2014)
ผู้เข้าชมน้อยที่สุด5,000 คน[1]
คิเอโว 2–1 เชเซนา
(9 พฤศจิกายน 2014)
ผู้เข้าชมโดยเฉลี่ย22,019 คน[1]

เลกาเซเรียอา (หรือ ทิม เลกาเซเรียอา ด้วยเหตุผลทางผู้สนับสนุน) ฤดูกาล 2014–15 เป็นฤดูกาลที่ 5 นับตั้งแต่ถอนตัวออกจากฟุตบอลลีกในฤดูกาล 2010-11 ซึ่งจะเริ่มต้นเปิดฤดูกาลในวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 2014.

20 ทีมที่ลงทำการแข่งขันในลีก: 17 ทีมมาจาก ฤดูกาล 2013–14 และสามทีมเลื่อนชั้นขึ้นมาจาก เซเรียบี ฤดูกาล 2013–14. ยูเวนตุส เป็นทีมแชมป์เก่า. ในวันที่ 2 พฤษภาคม ค.ศ. 2015, ยูเวนตุสชนะเลิศถ้วยสคูเด็ตโต้ได้สำเร็จเป็นครั้งที่สี่ติดต่อกัน.[2]

ทีม[แก้]

สนามแข่งขัน[แก้]

ทีม สถานที่ สนามแข่งขัน ความจุ ผลงานเมื่อฤดูกาล 2013–14
อาตาลันตา แบร์กาโม อัตเลตี อัซซูร์รี ดี'ตาเลีย 26,542 อันดับที่ 11 ใน เซเรีย อา
คัลยารี คัลยารี สตาดีโอ ซาน'เตเลีย 11,650 อันดับที่ 15 ใน เซเรีย อา
เชเซนา เชเซนา สตาดีโอ ดีโน มานุซซี 23,900 เซเรีย บี ชนะเลิศเพลย์ออฟ
กีเอโว เวโรนา มาร์ค'อันโตนีโอ เบนเตโกดี 38,402 อันดับที่ 16 ใน เซเรีย อา
เอมโปลี เอ็มโปลี คาร์โล คาสเตลลานี 16,800 อันดับที่ 2 ใน เซเรีย บี
ฟิออเรนตินา ฟลอเรนซ์ อาร์เตมีโอ ฟรังคี 47,282 อันดับที่ 4 ใน เซเรีย อา
เจนัว เจนัว ลุยจิ แฟร์ราริส 36,685 อันดับที่ 13 ใน เซเรีย อา
อินเตอร์ มิลาน มิลาน จูเซ็ปเป เมอัซซา 80,018 อันดับที่ 5 ใน เซเรีย อา
ยูเวนตุส ตูริน ยูเวนตุส สเตเดียม 41,254 เซเรีย อา ชนะเลิศ
ลาซิโอ โรม โอลิมปีโก 72,698 อันดับที่ 9 ใน เซเรีย อา
เอซี มิลาน มิลาน ซาน ซีโร 80,018 อันดับที่ 8 ใน เซเรีย อา
นาโปลี เนเปิลส์ ซาน เปาโล 60,240 อันดับที่ 3 ใน เซเรีย อา
ปาแลร์โม ปาแลร์โม เรนโซ บาร์เบรา 36,349 เซเรีย บี ชนะเลิศ
ปาร์มา ปาร์มา เอ็นนีโอ ตาร์ดีนี 27,906 อันดับที่ 6 ใน เซเรีย อา
โรมา โรม โอลิมปีโก 72,698 อันดับที่ 2 ใน เซเรีย อา
ซัมป์โดเรีย เจนัว ลุยจิ แฟร์ราริส 36,685 อันดับที่ 12 ใน เซเรีย อา
ซัสซูโอโล ซัสซูโอโล
(กำลังเล่นใน เรจจีโอ เอมีเลีย)
มาเปอี สเตเดียม[3] 20,084 อันดับที่ 17 ใน เซเรีย อา
โตริโน ตูริน โอลิมปีโก ดี โตรีโน 27,994 อันดับที่ 7 ใน เซเรีย อา
อูดิเนเซ อูดีเน ฟรีอูลี 30,642 อันดับที่ 14 ใน เซเรีย อา
เวโรนา เวโรนา มาร์ค'อันโตนีโอ เบนเตโกดี 38,402 อันดับที่ 10 ใน เซเรีย อา

