ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 81: บรรทัด 81:
** 5. สพ.ญ.ดร.เมธาสุ จันทร์รอด ............
** 5. สพ.ญ.ดร.เมธาสุ จันทร์รอด ............


'''อัตราบุคลากร'''
*'''*คณะอาจารย์ผู้สอนประจำคณะสัตวแพทย์'''
** 1. ผศ.น.สพ.ธีระวิทย์ จันทร์ทิพย์ ............
-สพ.บ(สัตวแพทยศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


1.อาจารย์ผู้สอน รวม 33 ตำแหน่ง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก (ผู้ช่วยศาสราจารย์ 6 คน อาจารย์ 27 คน)
** 2.สพ.ญ.ดร.วิภาวี แสงสร้อย ................
-สพ.บ(สัตวแพทยศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


2.นายสัตวแพทย์ รวม 11 ตำแหน่ง
-MVM(Master of Veterinary Medicine),National Chung Hsing University,Republic of China(Taiwan)


3.นักวิทยาศาสตร์ /นักเทคนิคการสัตว์แพทย์ รวม 22 ตำแหน่ง
-Ph.D.: University of Liverpool ( ประเทศสหราชอาณาจักร)

** 3.สพ.ญ.กิติกานต์ สกุณา ...................
-สพ.บ(สัตวแพทยศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล

-Master of Science (Biomedical Sciences).James Cook University (ประเทศออสเตรเลีย)

-Ph.D.: Medical and Molecular Sciences, James Cook University (ประเทศออสเตรเลีย)

** 4.สพ.ญ.สินีนาฏ เข็มบุบผา ..................
-สพ.บ(สัตวแพทยศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น

-วท.ม.(ชีวเคมี).มหาวิทยาลัยนเรศวร

** 5. น.ส.มาริยา เสวกะ ...................
-วท.ม.(จุลชีววิทยาทางการแพทย์)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-ลาศึกษาต่อปริญญาเอก สาขาพยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

** 6.นางสาววราลี คงทอง .................
-วท.ม.(ชีวเคมี).มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

-ลาศึกษาต่อปริญญาเอก สาขาชีวเคมี (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์)

** 7.ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุไหลหมาน หมาดโหยด.........
-วท.ม.(วิทยาศาสตร์การเกษตร,วิทยาศาสตร์การประมง)มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

** 8. น.สพ.สิริศักดิ์ ชีช้าง ...................
-สพ.บ(สัตวแพทยศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

** 9.สพ.ญ.วิรัลฐิตา จันทร์เขียว ................
-สพ.บ(สัตวแพทยศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-ลาศึกษาต่อปริญญาโท-เอก Swedish University of Agricultural Sciences (SLU), Uppsala,(ประเทศสวีเดน)
[[ไฟล์:ป้ายคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.jpg|thumb| คณะสัตวแพทยศาสตร์ ,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย]]

** 10.สพ.ญ.เมธาสุ จันทร์รอด ...............
-สพ.บ(สัตวแพทยศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-Ph.D.: Animal Reproduction, Veterinary Medicine, Swedish University of Agricultural Sciences (SLU), Uppsala,(ประเทศสวีเดน)

** 11. สพ.ญ.วิภาพร จารุจารีต ...................
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-ลาศึกษาต่อปริญญาเอก:Parasitology , Azabu University (ประเทศญี่ปุ่น)

** 12. น.สพ.คมปกรณ์ ตาณะสุต ................
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-ลาศึกษาต่อปริญญาเอก :Microbiology, Azabu University (ประเทศญี่ปุ่น)

** 13.สพ.ญ.บุญฑริกานต์ วิทิตกรกุล ..............
-สพ.บ(สัตวแพทยศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

-Master of Science (Equine science), IBERS, Aberystwyth University (ประเทศสหราชอาณาจักร)

-ลาศึกษาต่อปริญญาเอก : Biological Sciences (Equine Parasitology and Nutrition), IBERS, Abersywyth University (ประเทศสหราชอาณาจักร)

** 14.สพ.ญ.มธุรส สุวรรณเรืองศรี ...............
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย(เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง)

-ลาศึกษาต่อปริญญาเอก : University of Miyazaki (ประเทศญี่ปุ่น)

** 15.สพ.ญ.รวิกานต์ อินทร์ช่วย ..............
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยขอนแก่น(เกียรตินิยมอันดับสอง)

-ลาศึกษาต่อปริญญาเอก สาขาวิชาสหวิทยาการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

