ข้ามไปเนื้อหา

พ.ศ. 2547

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก พ.ศ.2547)
ตามเข็มนาฬิกาจากบนซ้าย: มาร์ก ซักเคอร์เบิร์กเปิดตัวเฟซบุ๊ก ซึ่งเวลานั้นมีชื่อว่า เดอะเฟซบุ๊ก; ดาวศุกร์ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ใน พ.ศ. 2547 เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นครั้งแรกนับตั้งแต่ พ.ศ. 2425; ออปเพอร์จูนิที และยาน สปิริต ของนาซาลงจอดบนดาวอังคาร; โอลิมปิกฤดูร้อน 2004 จัดขึ้นที่เอเธนส์; อัลกออิดะฮ์ระเบิดรถไฟหลายขบวนที่มาดริด ทำให้มีผู้เสียชีวิต 193 คน; สหภาพยุโรปได้รับรัฐสมาชิกใหม่ 10 ประเทศ; การปิดล้อมโรงเรียนที่เบสลันที่ก่อเหตุโดยผู้ก่อการร้ายชาวเชเชน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 333 คน; แผ่นดินไหวเมกะทรัสต์ขนาด 9.1-9.3 ใกล้ชายฝั่งเกาะสุมาตราและสึนามิที่ตามมา ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 227,000 คน กลายเป็นหนึ่งในภัยพิบัติธรรมชาติที่รุนแรงที่สุดเท่าที่มีการบันทึกในประวัติศาสตร์
ศตวรรษ:
ปี:
2004 ในปฏิทินอื่น
ปฏิทินสุริยคติไทย2547
ปฏิทินกริกอเรียน2004
MMIV
Ab urbe condita2757
ปฏิทินอาร์มีเนีย1453
ԹՎ ՌՆԾԳ
ปฏิทินอัสซีเรีย6754
ปฏิทินบาไฮ160–161
ปฏิทินเบงกอล1411
ปฏิทินเบอร์เบอร์2954
ปีในรัชกาลอังกฤษ52 Eliz. 2 – 53 Eliz. 2
พุทธศักราช2548
ปฏิทินพม่า1366
ปฏิทินไบแซนไทน์7512–7513
ปฏิทินจีน癸未(มะแมธาตุน้ำ)
4700 หรือ 4640
    — ถึง —
甲申年 (วอกธาตุไม้)
4701 หรือ 4641
ปฏิทินคอปติก1720–1721
ปฏิทินดิสคอร์เดีย3170
ปฏิทินเอธิโอเปีย1996–1997
ปฏิทินฮีบรู5764–5765
ปฏิทินฮินดู
 - วิกรมสมวัต2060–2061
 - ศกสมวัต1926–1927
 - กลียุค5105–5106
ปฏิทินโฮโลซีน12004
ปฏิทินอิกโบ1004–1005
ปฏิทินอิหร่าน1382–1383
ปฏิทินอิสลาม1424–1425
ปฏิทินญี่ปุ่นศักราชเฮเซ 16
(平成16年)
ปฏิทินจูเช93
ปฏิทินจูเลียนกริกอเรียนลบ 13 วัน
ปฏิทินเกาหลี4337
ปฏิทินหมินกั๋วROC 93
民國93年
เวลายูนิกซ์1072915200–1104537599

พุทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินกริกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ

  • ปีวอก ฉศก จุลศักราช 1366 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)

กำหนดให้เป็น:

ผู้นำประเทศไทย

[แก้]

เหตุการณ์

[แก้]

มีนาคม

[แก้]

ไม่ทราบวัน

[แก้]

วันเกิด

[แก้]

วันถึงแก่กรรม

[แก้]

รางวัล

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "UN declares 2004 the International Year of Rice". October 31, 2003.
  2. United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. (2003). INTERNATIONAL YEAR TO COMMEMORATE THE STRUGGLE AGAINST SLAVERY AND ITS ABOLITION