ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก่

ประมุขหลักฝ่ายสัมพันธมิตร: สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร, แรมง ปวงกาเร แห่งฝรั่งเศส, จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย, พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี, สมเด็จพระจักรพรรดิโยชิฮิโตะ แห่งญี่ปุ่น และ วูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐ

ผู้นำหลักฝ่ายสัมพันธมิตร: เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ), ฮาระ ทากาชิ (ญี่ปุ่น) และนิโคไล โกลิตสิน (รัสเซีย)
ประมุขรองฝ่ายสัมพันธมิตร: สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 (เซอร์เบีย), สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 (เบลเยียม), พระเจ้านิกอลาที่ 1 (มอนเตเนโกร), พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (สยาม), เฟอร์ดินานด์ที่ 1 (โรมาเนีย), พระเจ้ากอนสตันดีโนสที่ 1 (กรีซ), แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีด (ลักเซมเบิร์ก) และหลี ยฺเหวียนหง (จีน)
จักรวรรดิรัสเซีย[แก้]
- จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 – จักรพรรดิแห่งรัสเซีย พระมหากษัตริย์โปแลนด์ และแกรนด์ดยุกแห่งฟินแลนด์
- ไอวาน กเรไมีกิน – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (1 สิงหาคม 1914 – 2 กุมภาพันธ์ 1916)
- บอริส สเตอร์เมอร์ – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (2 กุมภาพันธ์1916 – 23 พฤศจิกายน 1916)
- Alexander Trepov – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (23 พฤศจิกายน 1916 – 27 ธันวาคม 1916)
- นิโคไล โกลิตสิน – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (27 ธันวาคม 1916 – 9 มกราคม 1917)
- แกรนด์ดยุกนิโคลัส – ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของรัสเซีย
จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ[แก้]
สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์[แก้]

- เอช. เอช. แอสควิธ – นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร (จนกระทั่ง 5 ธันวาคม 1916)
- เดวิด ลอยด์ จอร์จ – นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร (ตั้งแต่ 7 ธันวาคม 1916)
- เฮอร์เบิร์ต คิตชิเนอร์ – รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสงครามสหราชอาณาจักร
- ดักลาส เฮก – ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองกำลังรบนอกประเทศบริติช
- วินสตัน เชอร์ชิล – ลอร์ดเอกแห่งกระทรวงทหารเรือ
เครือรัฐออสเตรเลีย[แก้]
- โจเซฟ คุก – นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย (จนกระทั่ง 17 กันยายน 1914)
- แอนดรูว์ ฟิชเชอร์ – นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย (17 กันยายน 1914 – 27 ตุลาคม 1915)
- บิลลี ฮิวจ์ส – นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย (ตั้งแต่ 27 ตุลาคม 1915)
- Ronald Munro Ferguson – ผู้สำเร็จราชการออสเตรเลีย
แคนาดา[แก้]

- โรเบิร์ต บอร์เดน – นายกรัฐมนตรีแคนาดา
- ดยุกแห่งคอนน็อตและสแตรธเอิร์น – ผู้สำเร็จราชการแคนาดา (1911–1916)
- The Duke of Devonshire – ผู้สำเร็จราชการแคนาดา (1916–1921)
บริติชอินเดีย[แก้]
- Charles Hardinge – อุปราชแห่งอินเดีย (1910–1916)
- Frederic Thesiger – อุปราชแห่งอินเดีย (1916–1921)
สหภาพแอฟริกาใต้[แก้]
- หลุยส์ โบธา – นายกรัฐมนตรีแอฟริกาใต้
- The Earl of Buxton – ผู้สำเร็จราชการแอฟริกาใต้
นิวซีแลนด์[แก้]
- วิลเลียม แมสซีย์ – นายกรัฐมนตรีนิวซีแลนด์
- The Earl of Liverpool – ผู้สำเร็จราชการนิวซีแลนด์
นิวฟันด์แลนด์[แก้]
- Sir Edward Morris – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1909–1917)
- Sir John Crosbie – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1917–1918)
- Sir William Lloyd – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1918–1919)
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3[แก้]