** 16.ดร.อุมาพร ขิมมากทอง ..................
-ปร.ด. สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

** 17.นางสาวสุณิษา คงทอง ..................
-วท.ม. สาขาเภสัชวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

** 18.สพ.ญ.เฉลิมขวัญ เอื้อละพันธ์ .....
-สพ.บ(สัตวแพทยศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล

-วท.ม.นิติวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

** 19.สพ.ญ.ชญาดา หนูเสน ...............
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย(เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง)

** 20.สพ.ญ.พิมวรางค์ สุขการัณย์ ..........
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย(เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง)

** 21.น.สพ.วรรษกร ขอพลอยกลาง ............
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

** 22.สพ.ญ.ภรณ์ทิพย์ ทองมณี ..........
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

** 23.สพ.ญ.ซาราห์ นิแอ ..........
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

** 24.สพ.ญ.เฟื่องฟ้า ดำจำนงค์ ..........
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

** 25.สพ.ญ.ธัญญารัตน์ สมสู่ ..........
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยขอนแก่น

-วท.ม.(สัตวศาสตร์)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

** 26.สพ.ญ.ดิลกา ชุมทอง ..........
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

** 27.สพ.ญ.นัตติญา สังข์ศิริ ..........
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

** 28.สพ.ญ.กัตติเนตร สกุลสวัสดิพันธ์ ...............
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

-วท.ม. สาขาสัตวแพทย์สาธารณสุข มหาวิทยาลัยขอนแก่น

** 29.สพ.ญ.ดร.นิจจารีย์ญา ศิริศรีโร ..........
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-Ph.D : Molecular Biology, University of Nottingham (ประเทศสหราชอาณาจักร )

** 30.น.ส.สุภิญญา ชูใจ .................
-วท.บ.(วิทยาศาสตร์สุขภาพสัตว์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

-วท.ม.(สัตวศาสตร์)มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

** 31.สพ.ญ.นิรมล ทองเต็ม ..................
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

** 32.สพ.ญ.ณัฐนรี แรกเรียง ................
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

** 33.น.สพ.มรกต แสงรุ่ง ................
-สพ.บ.(สัตวแพทยศาสตร์)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย


4.เจ้าหน้าที่สำนักงาน /เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสัตว์ /ผู้ช่วยสัตวแพทย์ /พนักงานขับรถ /พนักงานทำความสะอาด รวม ตำแหน่ง '''อาจารย์พิเศษ'''


นอกจากนี้ยังมีคณาจารย์จากคณะอื่น ภายในมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง เป็นต้น และคณาจารย์พิเศษจากภายนอกมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์พัฒนาสัตวแพทย์ภาคใต้ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช องค์การสวนสัตว์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตและสิ่งแวดล้อม และภาคเอกชน
นอกจากนี้ยังมีคณาจารย์จากคณะอื่น ภายในมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง เป็นต้น และคณาจารย์พิเศษจากภายนอกมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์พัฒนาสัตวแพทย์ภาคใต้ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช องค์การสวนสัตว์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตและสิ่งแวดล้อม และภาคเอกชน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:25, 3 เมษายน 2563

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
Faculty of Veterinary Science
Rajamangala University of Technology Srivijaya
สถาปนา29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
คณบดีผศ.น.สพ.ธีระวิทย์ จันทร์ทิพย์ คณบดีผู้ก่อตั้ง ผศ.น.สพ.สิริศักดิ์ ชีช้าง คณบดีปัจจุบัน
ที่อยู่
133 หมู่ที่ 5 ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 80240
สีสีฟ้าหม่น
เว็บไซต์vet.rmutsv.ac.th/

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ที่ก่อตั้งแห่งแรกของภาคใต้ และลำดับที่ 7 ของประเทศ (ลำดับหลังจากคณะสัตวแพทยศาสตร์ ม.มหิดล) ตั้งอยู่ ณ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช (พื้นที่ทุ่งใหญ่) จังหวัดนครศรีธรรมราช เลขที่ 133 หมู่ที่ 5 ต.ทุ่งใหญ่ อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช 80240

ประวัติ

รองศาสตราจารย์ประชีพ ชูพันธ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยท่านแรก มีนโยบายที่จะจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ และให้อยู่ในความรับผิดชอบของคณะสัตวแพทยศาสตร์ที่จะจัดตั้งขึ้นมาใหม่ โดยในระยะแรกให้เป็นโครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ และได้แต่งตั้งให้ ศาสตราจารย์ กิตติคุณ พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป เป็นที่ปรึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ด้านการจัดการเรียนการสอนสาขาสัตวแพทยศาสตร์ และได้มอบหมายให้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ธีระวิทย์ จันทร์ทิพย์ เป็นประธานคณะกรรมการดำเนินการในการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ รับผิดชอบในการจัดทำหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปริญญาตรี 6 ปี) และดำเนินการในการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ควบคู่กัน โดยได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2548 โดยมีความเจริญก้าวหน้าและพัฒนาตามลำดับ ดังนี้

