ข้ามไปเนื้อหา

ปาร์มากัลโช 1913

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปาร์มากัลโช 1913
ชื่อเต็มสมาคมกีฬาสมัครเล่นปาร์มากัลโช 1913
ฉายาI Crociati (The Crusaders)
I Gialloblù (The Yellow and Blues)
I Ducali (The Duchy Men)
Gli Emiliani (The Emilians)
ก่อตั้ง16 December 1913; 111 ปีก่อน (16 December 1913), as Parma Foot Ball Club
1930; 94 ปีที่แล้ว (1930), as Parma Associazone Sportiva
1967; 57 ปีที่แล้ว (1967), as Parma Football Club
1970; 54 ปีที่แล้ว (1970), as Parma Associazone Calcio
29 June 2004; 20 ปีก่อน (29 June 2004), as Parma Football Club
27 July 2015; 9 ปีก่อน (27 July 2015) as Società Sportiva Dilettantistica Parma Calcio 1913
สนามเอนนีโอตาร์ดีนี ,
ปาร์มา, ประเทศอิตาลี
ความจุ29,050
ประธานเนวีโอ สกาลา
ผู้ฝึกสอนFabio Pecchia
ลีกเซเรียบี
2021–22อันดับ 12
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน
สีชุดที่สาม

สมาคมกีฬาสมัครเล่นปาร์มากัลโช 1913 (อิตาลี: Società Sportiva Dilettantistica Parma Calcio 1913) ก่อตั้งขึ้นในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1913 ตั้งอยู่ในเมืองปาร์มา แคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา ประเทศอิตาลี โดยครั้งแรกใช้ชื่อว่าสโมสรฟุตบอลแวร์ดี ตามชื่อจูเซปเป แวร์ดี นักอุปรากรที่มีชื่อเสียงซึ่งเกิดที่เมืองปาร์มา ต่อมาในเดือนธันวาคมก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็นสโมสรฟุตบอลปาร์มา สโมสรเริ่มเล่นบอลลีกครั้งแรกในช่วงปี ค.ศ. 1919-20 ต่อมาได้ถูกศาลสั่งฟ้องล้มละลายเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 และเปลี่ยนชื่อสืบทอดมาเป็นปัจจุบัน

ประวัติ

[แก้]

ปาร์มา เป็นสโมสรที่ประสบความสำเร็จทีมหนึ่งในช่วงหลังปี 1990 เป็นต้นมา ด้วยการได้แชมป์ยูฟ่าคัพ 2 สมัย แชมป์โคปปาอิตาเลีย 3 สมัย อิตาเลียนซูเปอร์คัพ 1 สมัย และเกือบจะได้แชมป์กัลโชเซเรียอาเป็นครั้งแรกของสโมสรในฤดูกาล 1996-1997 โดยมีแต้มน้อยกว่ายูเวนตุสที่เป็นแชมป์เพียง 2 คะแนนเท่านั้น ซึ่งช่วงที่ผ่านมานั้นถือได้ว่าเป็นช่วงที่รุ่งเรืองที่สุดของสโมสรก็ว่าได้ ปาร์มาเพี่งจะได้เลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นในเซเรียอาในฤดูกาลปี 1989-1990 และในฤดูกาลแรกที่อยู่ในเซเรียอาก็สามารถยีนอยู่อันดับ 5 ได้โดยได้สิทธิ์ไปเล่นบอลยูฟ่าคัพ ก่อนที่ 4 ปีให้หลังจะคว้าแชมป์ยูฟ่าคัพเป็นสมัยแรกในฤดูกาล 1994-1995 ได้สำเร็จ[1][2]

นักฟุตบอลที่มีชื่อเสียง

[แก้]
อิตาลี Italy
อาร์เจนตินา Argentina
ออสเตรเลีย Australia
เบลเยียม Belgium
บัลแกเรีย Bulgaria
บราซิล Brazil
แคเมอรูน Cameroon
โคลอมเบีย Colombia
โครเอเชีย Croatia
ฝรั่งเศส France
กานา Ghana
ญี่ปุ่น Japan
โปรตุเกส Portugal
โรมาเนีย Romania
เซอร์เบีย Serbia
สวีเดน Sweden
ตุรกี Turkey

ฮิเดโตชิ นากาตะ

เกียรติประวัติ

[แก้]

อิตาลี ระดับประเทศ

[แก้]

ยุโรป ระดับทวีปยุโรป

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Mynk, K.C. (17 April 2009). "How the Mighty Have Fallen: The Decline of 10 Untouchable Football Clubs". BleacherReport.com. Bleacher Report. สืบค้นเมื่อ 1 August 2010.
  2. Dunford (2011), p. 793

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]