- แรมง ปวงกาเร – ประธานาธิบดีฝรั่งเศส
- René Viviani – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (13 มิถุนายน 1914 - 29 ตุลาคม 1915)
- Aristide Briand – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (29 ตุลาคม 1915 - 20 มีนาคม 1917)
- Alexandre Ribot – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (20 มีนาคม 1917 - 12 กันยายน 1917)
- Paul Painlevé – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (12 กันยายน 1917 - 16 พฤศจิกายน 1917)
- ฌอร์ฌ เกลม็องโซ – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 1917)
- โฌแซ็ฟ ฌ็อฟร์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง 13 ธันวาคม 1916)
- โรเบิร์ต นีเวลล์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง เมษายน 1917)
- ฟีลิป เปแต็ง – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (ตั้งแต่ เมษายน 1917)
ราชอาณาจักรอิตาลี[แก้]

- พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 – พระมหากษัตริย์อิตาลี
- Antonio Salandra – นายกรัฐมนตรีอิตาลี (จนกระทั่ง 18 มิถุนายน 1916)
- เปาโล โบเซลลี – นายกรัฐมนตรีอิตาลี (จนกระทั่ง 29 ตุลาคม 1917)
- วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด – นายกรัฐมนตรีอิตาลี (ตั้งแต่ 29 ตุลาคม 1917)
- ลุยจิ คาดอร์นา – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี
- อาร์มันโด้ ดิแอซ – ผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี
- Luigi, Duke of Abruzzi – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองเรือเอเดรียติกอิตาลี
- เปาโล เทออน ดิ เรเวล – พลเรือเอกของกองทัพเรือราชอาณาจักรอิตาลี
ราชอาณาจักรเซอร์เบีย[แก้]
- สมเด็จพระเจ้าปีเตอร์ที่ 1 – พระมหากษัตริย์เซอร์เบีย
- นิโคลา ปาซิช – นายกรัฐมนตรีเซอร์เบีย
- ราโดเมียร์ ปุตนิก – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกเซอร์เบีย
จักรวรรดิญี่ปุ่น[แก้]

- สมเด็จพระจักรพรรดิโยชิฮิโตะ – จักรพรรดิญี่ปุ่น
- โอกูมะ ชิเงโนบุ – นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (จนกระทั่ง 9 ตุลาคม 1916)
- เทราอูจิ มาซาตาเกะ – นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (จนกระทั่ง 29 กันยายน 1918)
- ฮาระ ทากาชิ – นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (ตั้งแต่ 29 กันยายน 1918)
- คาโต ซาดาคิจิ – ผู้บัญชาการของกองเรือที่ 2 สนับสนุนการรบในการล้อมชิงเต่า
- โคโซ ซาโต – ผู้บัญชาการของกองเรือเฉพาะกิจลำดับที่ 2 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
- คามิโอะ มิตสึโอมิ – ผู้บัญชาการของกองทัพสัมพันธมิตรที่ชิงเต่า
ราชอาณาจักรโรมาเนีย[แก้]
- เฟอร์ดินานด์ที่ 1 – พระมหากษัตริย์โรมาเนีย
- อียอน อี. เช. เบรอตียานู – นายกรัฐมนตรีโรมาเนีย
- อเล็กซานดรู อาเวเรสกู – ผู้บัญชาการของกองทัพบกที่ 2, กองทัพบกที่ 3 รวมถึงกลุ่มกองทัพบกทิศใต้ และ นายกรัฐมนตรีโรมาเนีย
สหรัฐ[แก้]

- วูดโรว์ วิลสัน – ประธานาธิบดีสหรัฐ
- โทมัส อาร์. มาร์แชลล์ – รองประธานาธิบดีสหรัฐ
- นิวตัน ดี. เบเคอร์ – รัฐมนตรีว่าการทบวงการสงครามสหรัฐ
- โจเซฟิอุส แดเนียลส์ – รัฐมนตรีว่าการทบวงทหารเรือสหรัฐ
- ทาสเกอร์ เอช. บลิส – เสนาธิการทหารบกสหรัฐ
- เพย์ตัน ซี. มาร์ช – เสนาธิการทหารบกสหรัฐ
- จอห์น เจ. เพอร์ชิง – ผู้บัญชาการของกองกำลังรบนอกประเทศอเมริกัน
- วิลเลียม ซิมส์ – ผู้บัญชาการของกองทัพเรือสหรัฐในน่านน้ำยุโรป
- เมสัน แพทริก – ผู้บัญชาการของกองกำลังทางอากาศแห่งทหารบก
- ฮันเตอร์ ลิกเก็ตต์ – ผู้บัญชาการของเหล่าทหารไอ และกองทัพบกสหรัฐที่ 1
- โรเบิร์ต ลี บูลลาร์ด – ผู้บัญชาการของกองทัพบกสหรัฐที่ 2
สาธารณรัฐโปรตุเกสที่หนึ่ง[แก้]
- เบอร์นาร์ดิโน มาชาโด – ประธานาธิบดีโปรตุเกส (จนกระทั่ง 12 ธันวาคม 1917)
- อฟอนโซ กอสตา – นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส (จนกระทั่ง 15 มีนาคม 1916; เป็นอีกครั้ง 25 เมษายน 1917 – 10 ธันวาคม 1917)
- แอนโตนิโอ โคเซ เดอ อัลเมดา – นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส (15 มีนาคม 1916 – 25 เมษายน 1917)
- Sidónio Pais – นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส (11 ธันวาคม 1917 – 9 พฤษภาคม 1918) และ ประธานาธิบดีโปรตุเกส (ตั้งแต่ 9 พฤษภาคม 1918)
- ฟือร์นังดู ทามักนินี ดา อับเรอู เอ ซิลวา – ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพรบนอกประเทศโปรตุเกส
ราชอาณาจักรสยาม[แก้]

- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว – พระมหากษัตริย์สยาม
- เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) – เสนาบดีกระทรวงกลาโหมสยาม
- สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ – เสนาธิการทหารบกของกองทัพบกสยาม
- พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) – หัวหน้าคณะทูตทหารสยาม และ ผู้บัญชาการของกองทหารอาสาสยามในแนวรบด้านตะวันตก
ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร[แก้]
- พระเจ้านิกอลาที่ 1 – พระมหากษัตริย์มอนเตเนโกร
- จันโก้ วูโคติช – นายกรัฐมนตรีมอนเตเนโกร
- โบซิดาร์ ยานโควิช – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพมอนเตเนโกร
- เปตาร์ เพซิช – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพมอนเตเนโกร
ราชอาณาจักรเบลเยียม[แก้]

- สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1 – พระมหากษัตริย์เบลเยียม
- ชาร์ลส์ เดอ บรอควิลล์ – นายกรัฐมนตรีเบลเยียม
- Félix Wielemans – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกเบลเยียม
สาธารณรัฐบราซิลที่ 1[แก้]
- เวเซเลา บราส – ประธานาธิบดีบราซิล
- เออร์บาโน ซังตูช ดา กอสตา อาราโฮ – รองประธานาธิบดีบราซิล
- Pedro Frontin – ผู้บัญชาการของกองทัพเรือบราซิล
- José Pessoa Cavalcanti de Albuquerque – ผู้บัญชาการของกองทัพบกบราซิลในฝรั่งเศส
- Napoleão Felipe Aché – ผู้บัญชาการของกองกำลังทหารบราซิลในฝรั่งเศส
- Nabuco Gouveia – ผู้บัญชาการของกองทหารแพทย์บราซิล
ราชอาณาจักรกรีซ[แก้]
- พระเจ้ากอนสตันดีโนสที่ 1 – พระมหากษัตริย์กรีซ (จนกระทั่ง 11 มิถุนายน 1917)
- พระเจ้าอาเลกซันโดรส – พระมหากษัตริย์กรีซ (ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 1917)
- อีเลฟเทริออส เวนิเซลอส – นายกรัฐมนตรีกรีซ
- พานาจิโอติส ดังลิส – นายพลของกองทัพบกกรีซ
ราชรัฐลักเซมเบิร์ก[แก้]
- แกรนด์ดัชเชสมารี-อาเดลาอีด – แกรนด์ดัสเชสลักเซมเบิร์ก
- ปอล เอยเช็น – นายกรัฐมนตรีลักเซมเบิร์ก
สาธารณรัฐจีน[แก้]
- หลี ยฺเหวียนหง – ประธานาธิบดีจีน (1916–1917)
- Feng Guozhang – ประธานาธิบดีจีน (1917–1918)
- ต้วน ฉีรุ่ย – นายกรัฐมนตรีจีน
ราชอาณาจักรฮิญาซ[แก้]
- ฮุสเซน บิน อาลี – พระมหากษัตริย์ฮิญาซ
เอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์[แก้]
- เอมีร์อับดุลอะซีซ อิบน์ ซะอูด – เอมีร์นัจญด์และฮะซาอ์
สาธารณรัฐอาร์มีเนียที่ 1[แก้]
- Hovhannes Kajaznuni – นายกรัฐมนตรีอาร์มีเนีย
สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 1[แก้]
- โตมาช มาซาริค – ประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกีย
- มิลาน รัสติสลาฟ สเตฟานิค – ผู้บัญชาการของกองพลเชโกสโลวาเกีย