  • ตุลาคม พ.ศ.2548 แต่งตั้ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ธีระวิทย์ จันทร์ทิพย์ เป็นประธานโครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์
  • วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2551 สภามหาวิทยาลัย (การประชุมครั้งที่ 1/2551) ได้อนุมัติหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2551)
  • วันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 สภามหาวิทยาลัย (การประชุมครั้งที่ 2/2551) อนุมัติให้โครงการจัดตั้งคณะสัตวแพทยศาสตร์ ยกระดับเป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ นับเป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ลำดับที่ 1 และ 7 ของภูมิภาคใต้และประเทศไทยตามลำดับ นับเป็นมหาวิทยาลัยแรกและครั้งแรกของภูมิภาคใต้ที่มีการจัดการเรียนการสอนในสาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์
  • วันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2551 แต่งตั้งให้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ธีระวิทย์ จันทร์ทิพย์ ดำรงดำแหน่งรักษาราชการแทนคณบดี
  • มีนาคม-พฤษภาคม พ.ศ. 2551 รับนักศึกษารุ่นแรก จำนวน 42 คน
  • วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ.2551 ก่อตั้งโรงพยาบาลสัตว์ ประกอบด้วย โรงพยาบาลสัตว์เล็ก โรงพยาบาลปศุสัตว์ และศูนย์วินิจฉัยและชันสูตรโรคสัตว์
  • ปี พ.ศ.2551 เริ่มก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลสัตว์เล็ก และอาคารปฏิบัติการพื้นฐานคลินิกการสัตวแพทย์ (ปรีคลินิก)
  • ปี พ.ศ.2552 แต่งตั้งให้ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ.ธีระวิทย์ จันทร์ทิพย์ ดำรงดำแหน่งคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์
  • พ.ศ. 2552 ได้รับรองจากสถาบันการศึกษาต่อเนื่องทางสัตวแพทย์ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้สัตวแพทยสภาให้เป็น สถาบันสมทบการศึกษาต่อเนื่องทางสัตวแพทย์
  • พ.ศ.2552 หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2561) (Doctor of Veterinary Medicine Program ) ได้รับการเห็นชอบหลักสูตรจากสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ) กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (กพ.) ตามลำดับ
  • พ.ศ. 2553 ได้ใช้วิธีการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในคณะสัตวแพทยศาสตร์โดยวิธีการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบคัดเลือกรวม (Central University Admissions System: CUAS)
  • พ.ศ.2554 ได้ย้ายคณะ และโรงพยาบาลสัตว์จากที่ตั้งเดิมอาคารเรียนรวม มาอยู่ด้านหน้าวิทยาเขตฯ (ที่ตั้งปัจจุบัน ขณะนั้นประกอบด้วยอาคารโรงพยาบาลสัตว์เล็ก และอาคารปฏิบัติการพื้นฐานคลินิกการสัตวแพทย์)
  • พ.ศ. 2555 ผ่านการเห็นชอบหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุงปี 2555) จากสัตวแพทยสภา
  • ปี พ.ศ.2556 เริ่มการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลปศุสัตว์ (อาคารปศุุเขษม) และอาคารศูนย์วิจัยและคลินิกสัตว์น้ำ
  • ปี พ.ศ.2557 ก่อสร้างอาคารศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูสัตว์ (อาคารสระว่ายน้ำ)
  • วันที่ 24 มิถุนายน 2557 ผ่านการตรวจรับรองปริญญาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต เป็นสถาบันแห่งแรกของประเทศไทยที่ผ่านการรับรองหลักสูตรและสถาบันผลิตสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (แบบตรวจทีเดียวสมบูรณ์ทั้งหลักสูตร) ตามข้อกำหนดของสัตวแพทยสภาทุกประการ
  • ปี พ.ศ.2558 ได้ย้ายโรงพยาบาลปศุสัตว์ มายังอาคารปศุเขษม และเปลี่ยนชื่อเป็น โรงพยาบาลปศุสัตว์นครศรีธรรมราช
  • ปี พ.ศ.2558 ได้เปิดศูนย์วิจัยและคลินิกสุขภาพสัตว์น้ำ
  • ปี พ.ศ.2560 ได้รับการเห็นชอบหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุงปี 2560) จากสัตวแพทยสภา
  • ปี พ.ศ.2562 ผ่านการตรวจรับรองปริญญาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (ทั้งหลักสูตรและสถาบัน แบบตรวจทีเดียวสมบูรณ์ทั้งหลักสูตร)