รายละเอียดทีมและชุดแข่งขัน[แก้]

ทีม ประธานสโมสร ผู้จัดการทีม กัปตันทีม ผู้ผลิตเสื้อ สปอนเซอร์เสื้อ
อาตาลันตา อิตาลี อันโตนีโอ แปร์คัสซี อิตาลี เอดูอาร์โด เรจา อิตาลี จานเปาโล เบลลีนี ไนกี้ สวิสส์ แก๊ส, โคนิกา มินอลตา
คัลยารี อิตาลี ตอมมาโซ จูลินี เช็กเกีย ซเดเน็ค ซีแมน อิตาลี ดานีเอเล คอนตี คัปปา ซาร์ดีเนีย, ติสกาลี
เชเซนา อิตาลี จอร์โจ ลูกาเรซี อิตาลี โดเมนีโก ดี การ์โล อิตาลี ดาวีเด ซุชชี ล็อตโต อัลดีนี
กีเอโว อิตาลี ลูกา คัมเปเดลลี อิตาลี ยูเจนีโอ คอรีนี อิตาลี แซร์โจ เปลลิสซิเยร์ จีโววา บันกา โปโปลาเร ดี เวโรนา, ปาลูอานี
เอมโปลี อิตาลี ฟาบรีซีโอ คอร์ซี อิตาลี เมารีซีโอ ซาร์รี อิตาลี ดาวีเด มอโร รอยัล เอ็นจีเอ็ม โมบายล์, คอมพิวเตอร์ กรอสส์
ฟิออเรนตินา อิตาลี มารีโอ คอนญินี อิตาลี วินเชนโซ มอนเตลลา อิตาลี มานูเอล ปาสกวาล โจมา
เจนัว อิตาลี เอ็นริโก เปรซิโอซี อิตาลี จานปิเอโร กัสเปรินี อิตาลี ลูกา อันโตเนลลี ล็อตโต อีซี เปลย์
อินเตอร์ มิลาน อินโดนีเซีย อีริค โทเฮียร์ อิตาลี โรแบร์โต มันชีนี อิตาลี อันเดรีย ราน็อคเคีย ไนกี้ ปีเรลลี
ยูเวนตุส อิตาลี อันเดรีย อันเญลลี อิตาลี มัสซีมีเลียโน อัลเลกรี อิตาลี จันลุยจี บุฟฟอน ไนกี้ จี๊ป
ลาซิโอ อิตาลี เคลาดีโอ โลตีโต อิตาลี สเตฟาโน ปีโอลี อิตาลี สเตฟาโน เมารี มาครอน
เอซี มิลาน อิตาลี ซิลวีโอ แบร์ลุสโกนี อิตาลี ฟิลิปโป้ อินซากี้ อิตาลี ริคคาร์โด มอนโตลิโว อาดิดาส ฟลาย เอมิเรตส์ แอร์ไลน์ส
นาโปลี อิตาลี ออเรลีโอ เด เลาเรนติส สเปน ราฟาเอล เบนีเตซ สโลวาเกีย มาเรก ฮัมชีก มาครอน เลเต, ปาสตา กาโรฟาโล
ปาแลร์โม อิตาลี เมารีซีโอ ซามปารินี อิตาลี จูเซ็ปเป้ ยาคินี ปารากวัย เอ็ดการ์ บาร์เรโต โจมา ปาแลร์โมกัลโช.ไอที
ปาร์มา อิตาลี ตอมมาโซ กีราร์ดี อิตาลี โรแบร์โต โดนาโดนี อิตาลี อเลสซานโดร ลูคาเรลลี เอร์เรอา โฟลเล็ตโต, นาวีกาเร
โรมา สหรัฐ เจมส์ ปัลล็อตตา ฝรั่งเศส รูดี การ์เซีย อิตาลี ฟรันเชสโก ตอตตี ไนกี้ ไม่มีผู้สนับสนุน
ซามพ์โดเรีย อิตาลี มัสซีโม แฟร์เรโร เซอร์เบีย ซินิซ่า มิไฮโลวิช อิตาลี ดานิเอเล กัสตัลเดลโล คัปปา กาเมเนต
ซัสซูโอโล อิตาลี คาร์โล รอสซี อิตาลี ยูเซบีโอ ดี ฟรันเชสโก อิตาลี ฟรันเชสโก มันญาเนลลี สปอร์ตีกา มาเปอี
โตรีโน อิตาลี อูร์บาโน ไคโร อิตาลี จามปิเอโร เวนตูรา โปแลนด์ คามิล กลิค คัปปา ซูซูกิ, ซาลามี เบเร็ตตา
อูดิเนเซ อิตาลี ฟรังโก โซลดาติ อิตาลี อันเดรีย สตรามัชโชนี อิตาลี อันโตนีโอ ดิ นาตาเล เอชเอส ฟุตบอล ดาเซีย
เวโรนา อิตาลี เมารีซีโอ เซ็ตติ อิตาลี อันเดรีย มานดอร์ลินี อิตาลี ลูก้า โทนี ไนกี้ ลีดเดอร์ฟอร์ม, เอจีเอสเอ็ม, ฟรันกลิน แอนด์ มาร์แชลล์

