ตัวเลขอารบิก
ระบบเลขตามพัฒนาการ | |
---|---|
ตัวเลขฮินดู-อารบิก | |
อารบิกตะวันตก อารบิกตะวันออก เขมร มอญ |
อินเดีย พราหฺมี ไทย |
ตัวเลขเอเชียตะวันออก | |
จีน ญี่ปุ่น |
เกาหลี |
ตัวเลขที่ใช้ตัวอักษร | |
แอ็บยัด อาร์มีเนีย ซีริลลิก กีเอส |
ฮีบรู ไอโอเนียน/กรีก สันสกฤต |
ตัวเลขระบบอื่น ๆ | |
แอตติก อีทรัสคัน โรมัน |
บาบิโลเนีย อียิปต์ มายา |
รายชื่อระบบเลข | |
ระบบเลขตามฐาน | |
เลขฐานสิบ (10) | |
2, 4, 8, 16, 32, 64 | |
3, 9, 12, 24, 30, 36, 60, อื่น... | |
เลขอารบิก เป็นสัญลักษณ์ตัวเลขที่นิยมใช้กันมากที่สุดในโลก[ต้องการอ้างอิง] และนับว่าเป็นส่วนสำคัญในชีวิตประจำวัน มีหลักฐานพอที่จะสืบประวัติไปได้ ว่า เกิดริเริ่มเป็นกำหนดนับแพร่หลายมาถึงปัจจุบัน จากนักปราชญ์แห่งอาหรับ ชาวแบกแดด (อิรัก)[1] ชื่อ มุฮัมมัด อิบน์ มูซา อัลคอวาริซมีย์ ซึ่งมีช่วงชีวิตในประวัติศาสตร์ราว ปี ค.ศ. 780 ถึง 840 (เฉพาะเลข 0 ว่าดั้งเดิมเกิดจาก นักปราชญ์อารยธรรมอินเดีย)[ต้องการอ้างอิง] เขาเป็นนักปราชญ์วิทยาการที่ชอบแปลหนังสือภาษากรีก และสนใจด้านคณิตศาสตร์ สิ่งที่เขาทำคือ การอธิบายคณิตศาสตร์และตัวเลขให้เข้าใจง่าย เพื่อประโยชน์และความจำเป็นทั่วไป สำหรับคนทั่วไปในงานช่างและการคำนวณ การแบ่งทรัพย์สิน การจัดการมรดกและมอบทรัพย์สินให้ตามพินัยกรรม การฟ้องร้อง การค้าขาย การวัดที่ดิน และตลอดถึงการทำบัญชี. เพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว อัลควาราซมีย์ เสนอสมการที่แก้ไขได้ ด้วยมาตรการและมาตรฐานทางตัวเลข เขากำหนดให้มีเลข 0 และตัวเลขอารบิก
ตัวเลขอารบิกประกอบไปด้วย 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตารางแบ่งตามอักษร[แก้]
ค่า | 0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อาระบิกตะวันตก | ٠ | ١ | ٢ | ٣ | ٤ | ٥ | ٦ | ٧ | ٨ | ٩ |
อาระบิกตะวันออก | ۰ | ۱ | ۲ | ۳ | ۴ | ۵ | ۶ | ۷ | ۸ | ۹ |
เทวนาครี | ० | १ | २ | ३ | ४ | ५ | ६ | ७ | ८ | ९ |
คุชราต | ૦ | ૧ | ૨ | ૩ | ૪ | ૫ | ૬ | ૭ | ૮ | ૯ |
คุรมุขี | ੦ | ੧ | ੨ | ੩ | ੪ | ੫ | ੬ | ੭ | ੮ | ੯ |
ลิมบู | ᥆ | ᥇ | ᥈ | ᥉ | ᥊ | ᥋ | ᥌ | ᥍ | ᥎ | ᥏ |
เบงกาลี | ০ | ১ | ২ | ৩ | ৪ | ৫ | ৬ | ৭ | ৮ | ৯ |
โอริยา | ୦ | ୧ | ୨ | ୩ | ୪ | ୫ | ୬ | ୭ | ୮ | ୯ |
เตลูกู | ౦ | ౧ | ౨ | ౩ | ౪ | ౫ | ౬ | ౭ | ౮ | ౯ |
กันนาดา | ೦ | ೧ | ೨ | ೩ | ೪ | ೫ | ೬ | ೭ | ೮ | ೯ |
มาลายาลัม | ൦ | ൧ | ൨ | ൩ | ൪ | ൫ | ൬ | ൭ | ൮ | ൯ |
ทมิฬ | ೦ | ௧ | ௨ | ௩ | ௪ | ௫ | ௬ | ௭ | ௮ | ௯ |
ทิเบต | ༠ | ༡ | ༢ | ༣ | ༤ | ༥ | ༦ | ༧ | ༨ | ༩ |
พม่า | ၀ | ၁ | ၂ | ၃ | ၄ | ၅ | ၆ | ၇ | ၈ | ၉ |
ไทย | ๐ | ๑ | ๒ | ๓ | ๔ | ๕ | ๖ | ๗ | ๘ | ๙ |
เขมร | ០ | ១ | ២ | ៣ | ៤ | ៥ | ៦ | ៧ | ៨ | ៩ |
ลาว | ໐ | ໑ | ໒ | ໓ | ໔ | ໕ | ໖ | ໗ | ໘ | ໙ |
อ้างอิง[แก้]
- Ore, Oystein (1988), "1", Number theory and its history, Dover, pp. 19–24, ISBN 0486656209
- Burnett, Charles (2006), "The Semantics of Indian Numerals in Arabic, Greek and Latin", Journal of Indian Philosophy, Springer-Netherlands, 34 (1–2): 15–30, doi:10.1007/s10781-005-8153-z.
- Encyclopaedia Britannica (Kim Plofker) (2007), "mathematics, South Asian", Encyclopædia Britannica Online: 1–12, สืบค้นเมื่อ May 18, 2007.
- Hayashi, Takao (1995), The Bakhshali Manuscript, An ancient Indian mathematical treatise, Groningen: Egbert Forsten, ISBN 906980087X.
- Ifrah, Georges (2000), A Universal History of Numbers: From Prehistory to Computers, New York: Wiley, ISBN 0471393401.
- Katz, Victor J. (ed.) (July 20, 2007), The Mathematics of Egypt, Mesopotamia, China, India, and Islam: A Sourcebook, Princeton, NJ: Princeton University Press, ISBN 0691114854 .
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- History of Counting Systems and Numerals. Retrieved 11 December 2005.
- The Evolution of Numbers. 16 April 2005.
- O'Connor, J. J. and Robertson, E. F. Indian numerals. November 2000.
- History of the Numerals