ปรัชญา VE RI TAS (กรีก) แปลว่า ความจริง หรือ การมุ่งแสวงหาความจริงสุดท้ายของสรรพสิ่ง

ปณิธานของคณะ คือ Hard Practice Makes (Vet RMUTSV) Perfect

ปณิธานของนักศึกษา "เป็นผู้พร้อมรับการฝึกปฏิบัติอย่างหนัก เพื่อเป็นสัตวแพทย์ที่สมบูรณ์ รับใช้สังคม"

วัตถุประสงค์ /เป้าหมายของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มทร.ศรีวิชัย

1.ผลิตสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (6 ปี) เข้าสู่ระบบการผลิตสัตว์ และระบบวิทยาศาสตร์การแพทย์ของประเทศ

2.บริการวิชาการด้านวิชาชีพการสัตวแพทย์ ในรูปแบบของโรงพยาบาลสัตว์เพื่อการเรียนการสอนและบริการชุมชน

3.ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ /เทคโนโลยี /นวัตกรรมในการผลิตสัตว์ และวิชาชีพการสัตวแพทย์ รวมทั้งการสัตวแพทย์สาธารณสุข

4.วิจัยสร้างองค์ความรู้ /เทคโนโลยี /นวัตกรรมในการผลิตสัตว์ และวิชาชีพการสัตวแพทย์ เพื่อพัฒนาระบบการผลิตสัตว์ในประเทศไทย และเพิ่มขีดความสามารถในการส่งออกและการแข่งขัน

5.ส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม /ประเพณีที่ดีงามของชาติ รวมทั้งการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

วิสัยทัศน์

ศูนย์กลางการศึกษา /วิจัยด้านโรคสัตว์เขตร้อน

คณะที่ปรึกษาในการจัดทำหลักสูตร

  • 1 ศ. กิตติคุณ พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป...... อาจารย์ชำนาญการ ช่วยราชการ สำนักงานสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติ
  • 2. น.สพ. ประเทือง สุดสาคร .................คณะที่ปรึกษาสัตวแพทย์สมาคมแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปภัมภ์
  • 3. รศ.น.สพ.ดร. สุวิชัย โรจนเสถียร .......อดีตคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และคณะกรรมการสัตวแพทยสภาวาระ พ.ศ. 2545-2548(ปัจจุบันดำรงตำแหน่งนายกสัตวแพทยสภา)
  • 4. รศ.น.สพ. ประจักษ์ พัวเพิ่มพูลสิริ .......อดีตคณบดีคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและคณะกรรมการสัตวแพทยสภาวาระ พ.ศ. 2545-2548
  • 5. น.สพ. สาทร โชติโกวิท ....................ผู้ชำนาณการและที่ปรึกษาด้านอาหารและยาสัตว์ในบริษัทเอกชน

อาจารย์ประจำหลักสูตร (สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560)) (หลักสูตร 6 ปี)

    • 1. ผศ.น.สพ.ธีระวิทย์ จันทร์ทิพย์ ...........
    • 2. ผศ.สพ.ญ.ดร.วิภาวี แสงสร้อย ..................
    • 3. ผศ.สพ.ญ.สินีนาฎ เข็มบบุปผา...............
    • 4. ผศ.ดร.อุมาพร ขิมมากทอง.................
    • 5. สพ.ญ.ดร.เมธาสุ จันทร์รอด ............

อัตราบุคลากร

1.อาจารย์ผู้สอน รวม 33 ตำแหน่ง ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก (ผู้ช่วยศาสราจารย์ 6 คน อาจารย์ 27 คน)

2.นายสัตวแพทย์ รวม 11 ตำแหน่ง

3.นักวิทยาศาสตร์ /นักเทคนิคการสัตว์แพทย์ รวม 22 ตำแหน่ง

4.เจ้าหน้าที่สำนักงาน /เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสัตว์ /ผู้ช่วยสัตวแพทย์ /พนักงานขับรถ /พนักงานทำความสะอาด รวม ตำแหน่ง อาจารย์พิเศษ

นอกจากนี้ยังมีคณาจารย์จากคณะอื่น ภายในมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง เป็นต้น และคณาจารย์พิเศษจากภายนอกมหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์พัฒนาสัตวแพทย์ภาคใต้ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช องค์การสวนสัตว์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตและสิ่งแวดล้อม และภาคเอกชน