เปลี่ยนผู้จัดการทีม[แก้]

ทีม ผู้จัดการคนก่อน เหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการคนใหม่ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
อูดิเนเซ อิตาลี ฟรันเชสโก กุยโดลิน ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ควบคุมทางเทคนิค 20 พฤษภาคม 2014[4] ก่อนเปิดฤดูกาล อิตาลี อันเดรีย สตรามัชโชนี 4 มิถุนายน 2014[5]
เอซี มิลาน เนเธอร์แลนด์ คลาเรนซ์ ซีดอร์ฟ ถูกไล่ออก 9 มิถุนายน 2014[6] อิตาลี ฟิลิปโป้ อินซากี้ 9 มิถุนายน 2014[6]
ลาซิโอ อิตาลี เอโดอาร์โด เรจา ลาออกจากตำแหน่ง 12 มิถุนายน 2014[7] อิตาลี สเตฟาโน ปีโอลี 12 มิถุนายน 2014[8]
คัลยารี อิตาลี อีโว ปุลกา ถูกไล่ออก 20 มิถุนายน 2014 เช็กเกีย ซเดเน็ค ซีแมน 20 มิถุนายน 2014[9]
ยูเวนตุส อิตาลี อันโตนีโอ คอนเต ลาออกจากตำแหน่ง 15 กรกฎาคม 2014 อิตาลี มัสซีมีเลียโน อัลเลกรี 16 กรกฎาคม 2014
กีเอโว อิตาลี ยูเจนีโอ คอรีนี ถูกไล่ออก 19 ตุลาคม 2014[10] อันดับที่ 17 อิตาลี โรลันโด มารัน 19 ตุลาคม 2014[11]
อินเตอร์ มิลาน อิตาลี วัลเตอร์ มาซซารี ถูกไล่ออก 14 พฤศจิกายน 2014[12] อันดับที่ 9 อิตาลี โรแบร์โต มันชีนี 14 พฤศจิกายน 2014[13]
เชเซนา อิตาลี ปีแอร์เปาโล บิโซลี ถูกไล่ออก 8 ธันวาคม 2014[14] อันดับที่ 19 อิตาลี โดเมนีโก ดี การ์โล 8 ธันวาคม 2014[15]
คัลยารี เช็กเกีย ซเดเน็ค ซีแมน ถูกไล่ออก 23 ธันวาคม 2014[16] อันดับที่ 18 อิตาลี จานฟรังโก้ โซล่า 24 ธันวาคม 2014[17]
อาตาลันตา อิตาลี สเตฟาโน โคลันตูโอโน ถูกไล่ออก 4 มีนาคม 2015[18] อันดับที่ 17 อิตาลี เอโดอาร์โด เรจา 4 มีนาคม 2015[18]
คัลยารี อิตาลี จานฟรังโก้ โซล่า ถูกไล่ออก 9 มีนาคม 2015[19] อันดับที่ 18 เช็กเกีย ซเดเน็ค ซีแมน 9 มีนาคม 2015[19]
คัลยารี เช็กเกีย ซเดเน็ค ซีแมน ถูกไล่ออก 21 เมษายน 2015 อันดับที่ 19 อิตาลี จานลูกา เฟสตา 22 เมษายน 2015

