ตัวเลขมายา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ระบบเลขตามพัฒนาการ | |
---|---|
ตัวเลขฮินดู–อาหรับ | |
อาหรับตะวันตก อาหรับตะวันออก เขมร มอญ |
อินเดีย พราหฺมี ไทย |
ตัวเลขเอเชียตะวันออก | |
จีน ญี่ปุ่น |
เกาหลี |
ตัวเลขที่ใช้ตัวอักษร | |
อับญัด อาร์มีเนีย ซีริลลิก กีเอส |
ฮีบรู ไอโอเนียน/กรีก สันสกฤต |
ตัวเลขระบบอื่น ๆ | |
แอตติก อีทรัสคัน โรมัน |
บาบิโลเนีย อียิปต์ มายา |
รายชื่อระบบเลข | |
ระบบเลขตามฐาน | |
เลขฐานสิบ (10) | |
2, 4, 8, 16, 32, 64 | |
3, 9, 12, 24, 30, 36, 60, อื่น... | |

ตัวเลขมายา ในอารยธรรมมายาก่อนยุคการค้นพบของโคลัมบัส ใช้ระบบเลขฐานยี่สิบ ระบบเลขมายานี้ใช้สัญลักษณ์สามแบบ คือ ศูนย์ (สัญลักษณ์รูปร่างเปลือกหอย) , หนึ่ง (จุด) และห้า (เส้นขีดยาว)
สำหรับตัวอย่าง ตัวเลข 19 จะเขียนจุดสี่จุดเป็นแนวนอนอยู่เหนือเส้นขีดยาวสามเส้นซ้อนทับกัน (รูปซ้าย เลข 19)
เลขมายา | เลขอาหรับ |
. | 1 |
.. | 2 |
... | 3 |
.... | 4 |
_ | 5 |
. | 6 |
.. | 7 |
... | 8 |
.... | 9 |
_ _ | 10 |
._ _ | 11 |
.._ _ | 12 |
..._ _ | 13 |
...._ _ | 14 |
_ _ _ | 15 |
._ _ _ | 16 |
.._ _ _ | 17 |
..._ _ _ | 18 |
...._ _ _ | 19 |