หลักสูตรการศึกษา

คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ได้รับนักศึกษารุ่นแรกเข้าศึกษาในปีการศึกษา 2551 และ ปีการศึกษา 2553 ได้ทำการเปิดรับนักศึกษาโดยวิธีการคัดของการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบคัดเลือกรวม (Central University Admissions System: CUAS) ลักษณะของกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 9 และฉบับที่ 10 และ ซึ่งสอดคลองกับการการจุดมุ่งหมายของมหาวิทยาลัยในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ ในด้านสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย หลักสูตร จะมีการเน้น ผลิตบัณฑิตสาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ที่มีความรู้ความสามารถทั่วไปทางวิชาชีพการสัตวแพทย์ (General Veterinary Practitioner) การปฏิบัติเกี่ยวกับสัตว์สำหรับบริโภค (Food Producing Animal) การปฏิบัติเกี่ยวกับสัตว์น้ำ (Aquatic Animal) และการปฏิบัติเกี่ยวกับการสัตวแพทยสาธารณสุข (Veterinary Public Health) เพื่อรับใช้ชุมชนและท้องถิ่น

  • หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560) (หลักสูตรปริญญาตรี 6 ปี)
  • หมวดวิชาทั่วไป 31 หน่วยกิต
  • หมวดวิชาเฉพาะ 211 หน่วยกิต
  • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
  • จำนวนหน่วยกิจรวมตลอดหลักสูตร 249 หน่วยกิต
  • จุดเน้นของหลักสูตร
    • สัตว์สำหรับบริโภค (Food producing animal) เช่น วัวเนื้อ แพะ ไก่พื้นเมือง
    • สัตว์น้ำ (Aquatic Animals) เช่น ปลาน้ำจืด ปลาน้ำกร่อย ปลาทะเล กุ้งทะเลและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยในทะเลและสัตว์หายาก
    • สัตวแพทย์สาธารณสุข (Veterinary public health)
    • สัตว์เพื่อการกีฬา เช่น วัวชน และม้า
  • วิชาเลือกพิเศษ
    • การดำน้ำสำหรับนักศึกษาสัตวแพทย์
    • การขี่ม้าสำหรับนักศึกษาสัตวแพทย์
    • ธุรกิจพื้นฐานสำหรับสัตวแพทย์
  • นักศึกษาแลกเปลี่ยน
    • ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
    • ประเทศไต้หวัน
    • ประเทศญี่ปุ่น
    • ประเทศออสเตรเลีย
    • ประเทศเวียดนาม
  • เงื่อนไขหลักสูตร
    • สำเร็จการศึกษาชั้นปีที่ 3 นักศึกษาต้องผ่านการสอบประมวลความรู้พื้นฐานทางคลินิกการสัตวแพทย์ (Pre-clinical comprehensive examination) จึงสามารถเข้าศึกษาในระดับคลินิกการสัตวแพทย์ได้ (ชั้นปีที่ 4)
    • สำเร็จการศึกษาขั้นปีที่ 6 นักศึกษาต้องผ่านการสอบประมวความรู้ด้านคลินิกการสัตวแพทย์ (Clinical comprehensive examination) จึงจะสำเร็จการศึกษาอย่างสมบูรณ์

ปัจจุบัน จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรของคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ใน 1 หลักสูตร ใช้ระยะเวลาในการศีกษารวม 6 ปี คือ

ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
  • หลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (Veterinary Medicine Program)
  • ปริญญา:สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.) หรือ Doctor of Veterinary Medicine (D.V.M)