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 ยูเวนตุส (C) 38 26 9 3 72 24 +48 87 ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม
2 โรมา 38 19 13 6 54 31 +23 70
3 ลาซิโอ 38 21 6 11 71 38 +33 69 ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบเพลย์-ออฟ
4 ฟิออเรนตินา 38 18 10 10 61 46 +15 64 ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบแบ่งกลุ่ม[a]
5 นาโปลี 38 18 9 11 70 54 +16 63
6 เจนัว[b] 38 16 11 11 62 47 +15 59
7 ซัมป์โดเรีย 38 13 17 8 48 42 +6 56 ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 รอบคัดเลือก รอบสาม[a]
8 อินเตอร์ มิลาน 38 14 13 11 59 48 +11 55
9 โตรีโน 38 14 12 12 48 45 +3 54
10 เอซี มิลาน 38 13 13 12 56 50 +6 52
11 ปาแลร์โม 38 12 13 13 53 55 −2 49
12 ซัสซูโอโล 38 12 13 13 49 57 −8 49
13 เวโรนา 38 11 13 14 49 65 −16 46
14 กีเอโว 38 10 13 15 28 41 −13 43
15 เอมโปลี 38 8 18 12 46 52 −6 42
16 อูดีเนเซ 38 10 11 17 43 56 −13 41
17 อาตาลันตา 38 7 16 15 38 57 −19 37
18 คัลยารี (R) 38 8 10 20 48 68 −20 34 ตกชั้นสู่ เซเรีย บี
19 เชเซนา (R) 38 4 12 22 36 73 −37 24
20 ปาร์มา[c] (R) 38 6 8 24 33 75 −42 19
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 31 พฤษภาคม 2015. แหล่งที่มา : Serie A
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) คะแนนเฮด-ทู-เฮด; 3) เฮด-ทู-เฮดด้วยผลต่างประตู; 4) ผลต่างประตู; 5) ประตูรวม; 6) เสมอ. (สถิติเฮด-ทู-เฮด ถูกนำไปใช้สำหรับสโมสรด้วยจำนวนเดียวกันของคะแนนเพียงครั้งเดียวในการแข่งขันระหว่างสโมสรจึงได้กล่าวว่าได้รับการเล่น.)
(C) ชนะเลิศ; (R) ตกชั้น.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 ตั้งแต่ทีมชิงชนะเลิศใน โคปปาอิตาเลีย ฤดูกาล 2014–15, ยูเวนตุส, มีคุณสมบัติสำหรับการแข่งขันในทวีปยุโรปขึ้นอยู่กับอันดับในลีก, โดยเป็นเป้าหมายสำคัญที่ทำให้ได้รับรางวัลถ้วยชนะเลิศ (ยูโรปาลีก รอบแบ่งกลุ่ม) ถูกส่งไปยังทีมที่ได้อันดับที่ห้าและเป้าหมายเดิมสำหรับทีมที่อันดับที่ห้านั้นสำหรับ (ยูโรปาลีก รอบคัดเลือกรอบสาม) จะได้รับจากทีมวางอันดับที่สูงที่สุดที่ได้รับใบอนุญาตฟีฟ่าและไม่ผ่านการรับรองแล้วสำหรับการแข่งขันในระดับฟุตบอลสโมสรยุโรป.
  2. เจนัวไม่สามารถรับใบอนุญาตยูฟ่า. ดังนั้น, แม้ว่าพวกเขาจะได้รับสิทธิ์ในการเล่นการแข่งขันสโมสรยุโรปขึ้นอยู่กับอันดับในลีก, พวกเขาไม่สามารถที่จะเข้าร่วม.[20] เจนัวได้ตัดสินใจอุทธรณ์แล้ว, แต่กลับถูกปฏิเสธออกไป.[21]
  3. ปาร์มาถูกตัดแต้ม 7 คะแนนเนื่องจากจ่ายค่าเหนื่อยนักเตะผิดกฏ.[22][23][24]