-

-

หน่วยงานสังกัดคณะสัตวแพทยศาสตร์

  • สำนักงานคณบดี
    • ฝ่ายบริหารและพัฒนา
      • งานสารบรรณ
      • งานการเงินและบัญชี
      • งานพัสดุ
      • งานบุคลากร
      • งานยานพาหนะ
      • งานสาธารณูปโภคพื้นฐาน
      • งานวิเทศสัมพันธุ์
      • งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
      • งานประชาสัมพันธ์
    • ฝ่ายวิชาการ
      • งานประกันคุณภาพการศึกษา
      • งานสภาวิชาชีพ
      • งานวิจัย
      • งานบริการวิชาการ
      • งานวิชาการ
      • งานบริหารหลักสูตร
      • งานทะเบียนนักศึกษา
      • สาขา
      • ศูนย์เอกสารเอกสารสัตว์ ศ. กิตติคุณ พีระศักดิ์ จันทร์ประทีป
      • งานบัณฑิตศึกษา
    • ฝ่ายพัฒนานักศึกษา
      • งานกิจกรรมนักศึกษา
      • งานส่งเสริมและพัฒนาวินัย
      • งานส่งเสริมการกีฬา
      • งานสวัสดิการนักศึกษา
      • สโมสรนักศึกษา
        • ฝ่ายวิชาการ นักศึกษาสัมพันธ์ กีฬา พัฒนาและบำเพ็ญประโยชน์ และศิลปวัฒนธรรม
        • ชมรม /ชุมนุม /กลุ่มสนใจ
      • งานศิษย์เก่าสัมพันธ์
  • สาขาชีวเวชศาสตร์การสัตวแพทย์
    • ห้องปฏิบัติการชีวเคมีการสัตวแพทย์
    • ห้องปฏิบัติการจุลกายวิภาคศาสตร์
    • ห้องปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร์การสัตวแพทย์
    • ห้องปฏิบัติการสรีรวิทยาการสัตวแพทย์
    • ห้องปฏิบัติการอาหารสัตว์ (ศูนย์วิจัยโภนศาสตร์คลินิกสัตว์)
    • ห้องปฏิบัติการเภสัชวิทยาการสัตวแพทย์
  • สาขาพยาธิชีววิทยาการสัตวแพทย์
    • ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาการสัตวแพทย์
    • ห้องปฏิบัติการไวรัสวิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกันการสัตวแพทย์
    • ห้องปฏิบัติการปรสิตวิทยาการสัตวแพทย์
    • ห้องปฏิบัติการจุลพยาธิการสัตวแพทย์
    • ห้องปฏิบัติการชันสูตรซากสัตว์
  • สาขาเวชศาสตร์คลินิกการปศุสัตว์และสัตว์น้ำ (ใช้งานโรงพยาบาลปศุสัตว์ฯ ศูนย์วิจัยและคลินิกสัตว์น้ำ หน่วยสัตวแพทย์เคลื่อนที่ ศูนย์วินิจฉัยและชันสูตรโรคสัตว์ )
    • เวชศาสตร์คลินิกสัตว์เคี้ยวเอื้อง (กระบือ แพะแกะ วัวเนื้อ วัวชน) สุกร ม้า สัตว์ปีก สัตว์น้ำ สัตว์ป่าและสัตว์สวยงาม
    • ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการสืบพันธุ์สัตว์
    • ศูนย์วิจัยโภชนศาสตร์คลินิกสัตว์
    • ศูนย์วิจัยและพัฒนาการกีฬาวัวชนนานาชาติ (วัวชน ม้า)
  • สาขาเวชศาสตร์คลินิกสัตว์เลี้ยง (ใช้งานโรงพยาบาลสัตวฺเล็ก ศูนย์วินิจฉัยและชันสูตรโรคสัตว์ และศุูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูสัตว์)
    • เวชศาสตร์คลินิกสัตว์เล็ก (สุนัข แมว) และสัตว์วิเทศ
    • วิทยาศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์การฟื้นฟูสัตว์ (สุนัข แมว)
  • สาขาสัตวแพทย์สาธารณสุข
    • ห้องปฏิบัติการตรวจคุณภาพน้ำนม เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
    • ห้องปฏิบัติการตัดแต่งซากสัตว์ (แพะ)
    • ห้องปฏิบัติการพัฒนาผลิตภัณฑ์สัตว์ (เนื้อ นม ไข่)
  • โรงพยาบาลสัตว์เพื่อการเรียนการสอนและบริการชุมชน ประกอบด้วย
    • โรงพยาบาลสัตว์เล็ก
      • สำนักงานผู้อำนวยการ
      • งานศัลยกรรม
      • งานอายุรกรรมและวัคซีน
      • งานสูติกรรม
      • งานทันตกรรม
      • งานภาพวินิจฉัย
      • ห้องพักสัตว์ป่วยทั่วไป /วิกฤติ /ติดเชื้อ
      • งานเภสัชกรรม
      • คลินิกพิเศษ (จักษุวิทยา ผิวหนัง)
      • โรงพยาบาลสัตว์เล็กส่วนหน้า (ไสใหญ่)
    • ศูนย์วินิจฉัยและชันสูตรโรคสัตว์
      • สำนักงานผู้อำนวยการ
      • หน่วยโลหิตวิทยาและภูมิคุ้มกัน
      • หน่วยจุลชีววิทยา (แบคทีเรีย รา และไวรัส)
      • หน่วยปรสิตวิทยา
      • หน่วยพยาธิวิทยา
      • หน่วยชันสูตรซากสัตว์
    • ศูนย์วิจัยและคลินิกสัตว์น้ำ
      • สำนักงานผู้อำนวยการ
      • คลินิกสัตว์น้ำ
      • ห้องปฏิบัติการโรคสัตว์น้ำ
      • ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำและสิ่งแวดล้อม
      • หน่วยวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
      • ศูนย์วิจัยและคลินิกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยในทะเลและสัตว์หายาก (ร่วมกับสถาบันทรัพยากรฯ อันดามัน มทร.วิทยาเขตตรัง และ ทช)
    • ศุูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬาและเวชศาสตร์ฟื้นฟูสัตว์
      • หน่วยวิทยาศาสตร์การกีฬาสัตว์
      • หน่วยเวชศาสตร์ฟื้นฟูสัตว์
    • โรงพยาบาลปศุสัตว์นครศรีธรรมราช
      • สำนักงานผู้อำนวยการ
      • งานอายุกรรม /ศัลยกรรม /สูติศาสตร์ /ภาพวินิจฉัย
      • คลินิกสัตว์เคี้ยวเอื้อง
      • คลินิกม้า
      • คลินิกสุกร
      • คลินิกสัตว์ปีก
      • คลินิกสัตว์ป่าและสัตว์สวยงาม
      • อาคารพักสัตว์ป่วย
  • หน่วยสัตวแพทย์เคลื่อนที่
    • หน่วยปศุสัตว์ /ม้า
    • หน่วยสัตว์เล็ก และการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
    • หน่วยวิชาการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม
  • ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องการสัตวแพทย์
    • ศูนย์ฝึกอบรมการสัตวแพทย์
    • ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมการสัตวแพทย์
  • หน่วยวิจัยและพัฒนาการผลิต สุขภาพและเศรษฐกิจปศุสัตว์ภาคใต้
    • ศูนย์วิจัยและพัฒนาการกีฬาวัวชนนานาชาติ (มหา'ลัยวัวชนนานาชาติ)
    • ศูนย์วิจัยเทคโนชีวภาพการสืบพันธุ์สัตว์
    • ศูนย์วิจัยโภชนศาสตร์คลินิกสัตว์
    • มหา'ลัยแพะนานาชาติกระบี่ /นครศรีธรรมราช
    • สถาบันพัฒนาเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์
    • ศูนย์วิจัยสมุนไพรในสัตว์
    • ศูนย์วิจัยการสร้างมูลค่าเพิ่มเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์
    • ศูนย์วิจัยและส่งเสริมความปลอดภัยทางอาหาร
    • ศูย์วิจัยและศูนย์ฝึกนักศึกษาคณะสัตวแพทยศาสตร์ (ศูนย์วิจัยและศูนย์ฝึกทุ่งสัง)
    • ศูนย์วิจัยและคลินิกสัตว์น้ำ
  • หน่วยงานภายใต้ความร่วมมือ
    • ศูนย์วิจัยและคลินิกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยในทะเลและสัตว์หายาก (ร่วมกับสถาบันทรัพยากรฯ อันดามัน มทร.วิทยาเขตตรัง และ ทช)
    • มหา'ลัยแพะนานาชาติ กระบี่ (ร่วมมือกับสภาการศึกษาจังหวัดกระบี่)
  • มหาวิทยาลัยภายใต้ความร่วมมือเป็นทางการ
    • Jame's Cook University ประเทศออสเตรเลีย
    • National Chung Hsing University ประเทศไต้หวัน
    • South West University ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
    • Nong Lam University ประเทศเวียดนาม
  • มหาวิทยาลัยที่อยู่ระหว่างการพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการ
    • Azabu University ประเทศญี่ปุ่น
    • University of Miyazaki ประเทศญี่ปุ่น
    • London School of Hygiene & Tropical Medicine ประเทศอังกฤษ
    • Aberystwyth University ประเทศอังกฤษ
  • กิจกรรมนักศึกษา (ชมรม)
    • ชมรมสัตวแพทยศาสตร์ราชมงคลศรีวิชัยอาสาพัฒนาชนบท
    • ชมรมป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
    • ชมรมคนรักกล้อง
    • ชมรมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
  • สวัสดิการนักศึกษา
    • หอพักนักศึกษา
    • กองทุนเงินกู้เพื่อการศึกษา (กยศ)
    • กองทุนการศึกษาคณะ /มหาวิทยาลัย
    • ประกันสุขภาพ /อุบัติเหตุ
    • งานอนามัย /ห้องพยาบาล /บริการส่งต่อเมื่อเกิดอุบัติเหตุ /เจ็บป่วย
    • นักศึกษาแลกเปลี่ยน
    • สนามกีฬา ยิมเนเซี่ยม ฟิตเนส
    • การให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา
    • ศาสนพิธี /ศาสนสถาน
    • ยานพาหนะสำหรับจัดการเรียนการสอน/ฝึกงาน /ฝึกทักษะ นอกสถานที่
    • การรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชม.
    • ห้องสมุดคณะ /สำนักวิทยบริการ (วิทยาเขต)
    • ห้องคอมพืวเตอร์
    • ระบบอินเตอร์เนตในคณะ /วิทยาเขต /หอพัก
  • การเตรียมนักศึกษาก่อนเข้าศึกษา
    • ประชุมผู้ปกครองและนักศึกษา
    • ปฐมนืเทศระดับวิทยาเขต
    • ค่ายคุณธรรม
    • ค่ายพัฒนาคุณธรรมสู่วิชาชีพการสัตวแพทย์
  • การเข้าศึกษาต่อในคณะสัตวแพทยศาสตร์
    • การสอบคัดเลือกโดยตรงกับทางคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
    • การสอบคัดเลือกนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษในด้าน กิจกรรม เรียนดี และกีฬา
    • การสอบคัดเลือกนักเรียนในเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสตูล)
    • การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาระบบคัดเลือกรวม (Central University Admissions System: CUAS)