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า \ เยือน1 ATA CAG CES CHV EMP FIO GEN INT JUV LAZ MIL NAP PAL PAR ROM SAM SAS TOR UDI VER
Atalanta 2–1 3–2 1–1 2–2 0–1 1–4 1–4 0–3 1–1 1–3 1–1 3–3 1–0 1–2 1–2 2–1 1–2 0–0 0–0
Cagliari 1–2 2–1 0–2 1–1 0–4 1–1 1–2 1–3 1–3 1–1 0–3 0–1 4–0 1–2 2–2 2–1 1–2 4–3 1–2
Cesena 2–2 0–1 0–1 2–2 1–4 0–3 0–1 2–2 2–1 1–1 1–4 0–0 1–0 0–1 1–1 2–3 2–3 1–0 1–1
Chievo 1–1 1–0 2–1 1–1 1–2 1–2 0–2 0–1 0–0 0–0 1–2 1–0 2–3 0–0 2–1 0–0 0–0 1–1 2–2
Empoli 0–0 0–4 2–0 3–0 2–3 1–1 0–0 0–2 2–1 2–2 4–2 3–0 2–2 0–1 1–1 3–1 0–0 1–2 0–0
Fiorentina 3–2 1–3 3–1 3–0 1–1 0–0 3–0 0–0 0–2 2–1 0–1 4–3 3–0 1–1 2–0 0–0 1–1 3–0 0–1
Genoa 2–2 2–0 3–1 0–2 1–1 1–1 3–2 1–0 1–0 1–0 1–2 1–1 2–0 0–1 0–1 3–3 5–1 1–1 5–2
Internazionale 2–0 1–4 1–1 0–0 4–3 0–1 3–1 1–2 2–2 0–0 2–2 3–0 1–1 2–1 1–0 7–0 0–1 1–2 2–2
Juventus 2–1 1–1 3–0 2–0 2–0 3–2 1–0 1–1 2–0 3–1 3–1 2–0 7–0 3–2 1–1 1–0 2–1 2–0 4–0
Lazio 3–0 4–2 3–0 1–1 4–0 4–0 0–1 1–2 0–3 3–1 0–1 2–1 4–0 1–2 3–0 3–2 2–1 0–1 2–0
Milan 0–1 3–1 2–0 2–0 1–1 1–1 1–3 1–1 0–1 3–1 2–0 0–2 3–1 2–1 1–1 1–2 3–0 2–0 2–2
Napoli 1–1 3–3 3–2 0–1 2–2 3–0 2–1 2–2 1–3 2–4 3–0 3–3 2–0 2–0 4–2 2–0 2–1 3–1 6–2
Palermo 2–3 5–0 2–1 1–0 0–0 2–3 2–1 1–1 0–1 0–4 1–2 3–1 2–1 1–1 1–1 2–1 2–2 1–1 2–1
Parma 0–0 0–0 1–2 0–1 0–2 1–0 1–2 2–0 1–0 1–2 4–5 2–2 1–0 1–2 0–2 1–3 0–2 1–0 2–2
Roma 1–1 2–0 2–0 3–0 1–1 2–0 2–0 4–2 1–1 2–2 0–0 1–0 1–2 0–0 0–2 2–2 3–0 2–1 2–0
Sampdoria 1–0 2–0 0–0 2–1 1–0 3–1 1–1 1–0 0–1 0–1 2–2 1–1 1–1 2–2 0–0 1–1 2–0 2–2 1–1
Sassuolo 0–0 1–1 1–1 1–0 3–1 1–3 3–1 3–1 1–1 0–3 3–2 0–1 0–0 4–1 0–3 0–0 1–1 1–1 2–1
Torino 0–0 1–1 5–0 2–0 0–1 1–1 2–1 0–0 2–1 0–2 1–1 1–0 2–2 1–0 1–1 5–1 0–1 1–0 0–1
Udinese 2–0 2–2 1–1 1–1 2–0 2–2 2–4 1–2 0–0 0–1 2–1 1–0 1–3 4–2 0–1 1–4 0–1 3–2 1–2
Verona 1–0 1–0 3–3 0–1 2–1 1–2 2–2 0–3 2–2 1–1 1–3 2–0 2–1 3–1 1–1 1–3 3–2 1–3 0–1

อัปเดตล่าสุดวันที่ 31 พฤษภาคม 2015
แหล่งข้อมูล: Lega Serie A
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ
สำหรับแมตช์ที่กำลังมาถึง อักษร a หมายถึง มีบทความเกี่ยวกับแมตช์นั้น

สถิติประจำฤดูกาล[แก้]

แฮท-ทริคส์[แก้]

ผู้เล่น ทีม พบกับทีม ผล วันที่
อาร์เจนตินา เมาโร อิคาร์ดี อินเตอร์ มิลาน ซัสซูโอโล 7–0 เก็บถาวร 2014-09-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 14 กันยายน 2014
สวีเดน อัลบิน เอกดัล คัลยารี อินเตอร์ มิลาน 1–4 เก็บถาวร 2014-11-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 28 กันยายน 2014
เซอร์เบีย ฟิลิป ยอร์เยวิช ลาซิโอ ปาแลร์โม 0–4 เก็บถาวร 2014-10-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 29 กันยายน 2014
อาร์เจนตินา กอนซาโล อีกวาอิน นาโปลี เวโรนา 6–2 เก็บถาวร 2014-11-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 26 ตุลาคม 2014
อิตาลี ฟาบีโอ กวายาเรลลา โตรีโน ซัมป์โดเรีย 5–1 เก็บถาวร 2015-02-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 1 กุมภาพันธ์ 2015
อิตาลี โดเมนีโก เบราร์ดี ซัสซูโอโล มิลาน 3–2 เก็บถาวร 2015-05-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน 17 พฤษภาคม 2015