(รายละเอียดการเข้าศึกษาต่ออาจจะเปลี่ยนแปลงในแต่ละปี)

การเดินทาง

  • เดินทางจากกรุงเทพมหานครสามารถเดินทางได้ 3 วิธี ด้วยกันคือ
  • เดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัว จาก กรุงเทพมหานครนั้น เมื่อผ่าน ทางหลวงหมายเลข 9 (ถนนวงแหวนรอบนอก) แล้วจะมีถนนจำนวน3เส้นที่สามารถ เดินทางลงมาภาคใต้จำนวน3เส้นทาง คือ
  • ทางหลวงหมายเลข 338 (บรมราชชนนี) จะไปบรรจบกับทางหลวงหมายเลข 4(เพชรเกษม) จ.นครปฐม
  • ทางหลวงหมายเลข 35 (ธนบุรี-ปากท่อ) ผ่าน จ สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และจะไปบรรจบกับทางหลวงหมายเลข 4(เพชรเกษม)ที่ อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี
  • ทางหลวงหมายเลข 4(เพชรเกษม) ผ่าน จ.นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธื ชุมพร
  • เมือถึง สีแยกปฐมพร อ เมือง จ.ชุมพรให้เปลี่ยนเส้นทางใช้ทางหลวงหมายเลข 41 ผ่านจังหวัดสุราษฏร์ธานี และเข้าสู่ นครศรีธรรมราช คณะสัตวแพทยสาสตร์จะติดกับถนนทางหลวงหมายเลข 41 หลัก กมที่ 261 (ข้อสังเกต หากเดินทางมาจาก สุราษฎร์ธานี เมือผ่านสามแยกทุ่งใหญ่ อีกประมาณ3 กม จะถึงตัวคณะสัตวแพทยศาสตร์ หากเดินทางจาก อ ทุ่งสง จ นครศรีธรรมราช จะพบกับปั้ม ปตท และ สามแยกจันดี อีก 7กมจะถึงตัวคณะสัตวแพทยศาสตร์)
  • เดินทางโดยรถไฟ มีรถทุกขบวนที่เดินทางมาภาคใต้ โดยลงที่สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง แล้ว ใช้รถโดยสารท้องถิ่นเดินทางมาที่คณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้แก่ รถโดยประจำทางทุ่งสง-ถ้ำพรรณรา รถโดยสารประจำทาง ทุ่งสง-สุราษฎร์ธานี
  • เดินทางเครืองบิน สามารถเดินทางจาก สนามบินสุวรรณภูมิ ไปลงสนามบิน3ที่ ด้วยกันคือ
  • สนามบินกระบี่ [1]แล้วต่อรถตู้โดยสาร กระบี่-ทุ่งใหญ่
  • สนามบินสุราษฎร์ธานี และใช้รถโดยสารประจำทางสายระนอง-หาดใหญ่ หรือ รถโดยสารประจำทางสายชุมพร-หาดใหญ่
  • /สนามบินนครศรีธรรมราช
  • รถทัวปรับอากาศที่ผ่านคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย [2]
  • กรุงเทพ-ทุ่งสง
  • กรุงเทพ-ตรัง
  • กรุงเทพ-สตูล
  • กรุงเทพ-หาดใหญ่-ปาดังเบซา
  • กรุงเทพฯ-ปัตตานี-ยะลา
  • กรุงเทพฯ-สุไหงโก-ลก
  • กรุงเทพ-พัทลุง
  • กรุงเทพ-จะนะ-นาทวี
  • ชุมพร-หาดใหญ่(รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ)
  • ระนอง-หาดใหญ่ (รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ)
  • สุราษฎร์ธานี-หาดใหญ่(รถโดยสารประจำทางปรับอากาศและรถตู้ปรับอากาศ)
  • สุราษฎร์ธานี-ทุ่งสง(รถโดยสารประจำทางปรับอากาศ)
  • สุราษฎร์ธานี-ตรัง (รถตู้ปรับอากาศ)
  • ทุ่งสง-ถ้ำพรรณรา(รถสองแถว)

แหล่งข้อมูลอื่น

อ้างอิง