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 "2014–15 Italian Serie A statistics". ESPN FC. สืบค้นเมื่อ 4 November 2014.
  2. "Juventus win fourth straight Serie A title with away victory at Sampdoria". ESPN. 2 May 2015. สืบค้นเมื่อ 3 May 2015.
  3. http://www.ilrestodelcarlino.it/modena/cronaca/2013/06/16/905134-sassuolo-marcia-neroverde.shtml
  4. "Udinese, Guidolin lascia la panchina. Sarà supervisore tecnico" [Udinese, Guidolin leaves the dugout. He will be technical supervisor] (ภาษาอิตาลี). La Gazzetta dello Sport. 20 May 2014. สืบค้นเมื่อ 5 June 2014.
  5. "Comunicato: è Andrea Stramaccioni il nuovo allenatore" [Statement: Andrea Stramaccioni is the new head coach] (ภาษาอิตาลี). Udinese Calcio. 4 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-06. สืบค้นเมื่อ 4 June 2014.
  6. 6.0 6.1 "AC Milan: Filippo Inzaghi replaces Clarence Seedorf". BBC Sport. 9 June 2014. สืบค้นเมื่อ 10 June 2014.
  7. "Edy Reja saluta la Lazio" [Edy Reja says goodbye to Lazio] (ภาษาอิตาลี). SS Lazio. 12 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-14. สืบค้นเมื่อ 12 June 2014.
  8. "Stefano Pioli è il nuovo allenatore della S.S. Lazio" [Stefano Pioli is the new Lazio head coach] (ภาษาอิตาลี). SS Lazio. 12 June 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-16. สืบค้นเมื่อ 12 June 2014.
  9. "Serie A: Cagliari appoint former Roma coach Zdenek Zeman as new manager". Sky Sports. 2 July 2014. สืบค้นเมื่อ 15 July 2014.
  10. "Comunicato ufficiale: Eugenio Corini sollevato dall'incarico" (ภาษาอิตาลี). AC ChievoVerona. 19 October 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-23. สืบค้นเมื่อ 19 October 2014.
  11. "Comunicato ufficiale: Rolando Maran è il nuovo allenatore della Prima squadra" (ภาษาอิตาลี). AC ChievoVerona. 19 October 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-23. สืบค้นเมื่อ 19 October 2014.
  12. "FC INTERNAZIONALE CLUB STATEMENT". FC Internazionale Milano. 14 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-31. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  13. "ROBERTO MANCINI APPOINTED AS INTER'S NEW COACH". FC Internazionale Milano. 14 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-01-27. สืบค้นเมื่อ 14 November 2014.
  14. "COMUNICATO UFFICIALE - Bisoli sollevato dall'incarico di allenatore della prima squadra". AC Cesena. 8 December 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-05. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
  15. "Di Carlo nuovo tecnico del Cesena Calcio". AC Cesena. 8 December 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-09. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
  16. "Comunicato del Cagliari Calcio". Cagliari Calcio (ภาษาอิตาลี). 23 December 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-25. สืบค้นเมื่อ 23 December 2014.
  17. "Bentornato Gianfranco". Cagliari Calcio (ภาษาอิตาลี). 24 December 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-12-26. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
  18. 18.0 18.1 "Comunicato Atalanta BC". Atalanta BC (ภาษาอิตาลี). 4 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-06. สืบค้นเมื่อ 4 March 2015.
  19. 19.0 19.1 "Gianfranco Zola sacked as Serie A Cagliari rehire Zdenek Zeman". BBC. 9 March 2015. สืบค้นเมื่อ 9 March 2015.
  20. "Genoa's Failure to Receive UEFA License Shakes Up Italy's Europa League Race". 11 May 2015. สืบค้นเมื่อ 19 May 2015.
  21. "Genoa Fail In Appeal To Obtain UEFA Licence". 19 May 2015. สืบค้นเมื่อ 19 May 2015.
  22. "Inadempienze CO.VI.SO.C.: un punto di penalizzazione per il Parma" (ภาษาอิตาลี). FIGC. 9 December 2014. สืบค้นเมื่อ 16 December 2014.
  23. "TFN: altri 2 punti di penalizzazione al Parma" (ภาษาอิตาลี). FIGC. 13 March 2015. สืบค้นเมื่อ 15 March 2015.
  24. "News - Quattro punti di penalizzazione al Parma, sanzionati anche tre club di Lega Pro" (ภาษาอิตาลี). FIGC. 16 April 2015. สืบค้นเมื่อ 18 April 2015.
  25. "2014–15 Serie A top goalscorers". Serie A. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-25. สืบค้นเมื่อ 4 November 2014.
  26. "2014–15 Serie A top assists". ESPN FC. สืบค้นเมื่อ 4 November 2014.
  27. "2014–15 Serie A Most clean sheets". ESPN FC. สืบค้นเมื่อ 27 April 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]